The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจงานแปลมัทธิว 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by P. Tads, 2021-06-04 01:57:14

5. มัทธิว 3:1- 4:17

ตรวจงานแปลมัทธิว 3

มทั ธิว 3:1- 4:17 พระเยซูและความสมั พนั ธก์ บั ยอหน์ ผทู้ าพิธีล้าง

ภาพรวม
เรอ่ื งเล่าตอนใหม่น้ีเรมิ่ ตน้ ท่ี 3:1 เป็นเร่อื งทท่ี ง้ิ หว้ งเวลายาวนานมาก จากตอนทพ่ี ระเยซูเจา้ เสดจ็ กลบั มา

อยู่ท่นี าซาเรธ็ ในวยั เดก็ ระหว่าง 2:23 – 3:1 บดั น้ี พระองคท์ รงเตบิ โตเป็นผู้ใหญ่แลว้ มาถงึ ตอนน้ี พระวรสาร
นกั บุญมทั ธวิ ได้ขน้ึ ตอนใหม่ เล่าเร่อื งการปรากฏตวั ของนักบุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งโดยไม่ไดเ้ ตรยี มตวั หรอื เตอื น
ผอู้ ่านใหท้ ราบล่วงหน้า เพยี งใชค้ าพดู สานวนพระคมั ภรี อ์ ย่างสงา่ งามเรยี บงา่ ยว่า “ในครงั้ นนั้ ” (In Those Days)
เป็นการย่นย่อเร่อื ง เป็นสญั ญาณด้วยคาท่บี ่งบอกการแยกตอนออกมา (Disjunctive Particle) เล่าเร่อื งราวขา้ ม
ไปสู่ตอนใหม่ (ยงั มคี าแยกตวั อ่นื ทใ่ี ชเ้ รมิ่ เร่อื งตอนใหม่แบบน้ี เช่น “ขณะน้ี”(now) “แต่”(but) และอ่นื ๆ (de” de;) กไ็ ดถ้ ูกละเวน้ ไม่ไดแ้ ปลทงั้ ใน
พระคมั ภรี ์ฉบบั NRSV และ NIV) ซ่ึงทราบได้ว่าเป็นการเรม่ิ เล่าเร่อื งตามแบบแหล่งขอ้ มูลหลกั ทงั้ สองของพระวรสาร
นักบุญมทั ธวิ (เอกสารแหล่ง Q และพระวรสารนักบุญมาระโก เทยี บ บทนา) ท่กี เ็ รม่ิ เล่าเร่อื งตอนต้นพระวรสารจากจุดน้ี (คอื
เรมิ่ ตน้ เรอ่ื งทน่ี กั บญุ ยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ ง...)

ตอนน้ี เรม่ิ ตน้ ทน่ี กั บุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งปรากฏตวั จนถงึ ทา่ นถูกจบั กมุ ใน 4:12-17 เป็นจดุ สญั ญาณบ่ง
บอกจุดเร่ิมต้นพันธกิจของพระเยซูเจ้า โดยเล่าเร่ืองนักบุญยอห์นกาลังเทศนาสัง่ สอนว่า “จงกลับใจเถิด
อาณาจกั รสวรรคอ์ ย่ใู กลแ้ ลว้ ” และสรุปจบดว้ ยคาทพ่ี ระเยซูเทศนาสงั่ สอนดว้ ยขอ้ ความเดยี วกนั หลงั จากนักบุญ
ยอห์นถูกจบั กุม (3:2; 4:17) ดงั นัน้ 3:1 – 4:17 จงึ เป็นเร่อื งเล่าตอนหน่ึงของพระวรสารนักบุญมทั ธิว แบบซ่อน
ความหมายเช่อื มโยงคลา้ ยกบั ใชว้ งเลบ็ ขอ้ อา้ งองิ โดยกล่าวเช่อื มโยงกบั นักบุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งและการเทศนา
ถงึ อาณาจกั รสวรรค์ เพอ่ื นาเรอ่ื งเลา่ เน้นทค่ี วามสาคญั ของพนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ รปู แบบตอนน้ีเป็นขอ้ ความคทู่ ่ี
มีโครงสร้างแบบวงแหวน1(โวหารย้อนคาแบบแหวนท่ีมีหวั แหวน: chiastic structural counterpart) กับตอนท่ีพระเยซูเจ้าทรง
กล่าวถงึ ท่านใน 11: 2-9 (ดบู ทนา) การทน่ี ักบุญยอหน์ ประกาศถงึ “ผทู้ จ่ี ะมาภายหลงั ” (3:11) สอดคลอ้ งกบั คาถาม
ของทา่ นใน 11:3 “ทา่ นคอื ผทู้ จ่ี ะมาหรอื เราจะตอ้ งคอยใครอกี ” เรอ่ื งเล่าในบททส่ี าม นกั บญุ ยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งคอื ผู้
พูดหลกั และคนอ่านจะได้รบั ทราบมุมมองของท่านท่มี ตี ่อพระเยซูเจา้ และตวั ท่านเอง ส่วนในบทท่ี 11 นักบุญ

1 โครงสร้าง chiastic (ทเ่ี รยี กวา่ รปู แบบ chiasticหรอื โครงสรา้ งวงแหวน ) เป็นอปุ กรณ์วรรณกรรม[ 1 ]เพอ่ื chiasmusนาไปใชก้ บั การเล่าเรอ่ื งท่ี
สาคญั หนั ของวลหี รอื ทางเดนิ ทงั้ โครงสรา้ งตา่ งๆของ chiasmus จะเหน็ กนั ทวั่ ไปในวรรณกรรมโบราณจะเน้นขนานหรอื แนวความคดิ ทแ่ี ตกต่างหรอื
ความคดิ ตวั อยา่ งของโครงสรา้ ง chiastic เป็น A, B, C. .. C, B, รปู แบบและรปู แบบ ABBAABBA ... ABBA โครงสรา้ ง chiastic บางครงั้ เรยี กวา่
palistrophes , [ 2 ] chiasms โครงสรา้ งสมมาตรโครงสรา้ งวงแหวนหรอื โครงสรา้ งศนู ยก์ ลาง เหลา่ น้มี กั จะสมมาตรรปู แบบทม่ี กั จะพบในวรรณกรรม
โบราณเชน่ บทกวมี หากาพยข์ องโอเดสซแี ละอเี ลยี ด . โครงสรา้ ง chiastic ต่างๆ จะยงั เหน็ อยใู่ นคมั ภรี ไ์ บเบลิ ฮบี รแู ละพนั ธสญั ญาใหมท่ เ่ี ขยี นพระคมั ภรี ์
โดยใช้ chiasmus ทจ่ี ะใหค้ วามหมายในการเขยี นของพวกเขาหรอื เพอ่ื เน้นรายละเอยี ดทม่ี คี วามสาคญั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่

(จาก http://en.wikipedia.org/wiki/Chiastic_structure)

87

ยอหน์ ไม่ไดม้ บี ทบาท พระเยซูเจา้ คอื ผพู้ ดู หลกั และผอู้ า่ นไดร้ บั ทราบมุมมองทพ่ี ระเยซูมตี ่อนักบุญยอหน์ และตวั
พระองคเ์ อง

มทั ธิว 3:1-12 ยอหน์ ผทู้ าพิธีล้าง

II. การประกาศพระอาณาจกั รสวรรค์
ก. เรอ่ื งเล่า
การเทศน์สอนของยอหน์ ผ้ทู าพิธีล้าง

1 ในครงั้ นนั้ ยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งมาประกาศสอนในถนิ่ ทรุ กนั ดารแหง่ ยเู ดยี 2 ยอหน์ กล่าววา่ “จงกลบั ใจเถดิ อาณาจกั รสวรรค์
อยใู่ กลแ้ ลว้ ” 3 ยอหน์ ผนู้ ้ีคอื ผทู้ ป่ี ระกาศกอสิ ยาหไ์ ดก้ ล่าวถงึ วา่
คนคนหนึง่ ร้องตะโกนในถิน่ ทรุ กนั ดารวา่
“จงเตรียมทางขององคพ์ ระผ้เู ป็นเจา้
จงทาทางเดินของพระองคใ์ ห้ตรงเถิด”

4 ยอหน์ นุ่งหม่ ดว้ ยผา้ ขนอฐู มสี ายหนงั รดั เอว กนิ ตกั๊ แตนและน้าผง้ึ ป่าเป็นอาหาร 5 ประชาชนจากกรุงเยรซู าเลม็ จากทวั่
แควน้ ยเู ดยี และจากทวั่ เขตแม่น้าจอรแ์ ดนพากนั ไปพบเขา 6 รบั พธิ ลี า้ งจากเขาในแมน่ ้าจอรแ์ ดนและสารภาพบาปของตน

7 เมอ่ื ยอหน์ เหน็ ชาวฟารสิ ี และสะดสู หี ลายคนมารบั พธิ ลี า้ ง จงึ กล่าววา่ “เจา้ สญั ชาตงิ รู า้ ย ผใู้ ดแนะนาเจา้ ใหห้ นีการลงโทษท่ี
กาลงั จะมาถงึ 8 จงประพฤตติ นใหส้ มกบั ทไ่ี ดก้ ลบั ใจแลว้ เถดิ 9 อยา่ อวดอา้ งเองวา่ “เรามอี บั ราฮมั เป็นบดิ า” ขา้ พเจา้ บอกท่านทงั้
หลายวา่ พระเจา้ ทรงบนั ดาลใหก้ อ้ นหนิ เหล่าน้ีกลายเป็นลกู ของอบั ราฮมั ได้ 10 บดั น้ีขวานกาลงั จ่ออยทู่ ร่ี ากของตน้ ไมแ้ ลว้ ตน้ ไม้
ตน้ ใดทไ่ี มเ่ กดิ ผลดจี ะถกู โคน่ และโยนใส่ไฟ 11 ขา้ พเจา้ ใชน้ ้าทาพธิ ลี า้ งใหท้ ่านทงั้ หลาย เพอ่ื ใหส้ านึกผดิ กลบั ใจ แตผ่ ทู้ จ่ี ะมา
ภายหลงั ขา้ พเจา้ ทรงอานาจยงิ่ กวา่ ขา้ พเจา้ และขา้ พเจา้ ไมส่ มควรแมแ้ ต่จะถอื รองเทา้ ของเขา เขาจะทาพธิ ลี า้ งใหท้ า่ นเดชะพระ
จติ เจา้ และไฟ 12 เขากาลงั ถอื พลวั่ อยแู่ ลว้ จะชาระลานนวดขา้ วใหส้ ะอาด จะรวบรวมขา้ วใส่ยงุ้ ส่วนฟางนนั้ จะเผาทง้ิ ในไฟทไ่ี มร่ ู้
ดบั ”

ข้อศึกษาวิพากษ์
ทงั้ พระวรสารนักบุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q เรมิ่ ต้นดว้ ยการปรากฏและสารจากนักบุญยอหน์ ผทู้ า

