The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจงานแปลมัทธิว 22

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by P. Tads, 2021-06-08 08:52:45

21. มัทธิว 21:23 - 22:46

ตรวจงานแปลมัทธิว 22

มทั ธวิ 21:23 - 22:46 ประเดน็ ปัญหาเรอ่ื งสทิ ธอิ านาจ

the Jewish War (A.D. 66-74) fulfills Matthew 22:7

ภาพรวม

เมอ่ื พระเยซูเจา้ เสดจ็ เขา้ ไปในพระวหิ ารใน 21:23 พระองคท์ รงประทบั อย่ใู นนนั้ จนถงึ 24:1 จากนนั้ เสดจ็

จากไปเป็นครงั้ สุดทา้ ย หลงั จากทรงประกาศถงึ การถูกทาลายทง้ิ รา้ งของมนั ใน 23:38 มนั เป็นฉากทม่ี คี วามเป็น

ละครและเป็นสญั ลกั ษณ์ พระเยซูเจา้ ผทู้ รงเป็นอาจารยผ์ ไู้ ดร้ บั สทิ ธอิ านาจตามพระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ (7:28;

28:18-20) ทรงทา้ ทายผนู้ าในศาสนายวิ เป็นครงั้ สดุ ทา้ ยภายในพน้ื ทศ่ี กั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องพระวหิ าร

ในแหล่งข้อมูลท่ีเป็นพระวรสารนักบุญมาระโก น่ีคือเร่อื งราวการโต้เถียงอย่างรุนแรง (Controversy

Story) เรอ่ื งแรกจากทงั้ หมด 5 เร่อื ง โดยมเี รอ่ื งอุปมาขนั้ กลางระหวา่ งเรอ่ื งทห่ี น่ึงและเร่อื งทส่ี อง และสรุปจบดว้ ย

การประกาศถงึ ความพนิ าศของธรรมาจารย์ ดงั นัน้ เร่อื งราวท่ตี ่อเน่ืองกนั น้ีจงึ ไม่ใช่หวั ขอ้ ท่พี ระเยซูเจา้ ทรงสอน

ไม่ใช่การทพ่ี ระองคเ์ ทศน์สอนเร่อื ง “ธรรมชาตขิ องสทิ ธอิ านาจ” “ครสิ ตจกั รกบั รฐั ” หรอื “ชีวติ หลงั ความตาย” แต่

เป็นชุดเร่อื งราวการเผชญิ หน้าท่ผี ตู้ ่อต้านพระเยซูเจา้ พยายามจะวางกบั ดกั จบั พระองค์ แต่ถูกพระองคเ์ อาชนะ

ดว้ ยการโตเ้ ถยี งในทส่ี าธารณะ นักบุญมทั ธวิ นาเร่อื งราวการเผชญิ หน้าเหล่าน้ีมาขยายใหย้ าวขน้ึ และเขม้ ขน้ ขน้ึ

ด้วยการเติม “ชาวฟารสิ ”ี เขา้ มาในตาแหน่งท่เี จาะจง นักบุญมทั ธวิ ทาให้ชุดเร่อื งราวน้ีเป็นการเผชญิ หน้ากนั

ระหวา่ งพระเยซูเจา้ กบั ชาวฟารสิ แี ละทาใหพ้ วกเขาเกย่ี วพนั กบั ความตายของพระองค์ สองอาณาจกั รใน 12:22-

37 มายนื ประจนั หน้ากนั นกั บุญมทั ธวิ วางโครงสรา้ งหน่วยน้ีใหม่ใหม้ คี วามสมดลุ และกระชบั แน่นขน้ึ ดว้ ยการเตมิ

อปุ มาสองเรอ่ื งและคาประกาศถงึ ความพนิ าศเขา้ มาในวาทกรรมทค่ี รบสมบรู ณ์ (23:1-25:46)

บทนา: ประเดน็ ทถ่ี ูกยกขน้ึ มา

การทา้ ทายเรอ่ื งสทิ ธอิ านาจของพระเยซูเจา้ 21:23

ก คาถามของพระเยซูเจา้ 21:24-27

ข อปุ มาสามเรอ่ื ง

1. บุตรสองคน 21:28-32

2. สวนองนุ่ ของพระเป็นเจา้ 21:33-45

3. งานเลย้ี งอนั ยงิ่ ใหญ่ 22:1-14

ข เรอื่ งราวที่เป็นการโต้เถยี งรนุ แรง

1. การจ่ายภาษใี หจ้ กั รพรรดิ 22:15-22

2. การกลบั ฟ้ืนคนื ชพี 22:23-33

3. พระบญั ญตั ทิ ยี่ งิ่ ใหญ่ 22:34-40

ก คาถามของพระเยซูเจา้ 22:41-46

471

มทั ธวิ 21:23-27 การทา้ ทายสทิ ธอิ านาจของพระเยซเู จา้

พระเยซูเจ้าทรงรบั อานาจจากผใู้ ด
23 พระองคเ์ สดจ็ เขา้ ไปในพระวหิ าร ขณะทท่ี รงสงั่ สอนประชาชนอยนู่ นั้ บรรดาหวั หน้าสมณะและผอู้ าวโุ สของประชาชนเขา้ มาพบ
พระองค์แลว้ ทลู ถามว่า “ท่านมอี านาจใดจงึ ทาเช่นน้ี ใครมอบอานาจน้ีใหท้ ่าน” 24 พระเยซูเจา้ ตรสั ตอบว่า “เราขอถามท่านอย่าง
หน่ึงดว้ ยเช่นเดยี วกนั ถา้ ท่านตอบ เราก็จะบอกท่านว่าเราทาเช่นน้ีดว้ ยอานาจใด 25 พธิ ลี า้ งของยอห์นมาจากไหน จากสวรรค์
หรอื จากมนุษย”์ บรรดาสมณะและผอู้ าวุโสของประชาชนจงึ ปรกึ ษากนั วา่ “ถา้ เราตอบว่ามาจากสวรรค์ เขากจ็ ะถามวา่ ‘แลว้ ทาไม
ท่านจงึ ไมเ่ ชอ่ื ยอหน์ เล่า’ 26 ถา้ เราตอบว่ามาจากมนุษย์ เรากเ็ กรงกลวั ประชาชน เพราะทุกคนคดิ ว่ายอหน์ เป็นประกาศก” 27 เขา
จงึ ทลู ตอบพระเยซเู จา้ วา่ “เราไมร่ ”ู้ พระองคจ์ งึ ตรสั วา่ “เรากไ็ มบ่ อกทา่ นเชน่ เดยี วกนั วา่ เราทาการเหลา่ น้ีโดยอานาจใด”