พธิ ลี า้ ง ในตอนน้พี ระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ เรมิ่ ใชข้ อ้ มลู จากแหล่งทงั้ สองเป็นครงั้ แรก ใน 3:1-6 เป็นการนาขอ้ ความ
จากพระวรสารนักบุญมาระโกมาเรยี บเรยี งใหม่ ส่วนใน 3:7-12 เป็นการนาเอกสารแหล่ง Q มาเรยี บเรยี งใหม่
โดยมเี น้ือเร่อื งท่ีเล่าซ้าทบั ซ้อนกบั เน้ือหาจากพระวรสารนักบุญมาระโกใน ว. 11 ก่อนหน้าท่จี ะมพี ระวรสาร
นักบุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q เน้ือหาเร่อื งน้ีเป็นเร่อื งท่ีบอกเล่าต่อๆ กนั มา ใน 3: 1-6 เป็นเร่อื งเล่าแบบ
ตานานเกย่ี วกบั นกั บุญยอหน์ สว่ นใน 3:7-12 เป็นบทรวบรวมเกย่ี วกบั คาพดู และคาพยากรณ์ของนกั บญุ ยอหน์

นกั บุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งเป็นบุคคลสาคญั ในภาพลกั ษณ์เด่นชดั ฐานะประกาศกชาวยวิ กบั สาระคาสอน
ท่ีชดั เจนและมีศิษย์ของตนเอง ท่านเทศน์สงั่ สอนพฤติกรรมผดิ ของกษัตรยิ ์เฮโรด อนั ติปัส ถูกจาคุกและถูก
ประหารชวี ติ ด้วยคาบญั ชาของกษัตรยิ ์ ตามรายงานของโจเซฟุส (Jesephus) กระบวนการท่นี ักบุญยอห์นได้
ก่อตงั้ ขน้ึ ไม่เพยี งแต่ไดร้ บั การสบื สานต่อเน่ืองหลงั พธิ ลี า้ งพระเยซูเจา้ (มธ. 9:14, 11:2-3) แต่ยงั ปฏบิ ตั ติ ่อเน่ืองไปใน
สมยั หลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี และสมยั เรมิ่ ตน้ ชุมชนชาวครสิ ต์ (กจ. 19:1-7) กระนนั้ ในยุคเรมิ่ แรกศาสนาครสิ ต์

88

ไดม้ ปี ระสบการณ์ว่ากลุ่มของนกั บุญยอหน์ เป็นค่แู ขง่ และไดต้ คี วามธรรมประเพณีหลายประการทม่ี าจากนกั บุญ
ยอหน์ ตามมุมมองชาวครสิ ต์เพ่อื นามาปรบั บูรณาการรวมเขา้ เป็นธรรมประเพณีของศาสนาครสิ ต์ทก่ี าลงั เตบิ โต
พฒั นาขน้ึ แหล่งขอ้ มูลท่ีแรกเรม่ิ ของเราคอื แหล่ง Q ได้กล่าวถงึ นักบุญยอหน์ (เป็นสดั ส่วน)อย่างมากท่สี ุด และยก
ย่องท่านในบทบาทอสิ ระทโ่ี ดดเด่นท่สี ุด คอื เป็นประกาศกเหมอื นพระเยซูเจ้า ผูป้ ระกาศแจง้ สารจากพระปรชี า
ญาณอนั ล้าลกึ จากเบ้อื งบน (มธ. 3:7-10/ ลก. 3:7-9; มธ. 3: 11-12/ ลก. 3:16-17; มธ. 11:2-19/ ลก. 7: 18-15; 16:16, รูปแบบเน้ือหาใน
พระวรสารนักบุญลูกา 7:35 มคี วามใกล้เคยี งมากกบั เอกสารแหล่ง Q) พระวรสารนักบุญมาระโกได้เขา้ ใจอย่างแจง้ ชดั ว่านักบุญ
ยอห์นคอื ประกาศกเอลยิ าห์ ผูซ้ ่งึ ชาวยวิ คาดหวงั ว่าจะกลบั มาในฐานะผูส้ ่งข่าวนาหน้าแจ้งถงึ การเสดจ็ มาแบบ
อวสานตกาลของพระเป็นเจา้ (เทยี บ มลค. 3:1; 4:5-6; มก. 1:6; 9:11-13) นกั บญุ มาระโกเขา้ ใจและไดบ้ นั ทกึ อยา่ งชดั แจง้ ว่า
ทา่ นเป็นผนู้ าหน้าพระเยซูเจา้ ท่านนักบุญยอหน์ ไม่ไดม้ คี าสอนของทา่ นเองแต่แสดงตนเป็นภาพลกั ษณ์ล่วงหน้า
ถงึ พระครสิ ต์ ผปู้ ระกาศขา่ วดแี หง่ อาณาจกั รพระเป็นเจา้ ผทู้ จ่ี ะถกู มอบไปสคู่ วามตาย ซง่ึ จะเกดิ ขน้ึ แก่พระเยซูเจา้
และบรรดาศษิ ย์ของพระองค์ และสอดคล้องกบั เร่อื งความลบั เก่ยี วกบั พระเมสสยิ าห์ (Messianic Secret) ตาม
มุมมองของนกั บุญมาระโกว่า นกั บุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งในพระวรสารนกั บุญมาระโกไมเ่ คยตระหนกั รหู้ รอื บอกว่า
พระเยซูคอื พระเมสสยิ าห์ สว่ นนกั บญุ มทั ธวิ ใชเ้ รอ่ื งเล่าในรปู แบบเดยี วกบั พระวรสารนกั บญุ มาระโกทท่ี า่ นคุน้ เคย
มานาน แต่พลกิ สาระความหมายของรูปแบบวรรณกรรมเร่อื งความลบั ของการเป็นพระเมสสยิ าห์ เป็นเร่อื ง
ประกาศอย่างเปิดเผยว่านักบุญยอห์นเป็นประกาศกเอลยิ าห์ผูท้ ่ตี ้องมาก่อนหรอื กลบั คนื มาทาหน้าทป่ี ระกาศก
นาหน้าใหป้ ระชาชนรบั เสดจ็ พระเมสสยิ าห์ (มธ. 11:14; 17:13 ทงั้ สองเป็นเน้อื หาทน่ี กั บุญมทั ธวิ ผกู เพมิ่ เตมิ ) และจดั เสนอบทบาท
ของนักบุญยอห์นและพระเยซูเจา้ ให้เป็นแบบคู่ขนานท่ปี ระกอบกนั ทาให้มคี วามหมายครบถ้วนสมบูรณ์ (3:2 =
4:17; 3:5=4:23; 3:7=23:33; 4:12 = 21:15) แมก้ ระนนั้ นกั บญุ ยอหน์ ยงั คงเป็นรองจากพระเยซูเจา้

3:1-2 พระวรสารนักบุญมทั ธวิ ไม่ได้เน้นบนั ทกึ แบบชวี ประวตั ิ (Lack of Biographical Interest) ขอ้ มูล
ดา้ นลาดบั เวลาทางประวตั ศิ าสตรท์ าใหค้ ลุมเคลอื เมอ่ื อ่านแลว้ ผอู้ า่ นไมท่ ราบวา่ พระเยซูเจา้ ทรงมอี ายุเท่าใดตอน
ทเ่ี ขา้ อย่อู าศยั ทเ่ี มอื งนาซาเรธ็ อกี ทงั้ ไมร่ ูว้ ่าหว้ งเวลาทป่ี รากฏตวั ครงั้ แรกของท่านนกั บุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งวา่ มี
อายเุ ท่าไร และพระเยซูเจา้ ทรงเรมิ่ ปรากฏองคค์ รงั้ แรกปฏบิ ตั ภิ ารกจิ หรอื ทางาน เป็นผใู้ หญ่ เมอ่ื อายเุ ทา่ ไร

พระวรสารนักบุญมทั ธวิ บนั ทกึ เร่อื งของนักบุญยอห์น ผู้ทาพธิ ลี ้างได้ปรากฏตวั ขน้ึ ตดั ตอนมาในทนั ที
พรอ้ มกบั สารคาเตอื นสอนวา่ พระอาณาจกั รสวรรคอ์ ยใู่ นโลกน้แี ลว้ ดงั ทน่ี กั บุญมทั ธวิ ไดเ้ ล่าบรรยายในบทท่ี 1 – 2
ในลกั ษณะทไ่ี ม่มใี ครคาดถงึ ซง่ึ ไม่เหมอื นกบั พระวรสารนักบุญมาระโกและพระวรสารนกั บุญยอหน์ ทพ่ี ระวรสาร
ทงั้ สองนัน้ ไดบ้ รรยายถงึ นักบุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ ง ทนั ทที เ่ี รมิ่ เร่อื งตงั้ แต่ต้น และผดิ แผกตรงขา้ มกบั พระวรสาร
นักบุญลูกาทม่ี กี ารเตรยี มผอู้ ่านใหพ้ รอ้ มค่อนขา้ งยาว ก่อนกล่าวถงึ การปรากฎตวั ของนักบุญยอห์นผทู้ าพธิ ลี า้ ง
ในบทท่ี 1 - 2 และไดอ้ า้ งองิ ชว่ งสมยั และเหตุการณ์ประวตั ศิ าสตรเ์ กย่ี วกบั ทา่ นนกั บญุ ยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งดว้ ย

3:3 ผบู้ รรยายระบุตวั นักบุญยอหน์ ใหก้ บั ผอู้ ่านโดยยกขอ้ ความจากพระคมั ภรี ์ ทแ่ี ตกต่างจากพระวรสาร
ฉบบั ทส่ี ่ี ซง่ึ นกั บุญยอหน์ ระบุตวั ตนของทา่ นเอง (ยน. 1:23) เป็นขอ้ ความจากฉบบั ภาษาฮบี รวู า่

เสยี งหน่งึ รอ้ งวา่ :
“จงเตรยี มมรรคาของพระยาเวหใ์ นถนิ่ ทุรกนั ดาร
จงทาทางหลวงในทรี่ าบแหง้ แลง้ ใหต้ รงสาหรบั พระเป็นเจา้ ของเรา”

(อสิ ยาห์ 40:3 NRSV)

89

ความคลา้ ยคลงึ คขู่ นานบ่งชอ้ี ย่างชดั เจนวา่ “ในถน่ิ ทรุ กนั ดาร” ขยายความ “จงเตรยี มมรรคาของพระเป็น
เจ้า” (Prepare the Way of the LORD) ซ่ึงในท่นี ้ี “LORD” หมายถงึ พระเป็นเจ้า, พระยาเวห์. อสย. 40:3 เป็น
ขอ้ ความท่มี กี ารตคี วามหมายแบบอนั ตกาลในศาสนายวิ ช่วงศตวรรษทห่ี น่ีง เหมอื นกบั ชุมชนคุมราน (Qumran
Community) ว่าไดไ้ ปอาศยั อยใู่ นถน่ิ ทุรกนั ดาร สมจรงิ ตามบนั ทกึ ในพระคมั ภรี ์ ตวั บทเน้ือหาจากพระคมั ภรี ฉ์ บบั
เจด็ สบิ (LXX) ได้บนั ทกึ ว่าเป็นเสยี งของประกาศกท่ไี ด้ยนิ ในถนิ่ ทุรกนั ดาร(Wilderness) ส่วนนักบุญมาระโกได้
ผกู เน้ือหาตอนน้ีกบั มลค. 3:1 และ อพย. 23:20 แลว้ ประยุกตใ์ ชก้ ล่าวถงึ ผทู้ าพธิ ลี า้ ง ส่วนของประกาศกอสิ ยาห์
ซ่งึ ประกาศในถนิ่ ทุรกนั ดารยอมรบั เหมอื นในพระคมั ภรี ฉ์ บบั เจด็ สบิ (LXX) ทุกอย่าง ยกเวน้ แต่เปลย่ี นใชค้ าว่า
“ของเขา” แทนท่ีด้วยคาว่า “พระเป็นเจ้าของเรา” เช่นน้ี จงึ ย้ายปรบั เปล่ยี นคาทานายของประกาศกอสิ ยาห์ท่ี
กล่าวถงึ การเสดจ็ มาของพระเป็นเจา้ (the Advent of God) เป็นของพระเยซูครสิ ต์ นักบุญมทั ธวิ จงึ ขา้ มหรอื เวน้
เน้อื หาสว่ นทไ่ี ม่ใชข่ องประกาศกอสิ ยาห์ (Non-Isaiah) แต่ไดใ้ ชต้ ามพระวรสารนกั บญุ มาระโกแบบคาต่อคา

3: 4-6 คาบรรยายถงึ เสอ้ื ผา้ การแต่งกายและอาหารการกนิ ของนกั บุญยอหน์ แสดงตวั ตนวา่ ทา่ นแตกตา่ ง
จากสงั คมชนั้ สูงและบ่งบอกว่าท่านเป็นส่วนหน่ึงของถนิ่ ทุรกนั ดาร ซ่งึ เขา้ กบั ภารกจิ แห่งการฟ้ืนฟูเชงิ อนั ตกาล
(Eschatological Renewal) ในพระวรสารนักบุญมาระโกเช่นกนั ระบุว่านักบุญยอห์น เป็นประกาศกเอลยิ าห์ท่ี
คาดหวงั ว่าจะกลบั มา (เทยี บ 2 พกษ. 1:8) ซง่ึ เป็นการชแ้ี สดงตวั ตนซง่ึ นักบุญมทั ธวิ จะนาเสนอขยายความใหช้ ดั เจน
ในภายหลงั โดยคาตรสั จากพระโอษฐ์ของพระเยซูเจ้า (11:14 เป็นส่วนท่ีนักบุญมทั ธวิ เสรมิ ข้นึ มาจากเอกสาร
แหล่ง Q) คาว่า “Locusts” ในท่นี ้ีไม่ได้หมายถึงฝักต้นแครอ็ บ (Carob) (ต่างจากธรรมเนียมความเช่อื นิยม ท่ี
นาไปใชต้ งั้ ชอ่ื ตน้ ไมพ้ นั ธุน์ ้วี า่ “ตน้ ไมย้ อหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ ง” (John the Baptist Tree)) แตห่ มายถงึ ตกั๊ แตนจรงิ ๆ ซง่ึ
ไดร้ บั การระบุไวว้ ่าเป็นอาหารทไ่ี ม่มมี ลทนิ ใน ลนต. 11:22 และคนยากจนกนิ เป็นอาหารในทะเลทราย นบั ตงั้ แต่
โบราณกาลมาจนถงึ ปัจจบุ นั

ฝงู ชนพากนั มารบั พธิ ลี ้าง ซ่ึงเป็นการกระทาโดดเด่นท่ที ่านนักบุญยอห์นได้รบั ขานนามช่อื น้ี คากรยิ า
“Baptize” (bapti"zw baptizo) หมายถงึ จุ่ม หรอื จม และนักบุญยอหน์ ได้ทาพธิ ลี า้ งคนเหล่าน้ีในแม่น้าจอรแ์ ดน.
พธิ กี ารจุ่มและการชาระลา้ งต่างๆ ในศาสนายดู ายอาจเป็นต้นแบบใหน้ ักบุญยอหน์ ซ่งึ ไดพ้ บเหน็ บ่อน้า/อ่างเกบ็
น้าต่างๆ ทช่ี ุมชนคุมราน2และมคิ เวห3์ (Mikveh) ซง่ึ เป็นภาชนะพธิ ที างศาสนาและใชใ้ นสถานสาธารณะ เชน่ พระ

2 คมุ ราน ( ฮบี รู : ‫ ; קומראן‬อาหรบั : ‫ خربةقمران‬Khirbet คมั รนั ) เป็นโบราณสถานทเ่ี ป็นทงั้ ปราสาทหอคอย หม่บู า้ นและบรเิ วณหุบเขาในเวสต์

แบงก์ ตงั้ อยู่บนท่แี ห้งท่รี าบสูงประมาณหน่ึงไมล์ทะเลจากชายฝัง่ ตะวนั ตกเฉียงเหนือของทะเลเดดซี ใกล้ตงั้ ถ่ินฐานของอสิ ราเอลและKibbutz ของ
Kalia การตงั้ ถนิ่ ฐานท่ถี ูกสรา้ งขน้ึ ในยุคกรกี ช่วงรชั สมยั ของพระเจา้ จอหน์ Hyrcanus , 134-104 ก่อนครสิ ตศกั ราช หรอื หลงั จากนัน้ และถูกทาลาย
โดยชาวโรมนั ใน 68 ปีศกั ราชสากลหรอื ไม่นานหลงั จากนัน้ ได้ค้นพบภาชนะบรรจุม้วนบนั ทึก(Scrolls)ถูกซ่อนอยู่ในถ้าทะเลเดดซี Dead Sea
Scrollswere ทอ่ี ยใู่ นบรเิ วณหน้าผาทะเลทราย ในแถบทล่ี าดดนิ เหนยี ว

ตงั้ แต่การคน้ พบของเดดซใี น 1947-1956, มกี ารขดุ เจาะอย่างกวา้ งขวางเกดิ ขน้ึ ในคมั รนั เกอื บ 900 มว้ นบนั ทกึ ทค่ี น้ พบ ปัจจบุ นั ตน้ ฉบบั
จากคมั รนั ทงั้ หมดทค่ี น้ พบไดร้ บั การตพี มิ พ์ แต่ผลการคน้ พบวจิ ยั ทางโบราณคดจี านวนมากของโรลนั ดเ์ ดอโวซ์ (Roland de Vaux) จากคมั รนั และเช่อื
วา่ มหี ลกั ฐานอกี มากทน่ี กั วชิ าการและประชาชนยงั ไมส่ ามารถขดุ พบ

มว้ นบนั ทกึ สว่ นใหญ่เขยี นลงบนกระดาษ ซง่ึ เป็นวสั ดุทท่ี าจากหนงั สตั ว์; หนังววั อ่อน , หนังแกะหรอื แพะ, การใชง้ านทพ่ี บมากทส่ี ุดของมนั
คอื เป็นวสั ดุสาหรบั การเขยี นสาหรบั เอกสารบนั ทกึ หรอื หน้าของหนงั สอื เล่ม , codexหรอื ตน้ ฉบบั และบางสว่ นเขยี นในกระดาษสา(ต้นกก) มว้ นบนั ทกึ
(Scrolls) ถู ก ค้น พ บ อ ยู่ ใน ชุ ด ข อ งสิบ เอ็ด ถ้ ารอ บ นิ ค ม ถังเก็ บ น้ า(ภ าษ าอังก ฤ ษ ยุ ค ก ล าง Cisterne ล ะติน Cisterna Cista "ก ล่ อ ง"
กรกี κίστη, Kiste "ตะกรา้ ") ซง่ึ เป็นทร่ี องรบั น้าสาหรบั ถอื อ่างมกั จะถูกสรา้ งขน้ึ เพอ่ื จบั และเกบ็ น้าฝน อ่างทม่ี คี วามโดดเด่นจากหลุมเกบ็ กกั น้าของ
พวกเขา อ่างหรอื สถานทท่ี าพธิ กี รรมชาระตวั ของชาวยวิ และสุสานถูกพบพรอ้ มกบั หอ้ งอาหารหรอื ส่วนประกอบเศษซากจากชนั้ บนทอ่ี าจใชเ้ ป็นทเ่ี ขยี น
หนงั สอื หรอื หลกั ฐานทเ่ี ป็นเตาเผาเครอ่ื งปัน้ ดนิ เผาและหอคอยปราสาท

90

วหิ าร การทาพธิ ลี า้ งสาหรบั ผทู้ ่ีเปลย่ี นศาสนา แต่นักบุญยอหน์ ไม่ได้ยดึ ปฏบิ ตั ติ ามแนวทางท่ใี ชอ้ ย่แู ลว้ นัน้ ตรง
ขา้ มกบั พธิ ลี า้ งซ้าทป่ี ฎบิ ตั กิ นั ในพระวหิ ารและในชุมชนคุมรนั นกั บุญยอหน์ ทาพธิ ลี า้ งแบบครงั้ เดยี ว (Once-For-
All Baptism) ในความหมายส่ือถึงอวสานตกาล เป็นการประทับตราผู้ท่ีกลบั ใจมาเช่ือ(ให้รอดพ้น)จากการ
พิพากษาในอวสานตกาลท่ีจะมาถึง (ดู วว. 7-12) นักบุญมาระโกได้เช่ือมโยงพิธนี ้ีกบั การอภัยบาป (มก. 1:4) แต่
นักบุญมทั ธวิ ละเวน้ ไม่เอ่ยถงึ (แง่มุมดงั กล่าวในการทาพธิ ลี ้างของนักบุญยอห์น) เพ่อื ท่จี ะแสดงว่าเป็นบทบาท
อานาจของพระเยซูเจา้ (26: 28 พบคาน้ซี ้าอกี ครงั้ ) และพระศาสนจกั รโดยเฉพาะ

3:7 ขณะทพ่ี ระวรสารนกั บุญมาระโกบนั ทกึ เร่อื งเฉพาะตอนทน่ี กั บุญยอหน์ เทศนาถงึ “ผทู้ ย่ี ง่ิ ใหญ่กวา่ ” ท่ี
จะมาถงึ และเอกสารแหล่ง Q รายงานถงึ คาเทศนาอนั รุนแรง(เยาะเยย้ )ของทา่ นนกั บุญยอหน์ ทเ่ี รยี กใหค้ นกลบั ใจ
พระวรสารนักบุญมทั ธวิ ไดน้ าทงั้ สองอย่างน้ีมารวมกนั บทเรม่ิ ตน้ ในเอกสารแหล่ง Q ไดน้ ามาใชเ้ ขยี น(รบั การคง
รกั ษาไวม้ ากท่สี ุด)ในพระวรสารนักบุญลูกา 3:7 ซ่งึ เป็นตอนท่นี ักบุญยอห์นเทศนาแก่ฝงู ชนท่มี ารบั พธิ ลี า้ งจาก
ทา่ น นกั บุญมทั ธวิ เปลย่ี นผฟู้ ังในทน่ี ้เี ป็น “ฟารสิ แี ละสะดุส”ี ดงั นนั้ จงึ บรรยายได้ถงึ พวกเขาเพยี งวา่ มาถงึ ทซ่ี ง่ึ ทา่ น
นักบุญยอห์นทาพธิ ลี ้าง (ในฉบบั NIV มคี าแปลท่ถี ูกต้องกว่าในส่วนน้ี) เพราะในสายตาของนักบุญมทั ธวิ คนเหล่าน้ีเป็น
ตวั แทนของการต่อตา้ นจากชาวยวิ และมาเพอ่ื ตรวจสอบนกั บุญยอหน์ มากกว่าทจ่ี ะมารบั พธิ ลี า้ งจากท่าน (เทยี บ
21:23-27) ตามประวตั ศิ าสตรแ์ ลว้ ศาสนายดู ายในยคุ สมยั ของพระเยซูเจา้ ฟารสี กี บั สะดุสเี ป็นกลุ่มทางศาสนาท่ี
ขดั แยง้ กนั และไม่มแี นวโน้มทจ่ี ะมาทางานร่วมกนั นักบุญมทั ธวิ ไม่ไดเ้ ล่ารายงานสถานการณ์ทางประวตั ศิ าสตร์
ในสมยั นักบุญยอหน์ แต่ปรารถนาทจ่ี ะบรรยายถงึ การต่อต้านจากชาวยวิ ในลกั ษณะร่วมมอื เป็นหน่ึงเดยี ว แสดง
ตนต่อตา้ นนกั บุญยอหน์ แลว้ ตอ่ มากต็ อ่ ตา้ นพระเยซูเจา้ ดว้ ย