ข้อศกึ ษาวิพากษ์
21:23 เช่นเดียวกับในพระวรสารนักบุญมาระโก พระเยซูเจ้าเสด็จเข้าไปในพระวิหารเป็นครงั้ สุดท้าย

พระองค์ทรงถูกทา้ ทายโดยมหาสมณะและผมู้ อี านาจในศาสนายดู าย ซ่งึ ต่อมาจะวางแผนสงั หารพระองค์ (26:3)
และจะเป็นผอู้ ยใู่ นตาแหน่งตดั สนิ พพิ ากษาพระองค์ (26:47, 57; 27:1) ชาวฟารสิ ไี ดอ้ ยทู่ น่ี นั่ ดว้ ย ดงั นนั้ จงึ เป็นอกี ฉาก
เหตุการณ์หน่ึงทม่ี คี วามขดั แยง้ อยใู่ นตวั มนั เอง คอื ผทู้ จ่ี ะตดั สนิ พพิ ากษาพระเยซูเจา้ ในอนาคตไดก้ ล่าวคาตดั สนิ
ลงโทษตนเองในบทสนทนาต่อมา คาถามของพวกเขาในเรอ่ื งสทิ ธอิ านาจจงึ ไมใ่ ชเ่ ป็นเพยี งความรสู้ กึ หงดุ หงดิ ไม่
พอใจสว่ นตวั หรอื เป็นการตอบสนองต่อการกระทาของพระองคใ์ นพระวหิ าร ซง่ึ ไมม่ ใี ครกล่าวถงึ อกี จากมุมมอง
ของนกั บุญมทั ธวิ ซง่ึ เป็นยคุ หลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี มนั เกย่ี วขอ้ งกบั การโตเ้ ถยี งทม่ี อี ยใู่ นศาสนายดู ายวา่ ใคร
คอื ผูส้ อนท่มี สี ทิ ธอิ านาจในการฟ้ืนฟูประชากรของพระเป็นเจ้าข้นึ มาใหม่ หลงั จากเกดิ สงครามและการทาลาย
เยรูซาเลม็ และพระวหิ าร (ดูบทนา) ดงั นัน้ “สทิ ธอิ านาจ” (Authority) จงึ มบี ทบาทในการนาเสนอพระเยซูเจ้าของ
นักบุญมทั ธิว คอื แสดงให้เห็นว่าพระองค์แตกต่างจากบรรดาธรรมาจารย์อย่างเห็นได้ชดั ฝูงชนมองเห็นว่า
พระองคท์ รงสอนอยา่ งผมู้ สี ทิ ธอิ านาจ (7:29) พระองคท์ รงมสี ทิ ธอิ านาจในการรกั ษาคนป่วย แมแ้ ต่ในระยะไกล ซง่ึ
แมแ้ ตช่ นต่างศาสนากร็ ไู้ ด้ (8:9) พระองคท์ รงมสี ทิ ธอิ านาจในการใหอ้ ภยั บาปและสง่ ตอ่ สทิ ธอิ านาจนนั้ ใหก้ บั บรรดา
ศษิ ย์ (9:8; 10:1) ในจุดสาคญั สูงสุดของเหตุการณ์ในพระวรสาร พระองค์ทรงประกาศว่าพระเป็นเจา้ ได้มอบสทิ ธิ
อานาจทงั้ หมดใหก้ บั พระองค์ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในการสอน (28:18-20) นักบุญมทั ธวิ เตมิ เพมิ่ ขน้ึ มาในฉากน้ีว่า
พระเยซูเจา้ กาลงั เทศน์สอนอยู่ ซง่ึ ทาใหก้ ารอภปิ รายนนั้ มุ่งนนั้ ไปทส่ี ทิ ธอิ านาจของพระองคใ์ นการสอน (แต่กย็ งั คง

รกั ษาคาวา่ “สง่ิ เหล่าน้”ี [These Things] ซง่ึ ในพระวรสารนกั บญุ มาระโกตอ้ งการสอ่ื รวมถงึ การทพ่ี ระองคข์ ดั ขวางธุรกจิ การคา้ ในพระวหิ าร)

21:24-25ก คาตอบของพระเยซูเจา้ นนั้ เป็นยง่ิ กวา่ กลยทุ ธอ์ นั เฉลยี วฉลาด การกล่าวถงึ นกั บญุ ยอหน์ ผทู้ าพธิ ี
ลา้ งเป็นการกระตุน้ ใหค้ ดิ ถงึ ภาพของประกาศกมากมายในประวตั ศิ าสตรข์ องอสิ ราเอล ผู้มพี ระวาจาทแ่ี ทจ้ รงิ ของ
พระผเู้ ป็นเจา้ แมว้ า่ จะถูกปฏเิ สธและถกู ผนู้ าของประชาชนสงั หาร พระเยซูเจา้ ทรงระบุวา่ นกั บุญยอหน์ (และพระองค์
เอง) คอื หน่ึงในบรรดาประกาศก “จากสวรรค์” เหล่าน้ี (คอื พระเป็นเจ้าส่งมา) แต่ถูก “คนยุคน้ี” ปฏเิ สธ (11:16; 12:41-42;
23:36-37) แต่คาสอนของผทู้ อ่ี ย่ฝู ่ายตรงขา้ มกบั พระองคน์ นั้ “มาจากมนุษย”์ กล่าวคอื พวกเขาไม่ไดส้ อนโดยไดร้ บั
สทิ ธอิ านาจจากพระเป็นเจา้ (7:29) แตเ่ ป็นการสนบั สนุนเชดิ ชขู นบธรรมเนยี มของมนุษย์ (15:1-20)