คาว่า “เจ้าชาติงูร้าย” (Brood of Vipers) ในเอกสารแหล่ง Q แสดงให้เห็นภาพของฝูงชนท่ีกาลงั วิ่ง
แตกต่นื หนีการพพิ ากษาแห่งอวสานตกาลเหมอื นงูหนีไฟป่ า เน่ืองจากนักบุญมทั ธวิ เขา้ ใจภาพความขดั แย้งท่ี
เกิดข้นึ จากการเสดจ็ มาของพระเยซูครสิ ต์ในมุมมองครอบคลุมจกั รวาลกว้างใหญ่(In Cosmic Terms) ดงั นัน้
สาหรบั ท่าน วลคี าน้ี (ซ่งึ ถ้าแปลตามตวั อกั ษรกค็ อื ”ลูกหลานของงูรา้ ยทงั้ หลาย”) อาจหมายถงึ การต่อต้านกนั
ระหว่างพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ท่ปี รากฏอยู่ในพระเยซูเจ้าและได้รบั การประกาศโดยนักบุญยอห์น กบั
“บุตรแห่งมารรา้ ย” (Sons of the Evil One) ทม่ี ตี วั แทนคอื เหล่าผนู้ าชาวยวิ และผทู้ เ่ี ชอ่ื พวกเขา (13:38) ดงั นนั้ คา
ว่า “งรู า้ ย” จงึ ไม่ใช่เป็นเพยี งคากล่าวประณามเท่านัน้ แต่ยงั แสดงภาพของผสู้ อนเทจ็ เทยี มทเ่ี หมอื นนักล่ามพี ษิ
คอยชกั นาผคู้ นไปในทางทผ่ี ดิ

3:8-10 ภาพของขวานทจ่ี อ่ ฟันตรงทร่ี ากตน้ ไมช้ ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ การพพิ ากษาแห่งอวสานตกาลทก่ี าลงั จะมาถงึ
ซง่ึ ไดก้ าหนดจดั เตรยี มไวแ้ ลว้ และช่วงระยะเวลาสนั้ ๆ ก่อนทม่ี นั จะเกดิ ขน้ึ นกั บุญยอหน์ เช่นเดยี วกบั ประกาศก
แหง่ การพยากรณ์คนอน่ื (Apocalyptic Prophets) ทเ่ี ขา้ ใจวา่ การพพิ ากษานนั้ อย่ใู กลแ้ ลว้ และเป็นเหตผุ ลพน้ื ฐานท่ี

3 Mikveh (บางครงั้ สะกด mikvah , mikve หรอื mikva) (ภาษาฮบิ รู :‫ מקווה‬/ ‫ ִמ ְק ֶוה‬, Mikve Tiberian Miqwā ; พหพู จน์: mikva'ot หรอื
mikves (ยดิ ดชิ ) เป็นหอ้ งอาบน้าทใ่ี ชส้ าหรบั การ วตั ถุประสงคข์ องการแช่พธิ กี รรมในศาสนายวิ . คาวา่ "mikveh" ทใ่ี ชใ้ นภาษาฮบี รไู บเบลิ , หมายถงึ
"การเกบ็ " - โดยทวั่ ไปการเกบ็ รวบรวมน้า

กฎระเบยี บทพ่ี ระคมั ภรี ห์ ลายเลม่ ระบุวา่ การแชใ่ นน้าแบบเตม็ ตวั ตอ้ งผ่านพธิ กี รรมชาระตนใหบ้ รสิ ทุ ธิ์หลงั จากเหตกุ ารณ์ทไ่ี มด่ เี กดิ ขน้ึ สว่ น
ผหู้ ญงิ คนหน่งึ ทจ่ี ะตอ้ งแช่ใน mikveh หลงั จากประจาเดอื นของเธอหรอื การคลอดบุตร ก่อนทเ่ี ธอและสามขี องเธอสามารถดาเนนิ ความสมั พนั ธใ์ นชวี ติ
สมรส

91

ทาใหท้ า่ นเรยี กผคู้ นใหก้ ลบั ใจอยา่ งเรง่ ดว่ น การอา้ งวา่ ตนเป็นกลุ่มคนผถู้ กู เลอื กเพราะสบื เชอ้ื สายจากอบั ราฮมั ไม่
สามารถช่วยใครใหร้ อดพน้ จากการพพิ ากษาอนั รอ้ นแรงครงั้ น้ีได้ อสย. 51:1-12 มองว่าการสบื เชอ้ื สายจากอบั
ราฮมั และซาราหน์ ัน้ ไม่ใช่สง่ิ ท่ีบรรลุถงึ ความรอดพน้ แต่เป็นพระหรรษทานเอ้อื อาทรของพระเป็นเจา้ พระองค์ผู้
ทรงสามารถสรา้ งผคู้ นขน้ึ จาก “กอ้ นหนิ ” ท่ไี รช้ วี ติ กไ็ ด้ (เทยี บ ปฐก.18:10-14, ลก. 3: 8) สง่ิ ทพ่ี ระเป็นเจา้ ไดท้ รงกระทา
ตงั้ แต่แรกเรมิ่ นนั้ พระองคส์ ามารถทาไดอ้ กี ครงั้ นกั บญุ มทั ธวิ เขา้ ใจคาเทศนาดงั้ เดมิ ของนกั บญุ ยอหน์ ในสอ่ื สมั ผสั
แบบชาวครสิ ต์ คอื การเป็นสว่ นเขา้ ถงึ ประชากรศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องพระผเู้ ป็นเจา้ และเป็นทย่ี อมรบั ในการพพิ ากษาครงั้
สุดท้าย ไม่ได้ขน้ึ อย่กู บั การเป็นเช้อื สายของอบั ราฮมั และเป็นชนชาตอิ สิ ราเอล แต่อยู่ทก่ี ารตดั สนิ ใจตอบรบั ต่อ
การเรยี กสู่ความเช่อื ศรทั ธา ยอมรบั ศลี ล้างบาป และดาเนินชวี ติ ตามท่เี ช่อื ศรทั ธาจนเกดิ “ผล” นักบุญยอห์น
ไมไ่ ดร้ ะบุว่า “ผล” ดงั กล่าวหมายถงึ อะไร แต่นกั บุญมทั ธวิ นาคาเปรยี บเทยี บน้ีมาจากเอกสารแหล่ง Q ในฐานะท่ี
เป็นสภาพพน้ื ฐานชวี ติ ทห่ี มายถงึ เป็นศษิ ย์ของพระเยซูเจา้ ซ่งึ ท่านจะนาใหต้ ดิ ตามความหมายทพ่ี ระเยซูเจา้ จะ
ทรงอธบิ ายใหเ้ ขา้ ใจเพมิ่ มากขน้ึ ในตอนสาคญั ทจ่ี ดุ เชอ่ื มโยงกนั ในเรอ่ื งเล่าต่อไป (7:16-21; 12:33; เทยี บ 13:8, 26; 21:18-

19)

3:11:12 นกั บุญมทั ธวิ ไดผ้ กู รวมเน้ือหาจากพระวรสารนกั บุญมาระโกกบั เอกสารแหล่ง Q ไวด้ ว้ ยกนั แลว้
ปรบั เปลย่ี นเลก็ น้อยว่า นักบุญยอห์นพูดเทยี บเคยี งว่าพนั ธกจิ ของท่านและพธิ ลี า้ งผดิ แผกจากกจิ การของ “ผูท้ ่ี
กาลงั จะมา” เช่นเดียวกันคาว่า “ผู้ท่ีจะต้องมา” เป็นภาพลกั ษณ์อนั ตกาลท่ีแสดงถึงโลกปัจจุบันผิดแผกกับ
“กาลเวลาท่ีจะมาถึง” (abh !lw[h ha-(olAm ha-bA ); เทียบ มก. 10:30; ลก. 18:30; วว. 1:4, 8;4:8) ในขณะท่ีมุมมองด้าน
อวสานตกาลของชาวยวิ เกย่ี วกบั จุดสน้ิ สดุ เป็นความคาดหวงั (รอคอย)ถงึ การเสดจ็ มาของพระเป็นเจา้ ในฐานะพระ
ตุลาการ แต่ท่านนักบุญยอหน์ ไดป้ ฏบิ ตั สิ อนเหมอื นกบั ว่าการเสดจ็ มาในรปู แบบอนั ตกาลเกดิ ขน้ึ และเป็นอย่แู ลว้
(ขณะน้ี)ในแบบผู้แทนขององค์พระเป็นเจ้า ถ้าผู้ใดไม่เช่ือตระหนัก(Not already Convinced) ว่าท่านนักบุญ
ยอหน์ เป็นผทู้ ่พี ระเป็นเจา้ ทรงส่งมาล่วงหน้าพระเมสสยิ าห์ เขาจะไม่เขา้ ใจว่า วรรค. 11-12 หมายถงึ พระเยซูเจา้
(ดู 11:2-3) ในขณะทน่ี ักบุญยอหน์ ทาพธิ ลี า้ งดว้ ยน้า ซง่ึ เป็นสญั ลกั ษณ์ของการพพิ ากษาแห่งอวสานตกาลและการ
ชาระใหบ้ รสิ ทุ ธิ ์สว่ นผทู้ ก่ี าลงั จะมาถงึ นนั้ จะลา้ งดว้ ยไฟ –ไดเ้ ป็นกจิ การพพิ ากษาแบบเสรจ็ สมบรู ณ์แลว้ หมายถงึ
ชาระใหผ้ ชู้ อบธรรมบรสิ ุทธแิ ์ ละเผาทาลายผทู้ ไ่ี ม่ชอบธรรม ขณะทพ่ี ระวรสารนักบุญมาระโกกล่าวถงึ เพยี ง “พระ
จติ เจ้า” เอกสารแหล่ง Q กล่าวถงึ “ไฟ” หรอื อาจอ่านความหมายแบบดงั้ เดมิ คอื “ลมและไฟ” (Wind and Fire)
ซ่ึงสอดคล้องกบั การนาเสนอภาพของลานนวดข้าวมาส่อื ถึงการตัดสินแบ่งแยกกลุ่มในวนั พิพากษาสุดท้าย
เน่ืองจากคาว่า “ลม” และคาว่า “ไฟ” เขยี นเหมอื นกนั ในภาษาอะราเมอกิ และภาษากรกี นกั บุญมาระโกไดต้ คี วาม
คาวา่ “ลม” ในทางสรา้ งสรรค์ (Positive Sense) ว่าหมายถงึ “(พระ)จติ ”([Holy] Spirit) ความหมายแต่ดงั้ เดมิ ทผ่ี ดิ
แผกตรงข้ามของนักบุญยอห์นเปรยี บเทียบไว้คอื สญั ลกั ษณ์น้าเป็นพิธีล้างในปัจจุบนั และพธิ ลี ้างด้วยไฟอนั
แท้จรงิ เป็นกจิ การในอนาคต ซ่งึ ทงั้ สองอย่างเป็นภาพด้านลบของการพพิ ากษา และผดิ แผกจากคาสอนท่ที ่าน
นกั บุญมาระโกอธบิ ายพธิ ลี า้ งดว้ ยน้าในโลกน้ีของนักบุญยอหน์ กบั พธิ ลี า้ งแห่งอนั ตกาลของพระเมสสยิ าหใ์ นพระ
จติ เจา้ ดงั นัน้ ความผดิ แผกแตกต่างจงึ ไม่เป็นเพยี งว่าอนั หน่ึงเป็นจุดเรม่ิ ตน้ กบั อกี อนั หน่ึงเป็นจุดสุดทา้ ย แต่ยงั
หมายถึงในแง่ลบและในแง่บวกด้วย นักบุญมทั ธวิ จงึ ผูกรวมความหมายพิธลี ้างโดย “พระจติ ” ในพระวรสาร
นักบุญมาระโกกบั พิธลี ้างด้วย “ไฟ” ในเอกสารแหล่ง Q แต่ท่านไม่ได้อธบิ ายแต่อย่างไรถึงความหมายอย่าง
ชดั เจนของการทาพธิ ลี า้ งดว้ ยพระจติ เจา้ โดยพระเมสสยิ าหใ์ นอนาคต เพราะท่านนักบุญมทั ธวิ ไม่ไดก้ ล่าวถงึ อกี
เลย ส่วนความเข้าใจของนักบุญลูกา กิจการน้ีบรรลุความหมายสมบูรณ์เป็นจริงในวนั ท่ีพระจิตเสด็จลงมา

92

(Pentecost)เหนือบรรดาอคั รสาวก (กจ. 1:5; 2:1-13) แต่ไม่ใช่ประเดน็ ตคี วามของนักบุญมทั ธวิ เพราะพระวรสาร
นักบุญมทั ธวิ ไดต้ คี วามทงั้ หมดว่าบทบาทหน้าท่ขี องนักบุญยอหน์ คอื ทาหน้าทน่ี าหน้า(As a Precursor of) พระ
เยซูเจา้ เป็นภาพคู่ขนานของบุคคลทป่ี ระกาศตนเป็นรองจากพระเมสสยิ าหแ์ ละตนไม่คู่ควรแมแ้ ต่จะถอื รองเท้า
สานของท่าน

สว่ นคาวา่ “แต่ผทู้ จ่ี ะมาภายหลงั ขา้ พเจา้ ทรงอานาจยง่ิ กว่าขา้ พเจา้ ” นกั บุญยอหน์ ไดช้ แ้ี สดงว่า พระเยซู
เจา้ ทรงเป็นลูกแกะของพระเป็นเจา้ และบอกใหศ้ ษิ ยต์ ดิ ตามพระองค์ หมายถงึ พระเยซูเจา้ เป็นผไู้ ถ่กูป้ ระชากรท่ี
พระเจา้ ทรงสญั ญาไว้ หรอื พระเมสสยิ าหใ์ นความหมายว่า “ทรงอานาจยง่ิ กว่าขา้ พเจา้ ” เน่ืองจากนกั บุญยอหน์ ได้
ทาหน้าทเ่ี ป็นดงั ประกาศกเอลยิ าหผ์ ทู้ จ่ี ะตอ้ งกลบั มา เตรยี มทุกคนรบั เสดจ็ พระเมสสยิ าห์ สว่ นขอ้ ความวา่ “แต่ผทู้ ่ี
จะมาภายหลงั ขา้ พเจา้ ” หมายถงึ การมาถงึ ภายหลงั ตามลาดบั เวลาหรอื ภารกจิ ไถ่กมู้ นุษยต์ ามพระสญั ญา เตรยี ม
ประชาชนให้เป็นทุกขก์ ลบั ใจและชาระตนใช้โทษบาป และดาเนินชวี ติ ใหม่ในหนทางของพระเป็นเจ้า สมควร
ไดร้ บั ชวี ติ นิรนั ดรกบั พระเป็นเจา้ ในสวรรค์ กล่าวคอื ภารกจิ แห่งการนาพามนุษยใ์ หเ้ ป็นทุกขก์ ลบั ใจ และประกาศ
ขา่ วดแี ห่งอาณาจกั รสวรรค์

ข้อคิดไตรต่ รอง
1. เราทราบตามขอ้ เทจ็ จรงิ ว่าพระเยซูเจา้ ไม่ไดเ้ ป็นไปตามความคาดหวงั ของนักบุญยอหน์ ในลกั ษณะของ

การเป็น “ผทู้ ย่ี ง่ิ ใหญ่กว่า” (ดู 11:2-3) นักบุญมทั ธวิ ไดจ้ ดั นาเสนอภาพลกั ษณ์ของนักบุญยอหน์ ตามทท่ี ่านไดร้ บั รมู้ า
จากเอกสารศกั ดสิ ์ ทิ ธวิ ์ า่ ท่านสามารถละเวน้ บางสงิ่ หรอื ปรบั เปลย่ี นนักบุญยอหน์ อย่างไรกไ็ ดเ้ พ่อื ใหภ้ าพลกั ษณ์
ของพระเมสสยิ าหท์ น่ี กั บุญยอหน์ ในเรอ่ื งเล่าน้ไี ม่ขดั กบั ลกั ษณะความเป็นพระเมสสยิ าหข์ องพระเยซูเจา้ (เทยี บ ภาพ
ของนักบุญยอห์นในพระวรสารฉบบั ท่สี ่)ี หรอื ในอกี ทางหน่ึง ท่านสามารถตีความพระเยซูเจ้าในอกี รูปแบบหน่ึงเพ่อื ให้
สอดคล้องมากข้ึนกับความคาดหวงั ของนักบุญยอห์นท่ีมีต่อพระเมสสิยาห์ ในฐานะผู้แข็งกร้าว และเป็นผู้
พิพากษาในอวสานตกาลก็ได้ แต่สรุปทบทวนและราลกึ ไตร่ตรองประเด็นทงั้ หมดของนักบุญมทั ธวิ ท่านได้
ตีความหมายในแบบครสิ ตศาสตร์ใน(ประกาย)แสงสว่างแห่งการเสดจ็ มายงั โลกของพระเยซูเจ้า คอื ทรงเป็น
กษัตรยิ ์แห่งการให้อภัย ผู้รบั ใช้ท่ียอมรบั ความทุกข์โดยไม่ใช้การโต้ตอบรุนแรง พลงั อานาจอนั เข้มแข็งของ
พระองคค์ อื ความอ่อนโยนนอบน้อม (Meekness) อย่างเด่นชดั (12:14-21; 21:1-5) เม่อื นานักบุญยอห์นและสารของ
ท่านมารวมไวใ้ นกรอบคดิ แบบครสิ ต์ ท่านนักบุญมทั ธวิ สามารถเขา้ ใจสารของนักบุญยอหน์ จากมุมมองของชาว
ครสิ ต์ และสงวนรกั ษาเน้ือหาสาระตา่ งๆ โดยเน้นวา่ ชาวครสิ ตค์ วรจะไดฟ้ ัง แมว้ า่ ขา่ วสารนนั้ เป็นสง่ิ ทเ่ี สยี ดแทงใจ
อยา่ งยงิ่ กบั ขา่ วสารของชาวครสิ ต์ ตวั อย่างเชน่ นกั บุญยอหน์ เสนอภาพของการพพิ ากษาโลกในอวสานตกาลทจ่ี ะ
มาเป็นแบบการแยก”ขา้ วสาล”ี กบั ”แกลบ”ออกจากกนั แต่ท่านนกั บุญมทั ธวิ ใชภ้ าพน้ีเพอ่ื เตอื นชาวครสิ ตท์ ป่ี ล่อย
ตวั ตามสบายในพระศาสนจกั ร ใหร้ ะลกึ ตนวา่ พวกเขาเหมอื นขา้ วทผ่ี สมทอ่ี ย่ใู นถุงทร่ี อการคดั แยก โดยผคู้ ดั แยก
ไมใ่ ชต่ นเอง แต่เป็นผพู้ พิ ากษาผจู้ ะเสดจ็ มาแห่งอวสานตกาล (ดู 13:30, 36-43)

2. อย่างไรกต็ าม โครงร่างเรอ่ื งแบบหยาบๆ ของนกั บุญยอหน์ ไม่เหมอื นกบั ศาสนาครสิ ต์ทงั้ หมด ในพระวร
สารนักบุญมทั ธวิ นักบุญยอห์นเป็นเพียงบุคคลชายขอบท่ีนามาคู่ขนานไปกบั พระเยซูเจ้า และเป็นรองจาก
พระองค์ เป็นบุคคลท่ไี ด้รบั การช่นื ชมและความเคารพนับถอื ผูอ้ ่านควรตระหนักถงึ ความสาคญั อย่างจรงิ จงั ว่า
ท่านไม่ไดก้ ลายเป็นศษิ ยข์ องพระองค์ ท่านนกั บุญยอหน์ มศี ษิ ยเ์ ป็นของตนเอง เคยี งค่ขู นานไปกบั กลุ่มศษิ ยข์ อง

93

พระเยซูเจา้ ท่านไม่ได้อยู่ “ในเร่อื ง” แต่กไ็ ม่ไดอ้ ยู่ “นอกเร่อื ง” ดว้ ย ท่านเป็นผแู้ ทนพนั ธมติ รของบุคคลผู้นาพา
พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ มาสู่โลก แต่ยงั ไม่ได้เป็นสมาชกิ กลุ่มชุมชนชาวครสิ ต์และไม่สามารถ(แสดงตน)
เป็นสมาชกิ ในกลุ่มได้ น่ีเป็นหน่ึงในตวั อย่างของความเปิดกวา้ งของนักบุญมทั ธวิ ทย่ี อมรบั ผูอ้ ่นื ในฐานะผูร้ บั ใช้
และผสู้ ่งสารของพระเป็นเจา้ แมว้ ่าเขาจะไม่สามารถหาสถานะอนั ถูกต้องตามกฎระเบยี บไดภ้ ายในกรอบความ
เขา้ ใจของท่านเกย่ี วกบั เทว-ศาสตรด์ า้ นพระศาสนจกั ร เราควรระลกึ ถงึ ภาพของนักบุญยอหน์ วา่ ผทู้ ไ่ี มเ่ คยไดเ้ ป็น
ศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ (เรยี กว่า “ชาวครสิ ต์” จากมุมมองของนกั บุญมทั ธวิ แห่งช่วงเวลาหลงั การกลบั คนื พระชนม
ชพี ของพระเยซูครสิ ต์) ในขณะใชต้ คี วามการประกาศเชงิ นิเสธอย่างชดั แจง้ มากกว่า(ตรงอย่างจรงิ จงั มากกว่า)
ของนกั บญุ มทั ธวิ ทต่ี อบโตต้ ่อพวกชาวยวิ กล่มุ อ่นื ๆ