472

21:25ข- 26 ตรงขา้ มกบั พระเยซูเจา้ หวั หน้าสมณะและผมู้ อี านาจในศาสนายดู าย ตอบสนองดว้ ยการใชก้ ล
ยทุ ธแ์ ละแผนเฉพาะหน้า แทนทจ่ี ะใสใ่ จกบั ความจรงิ พวกเขาพจิ ารณาใคร่ครวญทางเลอื กต่างๆ ของตน แต่พระ
เยซูเจา้ ทรงรคู้ วามคดิ ของพวกเขา ทางเลอื กของพวกเขาคอื การยอมรบั วา่ พนั ธกจิ ของนกั บุญยอหน์ (ในการเทศนาสงั่
สอนและทาพิธีล้างให้ผู้คน) นัน้ มาจากพระเป็ นเจ้า หรือการอ้างว่ามนั เป็นส่ิงท่ีมาจากมนุษย์ คือ บอกว่าเขาเป็ น
ประกาศกเท็จเทยี ม ถ้าเป็นในกรณีแรกพวกเขาต้องอธบิ ายว่าทาไมพวกเขาจงึ ไม่ยอมรบั สารท่ีนักบุญยอห์น
ประกาศ ส่วนในกรณีท่สี อง พวกเขาต้องขดั แย้งกบั ความคดิ ของคนส่วนใหญ่ท่มี ตี ่อนักบุญยอห์น คอื เขาเป็น
ประกาศกทแ่ี ทจ้ รงิ สงิ่ สาคญั สาหรบั นักบุญมทั ธวิ คอื การแสดงใหเ้ หน็ ว่าความคดิ เหน็ ของฝงู ชนมอี ทิ ธผิ ลต่อผนู้ า
เหล่าน้ีเพราะพวกเขาแสวงหาการเป็นท่ยี อมรบั ช่นื ชมและพวกเขาอจิ ฉารษิ ยาพระเยซูเจา้ (27:18) และแสดงให้
เหน็ วา่ ฝงู ชน ซง่ึ มบี ทบาทในทางบวกตลอดทงั้ บทบรรยายเรอ่ื งแต่ยงั ไมไ่ ดต้ ดั สนิ ใจอย่างชดั เจนว่าจะอยขู่ า้ งพระ
เยซูเจา้ หรอื อย่ฝู ่ายตรงขา้ มกบั พระองค์ (ดู 21:10-11) คอื ผทู้ ม่ี อี ทิ ธพิ ลและมคี วามรบั ผดิ ชอบ บรรดาผนู้ าจงึ ตดั สนิ ใจ
วา่ การไมต่ อบจะดที ส่ี ดุ

สาหรบั 21:27 แน่นอนว่าคาถามดงั้ เดมิ ไม่ได้ถามเพ่อื ขอขอ้ มูล แต่เป็นกลยุทธ์ท่จี ะทาใหพ้ ระเยซูเจา้ ทรง
เพล่ยี งพล้า แต่พวกเขากลบั เป็นฝ่ ายตดิ กบั ดกั นัน้ เสยี เอง การทพ่ี วกเขาปฏเิ สธท่จี ะตอบทาใหพ้ ระเยซูเจา้ ทรง
ตอบในแบบเดยี วกนั และทาใหท้ กุ คนเหน็ การตสี องหน้าของพวกเขาอย่างชดั เจน

ข้อคิดไตร่ตรอง
1. คาวา่ “เราไม่ร”ู้ สามารถเป็นคาตอบทางศาสนาทถ่ี ูกตอ้ งได้ เพราะผทู้ เ่ี ช่อื หรอื แม้แต่ครผู สู้ อนเทวศาสตร์

กไ็ ม่มหี น้าทห่ี รอื ความรบั ผดิ ชอบในการรคู้ าตอบของทุกสง่ิ แมแ้ ต่บรรดาศษิ ย์ทไ่ี ดร้ บั การเปิดเผยความลบั ต่างๆ
ของพระอาณาจกั ร (13:10-17) ก็ไม่รูถ้ งึ ความลบั เก่ยี วกบั วนั พพิ ากษาโลก (24:42, 50; 25:13) และไม่ควรอ้างว่าตนรู้
มากกวา่ จรงิ ๆ (20:22) แมแ้ ต่นกั บุญเปาโลผซู้ ง่ึ ไมล่ งั เลในการประกาศถงึ สง่ิ ทท่ี า่ นเชอ่ื กย็ งั เน้นว่า ไม่วา่ ท่านจะเป็น
อคั รสาวกทไ่ี ดร้ บั การดลใจจากพระเป็นเจา้ หรอื ไม่ ท่านกไ็ ม่อ้างว่าตนเองรูถ้ งึ สง่ิ ทเ่ี ป็นรากฐานทางศาสนา เช่น
“วธิ กี ารอธษิ ฐานภาวนา” (รม 8:26) และธรรมชาตขิ องนิมติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กับท่าน (2 คร 12:2) มนั ไม่ใช่การแกล้งถ่อมตน
แต่เป็นการประกาศยอมรบั ว่าธรรมชาตคิ วามรูข้ องมนุษยน์ ัน้ เป็นเพยี งเศษเส้ยี วเลก็ ๆ ทไ่ี ม่ปะตดิ ปะต่อกนั ทงั้
นกั บุญเปาโลเองและชาวครสิ ตท์ ุกคน (1คร 13:12) คาว่า “เราไม่ร”ู้ จงึ สามารถเป็นการประกาศความเช่อื ทเ่ี ป็นแบบ
ของชาวครสิ ต์

แต่ในท่นี ้ี ไม่ใช่กรณีนัน้ ความคลุมเครอื ของปรากฎการณ์ต่างๆ ทางจติ วญิ ญาณและสจั ธรรมทางครสิ ต
ศาสตร์ไม่ควรถูกนามาใชบ้ ดบงั การปฏเิ สธทจ่ี ะตดั สนิ ใจ ในทน่ี ้ี ผมู้ อี านาจในศาสนากาลงั เผชญิ หน้ากบั พนั ธกจิ
ต่างๆ ของนักบุญยอหน์ และพระเยซูเจา้ พวกเขาปฏเิ สธว่าทงั้ สองคนเป็นผู้ถอื สารทแ่ี ทจ้ รงิ ของพระเป็นเจา้ แต่
เมอ่ื ถูกบบี คนั้ ใหต้ อ้ งตอบว่า “ใช”่ หรอื “ไมใ่ ช่” พวกเขาจงึ หลบเลย่ี งดว้ ยการใชค้ าวา่ “เราไม่ร”ู้ การแสวงหาอย่าง
สตั ยซ์ ่อื และการดน้ิ รนต่อสเู้ พ่อื สจั ธรรมจะทาใหใ้ นทส่ี ุดเราตดั สนิ ใจได้ และมจี ุดยนื แมว้ ่าจะยงั คง “ไม่รู”้ ในบาง
แงม่ ุมทเ่ี ป็นนามธรรม พระเยซูเจา้ ผสู้ อนศษิ ยข์ องพระองคใ์ หข้ อ แสวงหา และเคาะ (7:7-8) ทรงสญั ญาว่าจะอย่กู บั
พวกเขาในการต่อสดู้ น้ิ รนนนั้ (1:23; 28:20)

ถงึ แม้ว่านักบุญมทั ธวิ จะไม่ใช่ผู้ท่สี รา้ งขอ้ ความน้ีขน้ึ มา แต่ท่านกน็ ่าจะเห็นด้วยว่าผู้ท่ตี ้องการทาตามน้า
พระทยั ของพระเป็นเจา้ จะตอ้ งสามารถและจะตอ้ ง “ร”ู้ วา่ สงิ่ ทพ่ี ระครสิ ตป์ ระกาศนนั้ มาจากพระเป็นเจา้ (ยน. 7:17)