3. การปรากฏตวั อย่างทนั ทีทนั ใดของนักบุญยอห์นในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ เป็นเร่อื งสาคญั แห่งการ
ออกแบบเชงิ เทวศาสตร์ ไม่ใช่กระบวนวธิ กี ารทางวรรณกรรม การกระทาของพระผูเ้ ป็นเจ้าในประวตั ศิ าสตรท์ ่ี
ผ่านมามกั จะเกิดข้นึ แบบฉับพลนั ไม่มใี ครคาดถึง และในความคดิ ของของเราอาจจะดูเหมอื นเป็นเหตุการณ์
แทรกแซงโดยไม่ทราบล่วงหน้า พระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ (God’s will) ไม่อาจนามาเปรยี บเทยี บกบั กจิ กรรม
ของกลุ่มทเ่ี กดิ ผลกา้ วหน้า การเตบิ โตของมนุษย์ หรอื การพฒั นาทางสงั คม ทเ่ี กดิ ขน้ึ มาตามจงั หวะตามธรรมชาติ
จากความเป็นไปไดข้ องมนุษย์ พระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ ไม่จาเป็นตอ้ งเป็นกจิ ปฏบิ ตั กิ ารท่อี ่อนโยนและเงยี บ
สงดั เหมือนไม้เถาวลั ย์(ต้นไอว่)ี ท่ีค่อยๆ เล้ือยไปตามขอบหน้าต่างแห่งประวตั ิศาสตร์เสมอไป บางครงั้ เกิด
ปรากฏการณ์พเิ ศษ ดงั เช่น คนคล้ายประกาศกเอลยิ าห์ปรากฏตวั ข้นึ ประเทศหน่ึงยอมรบั สารภาพผดิ กลบั ใจ
กาแพงเบอร์ลนิ ถูกร้อื ถอน หรอื มคี นอย่างมาร์ตนิ ลูเธอร์ คงิ จูเนียร์ก้าวเดนิ อย่างสง่าเขา้ มาในเหตุการณ์ ทาง
สงั คม พระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ ทาลาย(แบบพมิ พ์)ซากเก่าของสงั คม สนั่ สะเทอื นทาลายชนชนั้ ทางสงั คม และ
แทรกแซงเหตกุ ารณ์ในโลกอยา่ งแปลกประหลาดน่าตกตะลงึ

ดงั นัน้ เม่อื ประตู(แห่งพระพรการไถ่กูใ้ หร้ อดพน้ )ของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ เปิดขน้ึ อย่างฉบั พลนั และเหน็ ภาพ
ของนักบุญยอห์นปรากฏอยู่ในถิน่ ทุรกนั ดารของแควน้ ยูเดยี ดุจดงั ประกาศกเอลยิ าห์เพ่งมองมายงั ประชากร
มนุษย์ในสมยั ก่อน มนั เป็นสง่ิ น่าตระหนกตกใจ เป็นเร่อื งคาดไม่ถงึ ใครเล่าจะสามารถคาดเดาได้ การปรากฏ
ตวั อยา่ งไม่คาดหมายของท่านเป็นการประกาศว่าหนทางของพระเป็นเจา้ ทม่ี ตี ่อโลกนนั้ บ่อยครงั้ เป็นเรอ่ื งแปลก
ประหลาด ไม่อาจรูล้ ่วงหน้า และไม่อาจพยากรณ์ทานายได้ ท่ตี รงน้ี เป็นจุดเรมิ่ ต้นพนั ธกจิ ของพระเยซูเจ้า ท่ี
นักบุญยอห์นผู้ทาพิธลี ้าง ทาหน้าท่ีเป็น “เสยี งเรยี กให้นมสั การพระเป็นเจ้า” (A Call To Worship) ในสภาพ
มนุษยท์ ร่ี อ้ งเรยี กใหก้ ลบั ใจ(ดุจดงั เอลยี าหก์ ลบั คนื มาอกี ครงั้ ) เสยี งเรยี กนนั้ ไมใ่ ชค่ ากล่าว “อรุณสวสั ด”ิ ์ อย่างอ่อนโยนและ
รา่ เรงิ แต่เป็นเสยี งประกาศดงั กอ้ งอยา่ งชดั เจนเรยี กใหน้ มสั การพระเป็นเจา้ จรงิ ๆ และมนั สนั่ สะเทอื นชวี ติ มนุษย์
ทงั้ ปวงอยา่ งไมส่ ามารถตา้ นทานได้ เปรยี บกบั ใยแมงมมุ ทเ่ี กาะมา้ นงั่ ยาวในวดั ยงั ตอ้ งหลุดกระเดน็ ออกไป นนั่ คอื
“ทา่ นทงั้ หลายจงกลบั ใจ เพราะพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ มาใกลแ้ ลว้ ”

94

มทั ธวิ 3: 13-17 การทาพธิ ลี า้ งใหพ้ ระเยซู

พระเยซูเจ้าทรงรบั พิธีล้าง
13 เวลานนั้ พระเยซเู จา้ เสดจ็ มาจากแควน้ กาลลิ ถี งึ แมน่ ้าจอรแ์ ดน เพอ่ื รบั พธิ ลี า้ งจากยอหน์ 14 ยอหน์ พยายามชกั ชวนพระ

องคใ์ หเ้ ปลย่ี นพระทยั เขากล่าววา่ “ขา้ พเจา้ ควรจะรบั พธิ ลี า้ งจากท่าน แตท่ ่านกลบั มาพบขา้ พเจา้ ” 15 พระเยซูเจา้ ตรสั ตอบวา่
“เวลาน้ี ปล่อยใหเ้ ป็นเชน่ น้ีก่อน เพราะเราควรจะทาทุกอยา่ งตามพระประสงคข์ องพระเจา้ ” ยอหน์ จงึ ยอมทาตาม
16 เมอ่ื พระเยซูเจา้ ทรงรบั พธิ ลี า้ งแลว้ เสดจ็ ขน้ึ จากน้า ทนั ใดนนั้ ทอ้ งฟ้าเปิดออก พระองคท์ อดพระเนตรเหน็ พระจติ ของพระเจา้
เสดจ็ ลงมา เหนือพระองคด์ จุ นกพริ าบ 17 และมเี สยี งจากสวรรคก์ ลา่ ววา่ “ผนู้ ้ีเป็นบุตรสุดทร่ี กั ของเรา เป็นทโ่ี ปรดปรานของเรา”

Francesco Albani's 17th century
Baptism of Christ is a typical depiction with the sky opening and the Holy Spirit descending as a dove.

ข้อศึกษาวิพากษ์
ขอ้ เทจ็ จรงิ คอื พระเยซูเจา้ ทรงไดร้ บั พธิ ลี า้ งโดยนกั บุญยอหน์ มหี ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท์ ห่ี นกั แน่น มี

นกั ประวตั ศิ าสตรช์ า่ งสงสยั ทส่ี ุดเพยี งไม่กค่ี นทไ่ี ม่แน่ใจในเร่อื งน้ี พระเยซูเจา้ ทรงเรมิ่ ตน้ พนั ธกจิ ของพระองคด์ ว้ ย
การรบั พธิ ลี า้ งจากนักบุญยอหน์ และเรอ่ื งเล่าน้ีมผี ตู้ คี วามมากมายหลายวธิ ี ก่อนถงึ สมยั พระวรสารนักบุญมทั ธวิ
ส่วนในพระวรสารนักบุญมาระโกนัน้ พธิ ลี า้ งของนักบุญยอห์นเป็นรูปแบบกจิ การ “เพ่อื การอภยั บาป” และพระ
เยซูเจา้ ทรงไดร้ บั พธิ ลี า้ งจากทา่ นนกั บญุ ยอหน์ โดยไมค่ ดั คา้ นแต่อย่างใด นกั บุญยอหน์ อาจรวู้ า่ พระเยซูเจา้ คอื พระ
เมสสยิ าห์ เน่ืองจากคาถามของนักบุญยอหน์ ใน ว. 14 แต่เม่อื ไดร้ บั คาตอบกลบั จากพระเยซูเจา้ ท่านไดย้ อมรบั
และยนิ ดปี ฏบิ ตั ทิ ุกอย่างนบนอบต่อพระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ ซ่งึ เปิดเผยเพ่อื แสดงถงึ ชวี ติ และพนั ธกจิ ของ
พระเยซูเจ้าและนักบุญยอห์นคอื “พระประสงค์จงสาเรจ็ ในแผ่นดนิ เหมอื นในสวรรค์” (มธ. 6: 10) ส่วนประเด็น
คาถามเร่อื งความปราศจากบาปของพระเยซูเจ้ายงั ไม่เกิดข้นึ สาหรบั นักบุญมาระโก (ดู มก. 10:18; เทียบ ขอ้ ความท่ี
นักบุญมทั ธวิ นามาเขยี นใหม่ใน 19:17) สรุป เร่อื งเล่าของนักบุญยอห์น ผู้ทาพิธลี ้าง ได้ทาพิธลี ้างให้พระเยซูเจ้านัน้ ไม่
เพยี งแต่นกั บุญมทั ธวิ ทร่ี จู้ กั เป็นอยา่ งดี แตผ่ อู้ ่านของทา่ นกไ็ ดร้ จู้ กั คนุ้ ชนิ กบั เรอ่ื งเลา่ น้ี จากพระวรสารนกั บญุ มาระ
โกและในเอกสารแหล่ง Q

3:13 พน้ื ภมู หิ ลงั เรอ่ื งพระเยซเู จา้ ทรงรบั พธิ ลี า้ งจากทา่ นนกั บุญยอหน์ ทช่ี ดั เจน ซง่ึ นกั บุญมทั ธวิ นามาเล่า
น้ีแสดงให้เห็นความหมายของเร่อื งเล่าดงั กล่าวในรูปแบบบรรยายประวตั ิบุคคลอย่างชดั เจนมาก (a Sharp

95

Profile) เป็นสอ่ื นาสเู่ รอ่ื งของพระเยซูเจา้ ในวยั ผใู้ หญ่เขา้ มาอย่ใู นทอ้ งเรอ่ื งบรรยายครงั้ แรก นาเสนอพระองคแ์ ละ
พนั ธกจิ ของพระองค์ให้ผู้อ่านได้เขา้ ใจตามแนวคดิ ครสิ ตศาสตร์ของท่าน ท่านนักบุญมทั ธวิ ได้เลอื กเล่าเร่อื งน้ี
เรมิ่ ตน้ จากผอู้ ่านไดท้ ราบว่าพระเยซูเจา้ ทรงอย่ใู นกาลลิ กี ่อน จากนัน้ จงึ เดนิ ทางไปหานักบุญยอหน์ เป็นเทคนิค
นาพาผอู้ ่านวา่ กาลงั อยทู่ แ่ี มน่ ้าจอรแ์ ดนกบั นกั บุญยอหน์ ไดเ้ หน็ พระเยซเู จา้ ดาเนินเขา้ มา และเหมอื นวา่ ผอู้ า่ นรจู้ กั
นักบุญยอห์นเรยี บร้อยแล้ว ซ่ึงเป็นแบบการจดั ลาดบั เร่อื งแบบประวตั ิศาสตร์แห่งการไถ่กู้ท่ีดาเนินไปอย่าง
ต่อเน่ือง ในลาดบั จากพนั ธสญั ญาเดมิ ไปสนู่ กั บุญยอหน์ และสพู่ ระเยซูเจา้ ท่านนกั บุญมทั ธวิ เตมิ คาปรบั กรยิ าเป็น
คานามเพ่อื แสดงจุดประสงคใ์ นพระวรสารนักบุญมาระโก เป็นความหมายว่าพระเยซูเจา้ ได้ทรงตดั สนิ ใจ ตงั้ แต่
ตอนอยู่ทเ่ี มอื งนาซาเรธ็ แลว้ ว่าจะไปรบั พธิ ลี า้ ง ก่อนท่จี ะทรงเดนิ ทางมาถงึ จากกาลลิ ี ซ่งึ เป็นการใชเ้ ทคนิคทาง
วรรณกรรมแบบการเล่าเร่อื งแย้มบอกล่วงหน้า ท่านนักบุญมทั ธวิ สามารถเล่าเร่อื งน้ีให้เป็นแบบอ่นื ก็ได้ หรอื
แทนทจ่ี ะใชว้ ธิ กี ลบั กนั (เช่นเดยี วกบั ในพระวรสารแหง่ ชาวนาซารนี 2) เชน่ น้แี สดงวา่ เป็นการบอกใบแ้ ต่แรกๆ วา่ พระเยซูเจา้
ทรงเป็นผกู้ ากบั การดาเนนิ ไปของฉากเหตุการณ์น้ี