473

2. เน้อื หาน้ที าใหน้ กั บุญยอหน์ และพระเยซูเจา้ อยใู่ นกลุ่มเดยี วกนั ผทู้ ป่ี ฏเิ สธนกั บุญยอหน์ กป็ ฏเิ สธพระเยซู
เจา้ ดว้ ย คาถามเก่ยี วกบั สทิ ธอิ านาจของพระเยซูเจา้ ถูกนามากล่าวอกี ครงั้ โดยไม่หลกี เลย่ี ง เช่นเดยี วกบั คาถาม
เก่ยี วกบั สทิ ธอิ านาจของนักบุญยอห์น ทงั้ สองมาจากพระเป็นเจ้า แต่แตกต่างกนั มาก ความแตกต่างนัน้ ไม่ใช่
เพยี งแตใ่ นเรอ่ื ง “รปู แบบ” การปฏบิ ตั ทิ างศาสนา (9:14-17; 11: 1-19) แตแ่ ตกต่างตรงทน่ี กั บญุ ยอหน์ นนั้ หวนั ่ ไหวและ
ข้สี งสยั (11:3) ในขณะท่พี ระเยซูเจ้า คอื ผู้ท่ีตรสั อย่างผู้มีอานาจอย่างต่อเน่ือง (7:29) สาหรบั นักบุญมทั ธิว เรา
สามารถพบพระเป็นเจา้ ไดใ้ นผเู้ ผยแพร่ศาสนาชาวครสิ ต์ ใน“ผเู้ ลก็ น้อย” ของชุมชน และในเดก็ ๆ (10:40-42; 18:1-5)
แต่ความกวา้ งขวางหลากหลายของบุคคลทเ่ี ราพบ สง่ิ เหล่าน้ีว่าเป็นส่อื กลางท่แี ทจ้ รงิ ในการประทบั อย่ขู องพระ
เป็นเจา้ ไม่ได้หมายความว่านักบุญมทั ธวิ ยนื ยนั ความถูกต้องของทฤษฎีสมั พทั ธนิยม (Relativism) การอ้างถงึ
สทิ ธอิ านาจจากพระเป็นเจา้ ทงั้ หมดลว้ นเป็นจรงิ และเป็นเทจ็ อย่างเท่าเทยี มกนั ท่านเรยี กรอ้ งใหม้ กี ารพจิ ารณา
แยกแยะ (ดู ขอ้ คดิ ไตรต่ รอง เกย่ี วกบั 11:16-19)

มทั ธวิ 21:28-32 บตุ รชายสองคน

อปุ มาเรอ่ื งบตุ รสองคน
28 “ท่านทงั้ หลายคดิ เหน็ อย่างไร ชายคนหน่ึงมบี ุตรสองคน เขาไปพบบุตรคนแรกพูดว่า “ลูกเอ๋ย วนั น้ี จงไปทางานในสวนองุ่น
เถดิ ” 29 บุตรตอบวา่ “ลูกไมอ่ ยากไป” แต่ต่อมากเ็ ปลย่ี นใจและไปทางาน 30 พ่อจงึ ไปพบบุตรคนทส่ี อง พดู อย่างเดยี วกนั บุตรคน
ท่สี องตอบว่า “ครบั พ่อ” แต่แลว้ ก็ไม่ได้ไป 31 สองคนน้ีใครทาตามใจพ่อ” พวกเขาตอบว่า “คนแรก” พระเยซูเจา้ จงึ ตรสั ว่า “เรา
บอกความจรงิ แก่ทา่ นทงั้ หลายวา่ คนเกบ็ ภาษแี ละหญงิ โสเภณจี ะเขา้ ส่พู ระอาณาจกั รของพระเจา้ กอ่ นท่าน
32 เพราะยอหน์ ไดม้ าพบทา่ น ชห้ี นทางแหง่ ความชอบธรรม6 ทา่ นกไ็ มเ่ ชอ่ื ยอหน์ ส่วนคนเกบ็ ภาษแี ละหญงิ โสเภณีเชอ่ื แตท่ ่านทงั้
หลายเหน็ ดงั น้ีแลว้ กย็ งั คงไมเ่ ปลย่ี นใจมาเชอ่ื ยอหน์

ข้อศึกษาวิพากษ์
อุปมาสามเร่อื งท่ตี ามมานัน้ เป็นการกล่าวกบั หัวหน้าสมณะและผูอ้ าวุโสของศาสนายูดายโดยตรง โดย

เป็นคาตอบของพระเยซูเจา้ ต่อคาทา้ ทายของพวกเขา (21:28, 33; 22:1 เทยี บ ลก. 14:15; 20:9)
สาหรบั รปู แบบของบทสนทนาหน่วยน้ี ขอใหด้ ขู อ้ มลู ดา้ นล่างทเ่ี กย่ี วกบั 21:33-45 ส่วนอุปมาเรอ่ื งน้ีซง่ึ ดู

มเี อกลกั ษณ์ของนักบุญมทั ธวิ และเตม็ ไปดว้ ยคาศพั ท์ สไตล์ และแนวคดิ แบบของนักบุญมทั ธวิ น้ี ท่านน่าจะเป็น
ผูเ้ ขยี นเอง เพ่อื ใหเ้ ป็นบทนาสาหรบั คาพูดตามธรรมประเพณีดงั้ เดมิ (Traditional saying) ซ่งึ พบในอกี รูปแบบ
หน่ึงคอื ลก. 7:29-30 และนักบุญมทั ธวิ เป็นผูเ้ รม่ิ ใช้ในฐานะคากล่าวแสดงความหนักแน่นของสงิ่ ท่พี ูด (Amen
Saying) ใน 31ข – 32 (เทยี บ 5:18)

นักบุญมัทธิวอาจจะรู้จกั คากล่าวตามธรรมประเพณีเก่ียวกับเร่อื งบุตรสองคน เช่น ใน ลก. 15:11-32
นอกจากการแสดงแนวคดิ แบบนกั บุญมทั ธวิ โดยทวั่ ไปทว่ี า่ พระเจา้ ตอ้ งการใหเ้ ราแสดงการกระทา ไม่ใช่คาพดู ท่ี
วา่ งเปล่า (7:29-30) ความหมายทเ่ี จาะจงในบรบิ ทน้ีคอื แต่เดมิ ผนู้ าชาวยวิ กล่าวยอมรบั สารทเ่ี ป็นคาพยากรณ์จาก

474

พระเป็นเจา้ ซ่งึ นักบุญยอหน์ เป็นผปู้ ระกาศ นักบุญมทั ธวิ ยงั ไม่ลมื ว่าท่านไดใ้ หภ้ าพของประชากรชาวเยรซู าเลม็
ออกไปนอกเมอื งเพ่อื ฟังคาเทศนาของนักบุญยอหน์ (3:5-7ก) ซง่ึ รวมทงั้ ชาวฟารสิ แี ละชาวสะดุสี แต่คนสองกลุ่มน้ี
ไม่ยอมรบั สารนนั้ และไม่ยอมกลบั ใจ สว่ นผทู้ ่เี คยปฏเิ สธน้าพระทยั ของพระเป็นเจา้ ในหนังสอื ปัญจบรรพ คอื คน
เกบ็ ภาษแี ละโสเภณี ไดเ้ ปลย่ี นใจและยอมรบั สารของนกั บุญยอหน์

เม่อื พระเยซูเจา้ ทรงถามว่า “ทา่ นคดิ อย่างไร” (21:28) พระองคไ์ ม่ทรงยอมใหพ้ วกเขาใชก้ ลวธิ เี งยี บเหมอื น
ท่ีเคยทามา คาถามนัน้ เป็นเร่อื งของบุคคลท่ีอยู่ในเร่อื ง มนั จึงเป็นคาถามทางอ้อม และพวกเขาไม่สามารถ
หลกี เลย่ี งดว้ ยการไม่ตอบ และเมอ่ื คนเหล่าน้ซี ง่ึ ต่อมาจะนงั่ ในตาแหน่งผตู้ ดั สนิ ผพู้ พิ ากษาพระเยซูเจา้ ตอบคาถาม
นนั้ กเ็ ท่ากบั วา่ พวกเขาตดั สนิ ลงโทษตนเองไปแลว้ ความพยายามทจ่ี ะวางกบั ดกั พระเยซูเจา้ จงึ สง่ ผลใหพ้ วกเขา
ประณามตนเอง

มทั ธวิ 21:33-46 สวนองนุ่ ของพระเจา้ ถกู มอบใหผ้ อู้ ่นื

อปุ มาเรื่องคนเช่าสวนชวั่ ร้าย7
33 “ท่านทงั้ หลาย จงฟังอุปมาอีกเร่อื งหน่ึงเถิด คหบดีผู้หน่ึงปลูกองุ่นไว้สวนหน่ึง ทารวั้ ล้อม ขุดบ่อย่าองุ่น สร้างหอเฝ้า ให้
ชาวสวนเช่า แลว้ กอ็ อกเดนิ ทางไปต่างเมอื ง 34 เม่อื ใกลถ้ งึ ฤดเู กบ็ ผล เจา้ ของสวนจงึ ใหผ้ ูร้ บั ใชไ้ ปพบคนเช่าสวนเพ่อื รบั ส่วนแบ่ง
จากผลผลติ 35 แต่คนเช่าสวนไดจ้ บั คนใช้ ทุบตคี นหน่ึง ฆา่ อกี คนหน่ึง เอาหนิ ทุ่มอกี คนหน่ึง 36 เจา้ ของสวนจงึ ส่งผูร้ บั ใชจ้ านวน
มากกว่าพวกแรกไปอกี คนเช่าสวนกท็ ากบั พวกน้ีเช่นเดยี วกนั 37 ในท่สี ุด เจา้ ของสวนได้ส่งบุตรชายของตนไปพบคนเช่าสวน
คดิ ว่า ‘คนเชา่ สวนคงจะเกรงใจลูกของเราบา้ ง’ 38 แต่เมอ่ื คนเช่าสวนเหน็ บุตรเจา้ ของสวนมา กพ็ ดู กนั ว่า ‘คนน้ีเป็นทายาท เราจง
ฆา่ เขาเสยี เถดิ เราจะไดม้ รดกของเขา’
39 “เขาจงึ จบั บุตรเจา้ ของสวน นาตวั ออกไปนอกสวนแลว้ ฆ่าเสยี 40 ดงั น้ี เม่อื เจ้าของสวนมา เขาจะทาอย่างไรกบั คนเช่าสวน
พวกนัน้ ” 41 บรรดาผูฟ้ ังตอบว่า “เจา้ ของสวนจะกาจดั พวกใจอามหติ น้ีอย่างโหดเหย้ี ม และจะยกสวนใหค้ นอ่นื เช่า ซง่ึ จะแบ่งผล
คนื ใหเ้ ขาตามกาหนดเวลา” 42 พระเยซเู จา้ จงึ ตรสั วา่ “ท่านมไิ ดอ้ ่านในพระคมั ภรี ห์ รอื วา่

หนิ ทชี่ า่ งกอ่ สรา้ งท้งิ เสยี นนั้
ไดก้ ลายเป็นศลิ าหวั มมุ
องคพ์ ระผเู้ ป็นเจา้ ไดท้ รงกระทาเชน่ นนั้
เป็นทนี่ ่าอศั จรรยแ์ ก่เรายงิ่ นกั
43 “ดงั นนั้ เราบอกทา่ นวา่ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ จะถกู ยกจากท่านทงั้ หลาย ไปมอบใหแ้ ก่ชนชาตอิ น่ื ทจ่ี ะทาใหบ้ งั เกดิ ผล”
44 “ผใู้ ดตกบนศลิ าน้ี ผนู้ นั้ จะแหลกเป็นช้นิ ๆ ถา้ หากศลิ านนั้ ตกทบั ผใู้ ด ผนู้ นั้ จะถกู บดขย้”ี
45 เมอ่ื บรรดาหวั หน้าสมณะและชาวฟารสิ ไี ดย้ นิ อุปมาเหล่าน้ีกเ็ ขา้ ใจวา่ พระองคต์ รสั ถงึ พวกเขา 46 จงึ พยายามจบั กุมพระองค์
แตย่ งั เกรงประชาชน เพราะประชาชนนบั ถอื พระองคเ์ ป็นประกาศก

475

ข้อศึกษาวิพากษ์

ยงั คงเป็นทโ่ี ตเ้ ถยี งกนั ว่ามอี ปุ มาเร่อื งน้ี แต่เดมิ ทไ่ี ม่ใช่นิทานเปรยี บเทยี บจากพระเยซูเจา้ ในอดตี หรอื ไม่

รปู แบบของเรอ่ื งราวน้ีในพระวรสารนักบุญมาระโกถูกตคี วามว่าเป็นนิทานเปรยี บเทยี บถงึ การท่ีชนชาตอิ สิ ราเอล

ปฏเิ สธประกาศกของพระเป็นเจา้ และสุดท้ายได้ปฏเิ สธพระบุตรของพระเป็นเจา้ ด้วย ส่งผลให้ชาตอิ สิ ราเอลถูก

แทนท่โี ดย “ผอู้ ่นื ” (มก. 12:1-12) นักบุญมทั ธวิ ทาใหอ้ ุปมาน้ีเป็นเร่อื งทอ่ี ย่ตู รงกลางในคาตอบเชงิ อุปมาสามชนั้

ของพระเยซูเจา้ ทก่ี ล่าวกบั หวั หน้าสมณะและผอู้ าวุโส ทาใหล้ กั ษณะของความเป็นนิทานเปรยี บเทยี บนัน้ คมชดั