การนาพาตนเองเขา้ มารบั พธิ ลี า้ งจากนกั บุญยอหน์ มคี วามหมายถงึ พระเยซูเจา้ ทรงยอมถ่อมองคล์ งและ
สมคั รใจเข้ามาอยู่ในท่ามกลางคนบาป เม่ือประชาชนชาวยิวได้ไปพบนักบุญยอห์น ขอรบั พิธีล้างในแม่น้า
จอร์แดนโดยสารภาพบาปของตน (มก. 1: 15) การตดั สนิ พระทยั ก้าวเขา้ มาเช่นน้ีเท่ากบั เป็ นการ “ตอบรบั ” พระ
ประสงค์ขององคพ์ ระเป็นเจา้ ในภารกจิ การไถ่กู้มนุษย์ใหร้ อดพ้นจากบาปทงั้ หมด คลา้ ยกบั ประกาศกโยนาห์ท่ี
บอกกบั พวกลูกเรอื ว่า “จบั ขา้ พเจ้าโยนลงทะเลเถดิ ” (ยนา. 1: 12) จงึ ทรงยอมรบั ความบาปผดิ ทงั้ หมดของมนุษย์
ยอมมอบตนเป็นในการสารภาพบาปผดิ และเป็นการวอนขออภยั เพ่อื จะไดเ้ รมิ่ ต้น(สรา้ งสรรค)์ ชวี ติ ใหม่ ปฏบิ ตั ิ
ความถูกต้องชอบธรรม (Righteousness) ทงั้ หมดใหส้ าเรจ็ ไป เป็นการยอมรบั พระประสงค์ทงั้ ส้นิ ของพระเป็น
เจา้ ยนิ ดแี บกรบั ภารกจิ เร่อื งพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ แมว้ า่ ไม่มรี ะบุไวใ้ นธรรมบญั ญตั ิ (Torah) จงึ เป็นการ
ตอบรบั (Yes) แบบไม่จากดั ต่อพระประสงค์ของพระเป็นเจ้า ดงั ใน มธ. 3: 15 “เพราะเราควรจะทาให้ความ
ถูกตอ้ งชอบธรรมทงั้ หมดสาเรจ็ ไป” พระเยซูเจา้ ไดท้ รงยอมรบั ภารกจิ น้ีดุจดงั “ลกู แกะของพระเป็นเจา้ ” หรอื เป็น
ผรู้ บั ใชผ้ ทู้ นทุกขท์ รมานของพระเป็นเจา้ (อสย. 53: 7) ส่วนคาว่า “เวลาน้ีปล่อยใหเ้ ป็นเช่นน้ีก่อน” หรอื “Now” พระ
สนั ตะปาปาเบเนดกิ ต์ ท่ี 16 อธบิ ายว่า แฝงความหมายถงึ การสงวนท่าที เป็นสถานการณ์พเิ ศษเฉพาะหน้าท่ี
เรยี กรอ้ งให้ต้องกระทาการพเิ ศษอย่างใดอย่างหน่ึง (โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ เบเนดกิ ต์ ท่ี 16, พระเยซูเจา้ แห่งนาซาเรธ็ , หน้า56-63)
และการทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงรบั พธิ ลี า้ งจงึ เป็นทเ่ี ขา้ ใจวา่ เป็นการทาซ้าประวตั ศิ าสตรท์ งั้ หมด... พระองคเ์ สดจ็ เขา้ ไปสู่
บาปของมวลมนุษย์ เป็นการลงไปสู่ “แดนใต้บาดาล” (Inferno) ..ทรงพลกิ ผนั โดยทรงทาลายมนั และเปิดประตู
สวรรค.์ ..พระองคท์ รงต่อสกู้ บั ผแู้ ขง็ แรงนนั้ (เทยี บ ลก. 11: 22) เพอ่ื ศลี ลา้ งบาปปรากฏเป็นของประทานแหง่ การเขา้ มี
สว่ นรว่ มกบั พระเยซูเจา้ ในการทพ่ี ระองคท์ รงพยายามปรบั เปลย่ี นโลกโดยการพลกิ กลบั ชวี ติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในการเสดจ็
ลงมาและการเสดจ็ ขน้ึ ไปของพระองค์ (อา้ งแลว้ , หน้า 64 และต่อๆ ไป)

3:14-17 แม้ว่าในเร่อื งเล่าของนักบุญมทั ธิว ทงั้ สองจะไม่เคยติดต่อกันมาก่อนเลย แต่นักบุญยอห์น
ตระหนักรบั รูไ้ ด้ว่าพระเยซูเจา้ ทรงเป็นผูท้ อ่ี ย่เู หนือท่าน และพยายามเปลย่ี นการกระทาทก่ี าลงั จะเกดิ ขน้ึ นัน้ ให้
เป็นไปในทางกลบั กนั โดยไม่ไดก้ ล่าวออกมาตรงๆ ว่าน่ีคอื พระครสิ ต์ (ลกั ษณะประโยคเป็น Conative Perfect ซง่ึ บ่งบอกความ
ตอ้ งการถูกกระตุ้น ช้ใี หเ้ หน็ ถงึ ความพยายามใหส้ ง่ิ นัน้ เกดิ ขน้ึ ) ส่วนพระเยซูเจา้ ตรสั เป็นครงั้ แรกในพระวรสาร โดยกล่าวถงึ พธิ ี
การลา้ งของพระองคเ์ องอย่างทรงอานาจ นักบุญมทั ธวิ ใชถ้ อ้ ยคาท่ไี ด้ประพนั ธ์ขน้ึ ซง่ึ ใส่เพมิ่ เตมิ ลงไปในเน้ือหา

96

ของพระวรสารนักบุญมาระโก แนวคิดทางเทวศาสตร์หลักๆ ของนักบุญ มัทธิวคือความชอบธรรม
(Righteousness) และการกระทาให้เป็นจรงิ (Fulfillment) คาว่าความชอบธรรมในท่นี ้ี และบ่อยครงั้ ในท่อี ่นื ๆ
หมายถงึ การทาตามน้าพระทยั ของพระเป็นเจา้ ทไ่ี ดร้ บั การเปิดเผย ส่วนคาว่าการทาให้สมบูรณ์เป็นจรงิ (Fulfill)
ในท่นี ้ีมคี วามหมายเรยี บง่ายว่า “ทา / กระทา” ความหมายคอื เป็นความจาเป็นท่นี ักบุญยอห์นและพระเยซูเจ้า
ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามน้าพระทยั ของพระเป็นเจา้ ซง่ึ รวมถงึ การทาพธิ ลี า้ งใหก้ บั พระเยซูเจา้ คาวา่ เราซง่ึ เป็นพหพู จน์ทา
ใหน้ ักบุญยอหน์ และพระเยซู-เจา้ เช่อื มโยงเป็นผรู้ ่วมมอื กนั ในการปฏบิ ตั ติ ามแผนการช่วยมนุษยใ์ หร้ อดพน้ ของ
พระเป็นเจา้ (11: 2-19)

ฉากน้ีเตม็ เป่ียมด้วยความหมายสอดแทรกเก่ยี วกบั อวสานตกาล ท้องฟ้าเปิดออก มเี สยี งดงั ลงมาจาก
สวรรค์ และการประทานพระจติ เจา้ ศาสนายดู ายในสมยั ของนักบุญมทั ธวิ ใสใ่ จยดึ ถอื เคร่อื งหมายเหล่าน้ีว่าเป็น
ของประทานแห่งการเปิดเผยจากพระผูเ้ ป็นเจา้ ทเ่ี คยเกดิ ขน้ึ มาก่อนในสมยั พระคมั ภรี แ์ ละไม่เคยเกดิ ขน้ึ อกี เลย
แต่จะกลบั มาอกี ครงั้ ในช่วงวนั สน้ิ โลก นักบุญมทั ธวิ นาเสนอการปรากฏตวั ของพระเมสสยิ าห์ในฐานะจุดเรมิ่ ต้น
ของเหตุการณ์วนั สน้ิ โลก สญั ญลกั ษณ์ ’นกพริ าบ’ กระตุน้ ใหเ้ ราคดิ ถงึ บางสง่ิ แต่ไมเ่ คยมกี ารอธบิ ายโดยสรุปเป็น
ความหมายเดยี ว อาจสอ่ื ถงึ (รวมกบั สง่ิ อ่นื ๆ)เหตุการณ์อนั ตกาลเกย่ี วกบั การสรา้ ง(โลก)ใหม่ คอื ทาใหเ้ ราหวนระลกึ นกึ
ถงึ นกพริ าบ เหมอื นการเคล่อื นไหวของพระจติ เจา้ เหนือผวิ น้าทก่ี าลงั ปัน่ ป่วนในปฐมกาล บทท่ี 1 นักบุญมทั ธวิ
มองว่าอนั ตกาลคอื การสรา้ งใหม่ (19:28) และได้นาคาน้ีไปใช้ในความหมายของการสรา้ งสรรพสง่ิ (Genesis:

(ge"nesiv genesis; ความหมายเหมอื นกบั “genealogy,” “ลาดบั วงศ์ตระกูล” “birth,” “การเกดิ ” “story,” “เร่อื งราว”

และ“beginning” ”การเรมิ่ ตน้ ”)) ในคาพดู ตอนเรม่ิ ตน้ พระวรสารดว้ ย (1:1, 18)
เสยี งจากสวรรคน์ ัน้ กล่าวดว้ ยถ้อยคาทม่ี าจากพระคมั ภรี ์ เป็นการผสมผสาน สดด. 2:7 และ อสย. 42:1