ยง่ิ ขน้ึ และยาวขน้ึ ในบรบิ ททเ่ี ป็นพระวรสารนักบุญมทั ธวิ นอกจากน้ีนักบุญมทั ธวิ ยงั เปลย่ี นโครงสรา้ งของอุปมา

เรอ่ื งน้ใี หมเ่ พอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั อปุ มาก่อนหน้าน้ี

21:28ก คาพดู นาของพระเยซูเจา้ 21:33ก

21:28ข อปุ มา 21:33ข—39

21:31ก คาถามของพระเยซูเจา้ 21:40

21:31ข คาตอบของพวกเขาทเี่ ป็นการกลา่ วโทษตนเอง 21:41

21:31ค คาประกาศตดั สนิ ลงโทษของพระเยซูเจา้ ซงึ่ เป็นสว่ นสรุปจบ 21:42-43 [44]

ทงั้ สองอปุ มาเรอ่ื งน้ีมอี งคป์ ระกอบทพ่ี บไดท้ วั่ ไปคอื สวนองุน่ และบุตรชาย และแนวคดิ เรอ่ื งการทาตามน้า

พระทยั ของพระเป็นเจา้ (ไมใ่ ชแ่ คอ่ า้ งวา่ ทา)

21:33 นกั บุญมทั ธวิ ระบุวา่ “ชายผหู้ น่ึง” (Man) ในพระวรสารนกั บุญมาระโกคอื “เจา้ ของทด่ี นิ ” (Landowner

มาจากภาษากรกี คือ oikodespotes เช่นเดียวกับใน 13:52; 20:1) ดงั นัน้ จึงทาให้ความหมายเก่ียวกับตัวเขาท่ีเป็ นเชิงนิทาน

เปรยี บเทยี บเหน็ ไดช้ ดั เจนตามเจตนาของนักบุญมทั ธวิ คอื เจา้ นายผเู้ ป็นเจา้ ของสวนองุน่ คอื พระเป็นเจา้ (ว. 40)

สว่ นรวั้ เครอ่ื งคนั้ น้าองนุ่ และหอเฝ้ายามเป็นอุปกรณ์มาตรฐานทวั่ ไปของสวนองนุ่ และไมไ่ ดถ้ ูกนามาเปรยี บเทยี บ

ถงึ สงิ่ ใด สวนองุ่นแห่งน้ีกระตุ้นให้เราคดิ ถงึ ภาพของ อสย. 5:1-7 เช่นเดยี วกบั ภาษาท่อี ยู่ในพระวรสารนักบุญ

มาระโก ทน่ี กั บุญมทั ธวิ นามาเรยี บเรยี งใหม่เลก็ น้อย เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือหาในหนงั สอื ประกาศกอสิ ยาหท์ อ่ี ยู่

ในพระคมั ภรี ฉ์ บบั 70 (LXX) ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ว่านกั บุญมทั ธวิ มองว่าสวนองนุ่ คอื อสิ ราเอลเชน่ ใน อสย 5:7 แต่การ

ทน่ี กั บุญมทั ธวิ เตมิ ว. 43 ลงไป ทาใหส้ วนองนุ่ แห่งน้หี มายถงึ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้

21:34 นักบุญมทั ธวิ เตมิ คาว่า “ฤดูกาลของผล” (the Season of Fruits / ho kairos ton karpon; ทงั้ ฉบบั NIV และ NRSV ทาให้

เราเห็นการท่ีนักบุญมทั ธวิ อ้างอิงถึงคาว่า “ผล” (Fruits) ซ้าๆ กนั ได้ไม่ชดั เจน ท่านพูดถึงคาน้ีถึง 2 ครงั้ ในตาแหน่งน้ีและอีกครงั้ หน่ึงใน ว. 41)

สาหรบั การใช้คาว่า “ผล” เป็นคาหลกั ท่ีส่อื ถึง “กิจการดี” ขอให้ดูข้อศึกษาวพิ ากษ์เก่ียวกบั 21:18-22 ในท่ีน้ี

แตกต่างจากพระวรสารนกั บุญมาระโก ซง่ึ เจา้ ของทด่ี นิ ตอ้ งการเพยี งสว่ นแบ่งทต่ี กลงกนั เอาไวต้ ามสญั ญาเท่านนั้

ในทน่ี ้ี เขาตอ้ งการผลไมท้ งั้ หมดอยา่ งดไู มค่ อ่ ยสมจรงิ นกั เน่อื งจากความหมายเชงิ เปรยี บเทยี บนนั้ มพี ลงั มากกวา่

ความเป็นจรงิ ตามประวตั ศิ าสตร์ คอื การอา้ งสทิ ธขิ ์ องพระเป็นเจา้ นนั้ ตอ้ งหมายรวมถงึ ทุกสง่ิ ทกุ อย่าง

21:35-36 เร่อื งราวของบุคคล 3 คนในพระวรสารนักบุญมาระโกท่ถี ูกปฏิบตั อิ ย่างเลวร้ายลงเร่อื ยๆ และ

ตามมาดว้ ยคาว่า “อกี หลายคน” ถูกเปลย่ี นโดยนักบุญมทั ธวิ ใหเ้ ป็นเรอ่ื งของทาส 2 กลุ่มทเ่ี จา้ ของสวนองุน่ สง่ มา

เน่ืองจากเหน็ ไดช้ ดั ว่าทาสในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ เป็นการเปรยี บเทยี บถึงประกาศกทพ่ี ระเป็นเจา้ ส่งมาใหช้ น

ชาตอิ สิ ราเอลทข่ี บถดอ้ื ดงึ การมี 2 กลุม่ น่าจะหมายถงึ ประกาศกรนุ่ ก่อนและประกาศกรนุ่ หลงั ทอ่ี ยใู่ นพระคมั ภรี ์

21:37-39 หลังจากทาสหลายคนถูกทาร้ายและฆ่า เจ้าของสวนองุ่นจึงตัดสินใจส่งบุตรชายของตนมา

เน่ืองจากเร่อื งราวน้ียากทจ่ี ะจนิ ตนาการว่าเป็นภาพความเป็นจรงิ นกั บุญมทั ธวิ เขา้ ใจดวี ่าการสง่ บุตรชายเจา้ ของ