เขา้ ดว้ ยกนั ถอ้ ยคานนั้ สว่ นมากใชห้ รอื ยกมาแบบคาต่อคาจากพระวรสารนกั บุญมาระโก และแสดงใหเ้ หน็ ถงึ การ
ผสานแนวคดิ ทางครสิ ตศาสตรต์ ่างๆ ทส่ี าคญั สาหรบั นกั บญุ มทั ธวิ ถงึ แมว้ า่ ทา่ นจะแสดงภาพของพระเยซใู นฐานะ
พระบุตรของพระเป็นเจา้ ในเร่อื งเล่าส่วนทเ่ี ป็นการประสตู ิ (1:18-25; 2:15) แต่ยงั ไม่เคยประกาศตรงๆ จนกระทงั่ ใน
เหตุการณ์ตอนน้ี ซง่ึ พระเป็นเจา้ ทรงประทานตาแหน่งนนั้ ใหเ้ อง นกั บุญมทั ธวิ เปลย่ี น คา จากการกล่าวกบั บุคคล
ทส่ี องในพระวรสารนักบุญมาระโก คอื “ท่านคอื ” มาเป็นบุคคลทส่ี าม “น่ีคอื ” ซง่ึ นักบุญมาระโกแสดงภาพว่าการ
ประกาศดงั กล่าวเป็นการตรสั กบั พระเยซูเจา้ โดยตรงเท่านัน้ และเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งตามมุมมองของท่านในเร่อื ง
ความลบั ของพระเมสสยิ าห์ ตวั บุคคลมนุษย์อ่นื ๆ ในเร่อื งยงั คงไม่รบั รู้ถึงตวั ตนท่ีแท้จรงิ ของพระเยซูเจ้า ซ่ึง
เทา่ กบั เปิดเผยใหผ้ อู้ ่านไดร้ บั รู้ แตใ่ นพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ กลบั เป็นการประกาศเรอ่ื งน้ตี ่อคนในกลุ่มอน่ื ทก่ี วา้ ง
ขน้ึ อย่างน้อยกน็ กั บุญยอหน์ และเป็นไปไดม้ ากว่าจะรวมถงึ ประชาชนทวั่ ไปทอ่ี ย่แู วดลอ้ มดว้ ย เพราะในบทท่ี 1
และ 2 อตั ลกั ษณ์ของพระเยซูเจา้ เป็นสงิ่ ทค่ี นในครอบครวั และสาธารณชนรบั รอู้ ยแู่ ลว้ ถงึ แมว้ า่ นกั บญุ ยอหน์ จะได้
ยนิ เสยี งจากสวรรค์ แต่ท่านกไ็ ม่ไดม้ าเป็นศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ ท่านยงั คงทางานของตนเองต่อไปพรอ้ มกบั กลุ่ม
ศษิ ยข์ องทา่ น

ข้อคิดไตรต่ รอง
ไม่มกี ารอธบิ ายถงึ ความคดิ ความรูส้ กึ ของพระเยซูเจ้าในขณะท่ที รง “รบั ประสบการณ์แห่งพธิ ลี า้ ง” ใน

พระวรสารนักบุญมทั ธิว (ไม่มใี นส่วนอ่ืนๆ ของพระคมั ภีร์ด้วย) นักบุญมทั ธวิ ไม่ได้มุ่งพิจารณาถึงสิง่ ท่ีเกิดข้นึ ในพระ

97

วญิ ญาณของพระเยซูเจา้ และไมไ่ ดส้ นบั สนุนใหผ้ อู้ ่านตงั้ คาถามวา่ พระเยซูเจา้ ทรงรตู้ วั อย่แู ลว้ หรอื ไม่ว่าพระองค์
เป็นบุตรของพระเจา้ หรอื มคี วามสมั พนั ธ์เป็นพเิ ศษกบั พระเป็นเจา้ ในแบบทไ่ี ม่เหมอื นใคร และเร่อื งเล่ากล่าวว่า
การรบั พธิ ลี า้ งครงั้ นนั้ คอื ตอนทพ่ี ระองคร์ บั รเู้ ป็นครงั้ แรกถงึ พนั ธกจิ ของพระองคใ์ ช่หรอื ไม่ นักบุญมทั ธวิ ไม่สนใจ
ทฤษฎเี ชงิ อภปิ รชั ญาเกย่ี วกบั สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั บุคคลทเ่ี ป็นพระครสิ ต์ ในขณะทร่ี บั พธิ ลี า้ ง และท่านแสดงออกอย่าง
ชดั เจนถงึ การงดเวน้ ไม่แสดงมุมมองทว่ี ่า ในเชงิ อภปิ รชั ญา ท่านเล่าอย่างเรยี บง่ายว่า พระเยซูเจา้ ไดก้ ลายเป็น
รปู แบบบางอยา่ งทพ่ี ระองคย์ งั ไม่เคยทรงเป็น กอ่ นพธิ ลี า้ งนนั้ (ดู 1:18-25)

จากมุมมองของนักบุญมทั ธวิ เร่อื งการทรงรบั พธิ ลี า้ งของพระเยซูเจา้ เป็นการบรรยายเชงิ ครสิ ตศาสตร์
เสียงจากสวรรค์ซ่ึงประกาศว่าพระเยซูเจ้าเป็นพระบุตรของพระเป็นเจ้าและเป็นผู้รบั ใช้ ผู้รบั ทุกข์ทรมาน
(Suffering Servant) ทงั้ สองบทบาทน้ีไดร้ บั การผูกเขา้ กนั ไวแ้ ลว้ ในแหลง่ ขอ้ มลู พระวรสารนกั บุญมาระโก และทงั้
สองเป็น(หลกั )ความเชอ่ื สาคญั สาหรบั นกั บุญมทั ธวิ สาหรบั ทา่ น สองอยา่ งน้ีใชว่ า่ จะไมเ่ ชอ่ื มโยงกนั ไมใ่ ชล่ กั ษณะ
พเิ ศษสองสง่ิ แตกต่างกนั ของพระเยซูเจา้ นักบุญมทั ธวิ เน้นความสาคญั กบั ภาพของพระเยซูเจา้ ในฐานะผูร้ บั ใช้
ซง่ึ ตามธรรมประเพณีเป็นรปู แบบทถ่ี ูกละเลยหรอื มองขา้ มไป กไ็ ม่ไดท้ าใหภ้ าพของพระองคใ์ นฐานะบุตรของพระ
เป็นเจา้ ลดความสาคญั ลง ตามท่ที ่านไดเ้ น้นไวแ้ ลว้ ในเร่อื งเล่าน้ีว่า “ผนู้ ้ีคอื บุตรสุดทร่ี กั ของเรา เป็นทโ่ี ปรดปราน
ของเรา” (ว. 17) สะท้อนถงึ บทเพลงผูร้ บั ใชเ้ พลงแรกใน อสย. 42:1 จากนัน้ ต่อมา (12:18-21) นักบุญมทั ธวิ ได้
อา้ งองิ บทเพลงทงั้ หมดน้ี (อสย. 42:1-4) ซ่งึ ยกเป็นขอ้ ความทย่ี าวท่สี ุดจากพระคมั ภรี ม์ าอา้ งองิ ในพระวรสารน้ี โดย
เป็นการสรุปเร่อื งราวตอนทห่ี น่ึงของพระวรสาร นาเสนอการตอบสนองของพระเยซูเจา้ ทท่ี รงมตี ่อความขดั แยง้ ท่ี
เกดิ ขน้ึ จากการเสดจ็ มาของพระองค์ ภาพการเป็นผรู้ บั ใช้เสรมิ ความสมบูรณ์ของเน้ือหาของการเป็นพระบุตรของ
พระเจา้ โดยผสานกบั วธิ กี ารทพ่ี ระองคใ์ ชเ้ พอ่ื กระทาพนั ธกจิ ของพระองคส์ าเรจ็ แมว้ ่าพระองคอ์ ยใู่ นฐานะของ “ผู้
ทย่ี งิ่ ใหญ่กวา่ ” ทจ่ี ะมาทาพธิ ลี า้ งดว้ ยพระจติ หรอื พระองคอ์ ยใู่ นฐานะบุตรของดาวดิ และพระบุตรของพระเป็นเจา้
อย่างแน่นอน แต่พระองคย์ อมรบั พธิ ลี า้ งจากมอื ของผทู้ ่ี “ต่าต้อยกว่า” (ในภาษากรกี คาว่า Praus ยงั สามารถหมายถงึ อ่อน
น้อมสุภาพ (Meek) เทยี บ 11:29; 21:5) ด้วยความนบนอบเช่อื ฟังต่อน้าพระทยั ของพระเป็นเจา้ จงึ เหน็ ในชดั ว่าในฐานะ
พระบุตร พระองคค์ อื ผทู้ เ่ี คารพเช่อื ฟัง เป็นความนบนอบเช่อื ฟังของพระเยซูเจา้ ซง่ึ นาไปส่กู ารยอมสละพระองค์
เองบนไมก้ างเขน (27:43) และคาภาวนาใน 26:42 เป็นการกระทาทเ่ี ราคาดหวงั (วา่ จะเกดิ ตามมา)ได้ ความนบนอบเช่อื
ฟังน้แี ละบทภาวนาน้คี อื สง่ิ ทเ่ี ชอ่ื มโยงพระเยซแู ละศษิ ยข์ องพระองคใ์ หเ้ ป็นหน่งึ เดยี ว (6:10; 16:24)

ดงั นัน้ การรบั พธิ ลี า้ งของพระเยซูครสิ ต์จงึ ไม่ได้เป็นเพยี งขา่ วสารเชงิ ครสิ ตศาสตรเ์ ท่านัน้ แต่ยงั เป็นเชงิ
(พระ)ศาสนจกั รวทิ ยาดว้ ย เพราะนกั บญุ มทั ธวิ พจิ ารณาถอื วา่ พระครสิ ตแ์ ละพระศาสนจกั รเป็นเอกภาพทแ่ี ยกจาก
กนั ไม่ได้ อย่างไรกต็ าม ในกรณีน้ีเร่อื งเล่าการรบั พธิ ลี า้ งของพระเยซูเจา้ ไม่ได้ถอื เป็นต้นแบบสาหรบั การรบั ศลี
ลา้ งบาปของชาวครสิ ต์ เหมอื นสอ่ื ความหมายวา่ “เพราะพระเยซูเจา้ ไดร้ บั พธิ ลี า้ ง เรากค็ วรรบั ดว้ ย” แต่เป็นไปได้
มากกว่าท่ีการรบั พธิ ลี ้างของพระเยซูเจ้านัน้ เหมอื นเป็นภาพและพธิ ที ่ไี ด้รบั การพฒั นาข้นึ มาภายหลงั จากเทว
ศาสตรใ์ นศาสนาครสิ ต์และการประกอบพธิ ลี า้ งตามธรรมประเพณี เช่นเดยี วกบั บรรดาศษิ ย์ต้องไดร้ บั พธิ ลี า้ งใน
นามของพระตรเี อกภาพ (28:19) พระบดิ า พระบุตร และพระจติ ดารงอย่ใู นการรบั พธิ ลี า้ งของพระเยซูเจา้ ดว้ ย
การรบั ศลี ล้างบาปในศาสนาครสิ ต์จงึ เป็นเร่อื งของการนบนอบเช่อื ฟังและการรบั พระจติ ซ่งึ เป็นเช่นนัน้ สาหรบั
พระเยซูเจา้ เชน่ กนั เมอ่ื ชาวครสิ ตไ์ ดร้ บั การประกาศวา่ เป็นลกู ของพระเจา้ ผา่ นทางพธิ กี ารลา้ งบาป เชน่ เดยี วกบั ท่ี
พระเยซูเจา้ ไดร้ บั การประกาศวา่ เป็นพระบตุ รของพระเป็นเจา้ เมอ่ื พระองคท์ รงรบั พธิ ลี า้ งเชน่ กนั

98


Click to View FlipBook Version