476

สวนองุ่นเป็นการเปรยี บเทียบถึงโชคชะตาของพระเยซูเจ้า ผู้ซ่ึงพระเป็นเจ้าส่งมาเป็นจุดสูงสุดของบรรดา
ประกาศกหลายคนทถ่ี ูกปฏเิ สธ เม่อื คนเช่าสวนตดั สนิ ใจฆ่าบุตรชายและครอบครองสวนองุ่นนัน้ เอง การกระทา
ของพวกเขาอาจพอเช่อื ไดว้ ่าเป็นจรงิ เมอ่ื เราพจิ ารณาถงึ กฎหมายของสมยั นนั้ (การเป็นเจา้ ของตดั สนิ จากการครอบครอง)
และความเห็นใจท่มี ตี ่อผู้คนสามญั ท่เี จ้าของท่ดี นิ หายตวั ไป แต่ในท่นี ้ี ก็เช่นกนั ท่เี หน็ ได้ชดั ว่าความหมายเชงิ
เปรยี บเทยี บโดดเด่นกว่าความเป็นจรงิ ทางประวัตศิ าสตร์ ผเู้ ช่าสวนคอื ตวั แทนของผนู้ าอสิ ราเอลทข่ี บถด้อื ดา้ น
และวางแผนจะสงั หารพระเยซูเจา้ ในอุปมาท่เี ป็นนิทานเปรยี บเทยี บ ประวตั ศิ าสตร์ไม่สามารถหยุดยงั้ นักบุญ
มทั ธวิ และท่านสามารถทาให้ผู้นาศาสนายูดายเป็นผู้ท่ตี ้องรบั ผดิ ชอบทงั้ หมด ไม่มบี ุคคลท่สี ามท่เี ขาจะส่งตวั
บตุ รชายไปประหารชวี ติ นกั บุญมทั ธวิ เปลย่ี นลาดบั เรอ่ื งในพระวรสารนกั บุญมาระโก ซง่ึ บตุ รชายของเจา้ ของสวน
ถูกฆ่าก่อน จากนัน้ กถ็ ูกนาไปโยนไวน้ อกสวน ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ เขาถูกจบั ไปนอกสวนก่อนแลว้ จงึ ถูก
ฆ่า ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั เหตุการณ์พระมหาทรมานจรงิ (27:32) และเป็นการแสดงใหเ้ หน็ อกี ครงั้ หน่ึงว่าอุปมาน้ีไดร้ บั
อทิ ธพิ ลจากการตคี วามแบบนทิ านเปรยี บเทยี บ

21:40-41 เจา้ ของทด่ี นิ กลายเป็น “พระเป็นเจา้ ” (Lord) (จากคาว่า oikodespotes ใน 21:33 เปล่ยี นเป็น kyrios ใน 21:40 ดู
เทยี บกบั การเปลย่ี นแปลงลกั ษณะเดยี วกนั ใน 20:1; 8) นักบุญมทั ธวิ เปลย่ี นแปลงคากรยิ าทร่ี บั มาจากพระวรสารนักบุญมาระ
โกเพอ่ื ใหพ้ ระเป็นเจา้ “เสดจ็ มา” (Come) เหมอื นกบั ในเหตุการณ์เสดจ็ กลบั มาครงั้ ทส่ี องของพระเยซคู รสิ ต์ (เช่นใน
25:31) ในจดุ น้ี นกั บุญมทั ธวิ นารปู แบบจากพระวรสารนักบุญมาระโกมาวางโครงสรา้ งใหม่ โดยใหพ้ ระเยซูเจา้ ทรง
ตงั้ คาถาม (เช่น ใน ว. 28 และในตารางขา้ งตน้ ) ซง่ึ จะทาใหผ้ นู้ าศาสนายดู ายกลา่ วตดั สนิ โทษตนเอง (ดู เทยี บ 2ซม 12:7; 14:12-
13) อกี ครงั้ หน่ึง เชน่ เดยี วกบั ในเรอ่ื งเลา่ สว่ นทผ่ี ่านมา พวกเขาประกาศวา่ พระเป็นเจา้ จะทาลายผเู้ ชา่ สวนทช่ี วั่ รา้ ย
และมอบสวนองนุ่ นนั้ ใหผ้ เู้ ช่าอ่นื นกั บุญมทั ธวิ เขา้ ใจว่าสงิ่ น้ีหมายถงึ การทาลายกรุงเยรซู าเลม็ และการเตบิ โตของ
ครสิ ตจกั รซง่ึ ประกอบดว้ ยชาวยวิ และชนตา่ งศาสนาเขา้ มาแทนทช่ี นชาตอิ สิ ราเอลทไ่ี ม่ยอมเชอ่ื จากนนั้ เขาไดเ้ ตมิ
คาท่ที าให้คาประกาศนัน้ ย้อนกลบั มาสู่ขอ้ กล่าวหาหลกั คอื “ผู้เช่าสวน” ท่ีไม่ยอมให้ “ผล” (การทาสง่ิ ท่แี สดงความ
ยตุ ธิ รรม) แกพ่ ระเป็นเจา้ ของพวกเขา ตามทพ่ี ระองคท์ รงเรยี กรอ้ ง

21:42 คาประกาศสุดทา้ ยของพระเยซูเจา้ (ดู เทยี บ โครงสรา้ งดา้ นบน) เรมิ่ ตน้ ดว้ ยการยกขอ้ ความแบบคาต่อคา
จากพระวรสารของนกั บุญมาระโกผซู้ ง่ึ ทาตาม สดด. 118:22-23 ในพระคมั ภรี ฉ์ บบั 70 (ดู เทยี บ การใช้ สดด. 118:25-26
ใน มธ. 21:9) “ทา่ นไมเ่ คยอ่านในพระคมั ภรี ห์ รอื ” เป็นสานวนทน่ี กั บุญมทั ธวิ ชอบใชบ้ ่อยๆ (12:3, 5; 19:4; 21:6; 22:31) ซง่ึ
ดดั แปลงมาจากพระวรสารนกั บุญมาระโก (ดู เทยี บ 2:25; 12:10, 26) และเป็นการเพม่ิ การตดั สนิ ลงโทษตนเองของผทู้ ร่ี ู้
เน้ือหาพระคมั ภรี ใ์ หม้ ากขน้ึ ดว้ ย (2:4-5) อปุ มาเรอ่ื งน้ีจบลงทค่ี วามตายของบุตรชาย และในทน่ี ้ี ครสิ ตจกั รสมยั หลงั
การกลบั คนื พระชนมช์ พี กไ็ ดใ้ สก่ ารทพ่ี ระเป็นเจา้ แสดงความบรสิ ทุ ธขิ ์ องเขา (การกลบั ฟ้ืนคนื ชพี )

21:43 วรรคน้ีนกั บุญมทั ธวิ เตมิ เขา้ มา เหน็ ไดช้ ดั ว่าท่านเป็นผเู้ ขยี นเอง มนั แสดงถงึ ประเดน็ ปัญหาดา้ นการ
ตคี วามของบทอา่ นน้ี (และอาจหมายถงึ การตคี วามของนกั บญุ มทั ธวิ ดว้ ย) ขอใหด้ ขู อ้ คดิ ไตรต่ รอง ดา้ นล่าง

21:44 เป็นขอ้ ความท่ไี ม่ได้ปรากฏอยู่ในต้นฉบบั พระคมั ภรี ์จานวนมาก (D, 33, it, sys) และถูกละเว้นในการ
อา้ งองิ ขอ้ ความจากเน้ือหาสว่ นน้ีของยเู ซเบยี ส ผเู้ ป็นบดิ าแห่งประวตั ศิ าสตรค์ รสิ ตจกั ร ครงั้ หน่ึงมผี คู้ ดิ ว่ามนั เป็น
คาอธบิ ายของธรรมาจารยผ์ เู้ ขยี นพระวรสาร (Scribal Gloss) ซง่ึ ยกมาจาก ลก 20:18 (ดู เทยี บ ฉบบั RSV และ NEB แต่
ยงั คงไม่มใี นฉบบั REB ส่วนในฉบบั NAB มนั ถูกใส่เป็นวงเลบ็ ไวว้ า่ เป็นสว่ นทเ่ี ตมิ เข้ามาภายหลงั ) แต่การประเมนิ ในสมยั หลงั ดจู ะมองว่า
มนั เป็นส่วนหน่ึงในงานเขยี นดงั้ เดมิ ของนักบุญมทั ธวิ อยู่แลว้ ซ่งึ สอดคล้องกบั จนิ ตภาพของศลิ าใน ว. 42 และ

477

เช่อื มโยงกบั ภาพพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ในฐานะศลิ าอนั ยง่ิ ใหญ่ เช่นเดยี วกบั ใน ดนล. 2:44 หากวรรคน้ี
ถูกเตมิ เพม่ิ เข้ามาเป็นวรรครอง ตามปกตแิ ลว้ ก็น่าจะปรากฏภายหลงั ว. 42 แต่ถ้าหากว่ามนั มอี ยู่แล้วในฉบบั
ดงั้ เดมิ ตาแหน่งปัจจุบนั กแ็ สดงใหเ้ หน็ ว่านักบุญมทั ธวิ เหน็ ความสาคญั ของ ว. 43 เพราะท่านต้องทาลายความ
เชอ่ื มต่อระหวา่ ง ว. 42 กบั 44 ดว้ ยการเตมิ วรรคน้ีเขา้ มา หากมนั มอี ย่แู ลว้ ในฉบบั ดงั้ เดมิ ว. 44 จะทาหน้าทเ่ี พมิ่
ความรุนแรงของคาตดั สนิ ทแ่ี สดงออกมาในอุปมาเร่อื งน้ีและใน ว. 43 ศลิ า/พระอาณาจกั ร/พระบุตร ผซู้ ่งึ สมควร
ต้องเป็นพระผูไ้ ถ่และพระเป็นเจ้า กลบั ถูกมองว่าเป็นสงิ่ อนั ตรายน่ากลวั สาหรบั ผูท้ ่ศี ลิ านัน้ ทาใหส้ ะดุดล้มหรอื
สะดดุ ลม้ ลงเพราะศลิ านนั้

21:45-46 ดูเหมอื นว่าชาวฟารสิ จี ะถูกรวมอย่ใู นกลุ่มมหาสมณะและผอู้ าวุโสตลอด (ดู เทยี บ 21:15; 23; 22:14-15)
พวกเขาเป็นตวั แทนของกลุ่มผทู้ ต่ี ่อตา้ นนกั บุญมทั ธวิ ในสมยั หลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี การเป็นพนั ธมติ รอยา่ ง
ประหลาดของกลุ่มผนู้ าชาวยวิ คงทาตามความปรารถนาเดมิ คอื การจบั กุมพระเยซูเจา้ โดยทนั ที ถา้ ไม่มฝี งู ชนท่ี
มอง (อย่างถูกต้อง )ว่าพระเยซูเจ้าเป็ นประกาศก (ดู เทียบ 21:11, 24-26) ซ่ึงเป็ นการแสดงให้เห็นอีกครงั้ ว่าฝูงชนมี
อทิ ธพิ ลต่อความเป็นไปของเหตุการณ์ ซ่งึ ส่งผลใหฝ้ งู ชนมคี วามผดิ มากขน้ึ เม่อื พวกเขาไปเขา้ ขา้ งกลุ่มผนู้ าและ
เรยี กรอ้ งความตายใหพ้ ระเยซูเจา้ (27:24-26)

ข้อคิดไตร่ตรอง
ใครคอื “พวกทา่ น” ทจ่ี ะถกู พรากพระอาณาจกั รไป? ใครคอื “ชนชาต”ิ ทจ่ี ะไดร้ บั มนั ในบรบิ ทน้ีเหน็ ไดช้ ดั

ว่าเป็นการพดู กบั มหาสมณะและชาวฟารสิ ี (กลุ่มหลงั ถูกใสเ่ พม่ิ เขา้ มาโดยนักบุญมทั ธวิ ) กล่าวคอื กลุ่มผนู้ าในศาสนายดู าย
ไมไ่ ดห้ มายถงึ ประชากรทงั้ หมด ดงั นนั้ นกั วชิ าการบางคน (เชน่ ซอลดารนิ ี และแฮรงิ ตนั : Saldarini and Harrington) จงึ โตเ้ ถยี ง
วา่ ในทน่ี ้แี ละในทอ่ี ่นื ๆ นกั บุญมทั ธวิ แคป่ ระกาศวา่ พระเป็นเจา้ จะแทนทก่ี ลุ่มผนู้ าเทจ็ เทยี มดว้ ยกลุ่มผนู้ าทม่ี คี วาม
เช่อื การมองเช่นน้ีทาใหเ้ ราตอ้ งทาความเขา้ ใจกบั คาว่า “ชนชาต”ิ (nation/ethnos ซง่ึ เป็นคาทใ่ี ชส้ อ่ื ถงึ กลุ่มคนนอกศาสนายดู าย
ดว้ ย) แบบตา่ งจากเดมิ คอื หมายถงึ ผนู้ ากลุ่มใหมข่ องอสิ ราเอล แต่การตคี วามแบบทเ่ี ป็นธรรมชาตมิ ากกว่าคอื มอง
ว่า “ethnos” หมายถงึ “ชนชาต”ิ หรอื “ประชาชน” เพ่อื (เช่น ใน 1ปต 2:9) ผทู้ พ่ี ระเป็นเจา้ ทรงมอบพระอาณาจกั รให้
หมายถงึ ประชาชนทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงฟ้ืนฟูขน้ึ ใหม่ ครสิ ตจกั รทม่ี ที งั้ ชาวยวิ และชนต่างศาสนามารวมตวั กนั พวก
เขาถูกเรยี กแทนทช่ี นชาตอิ สิ ราเอลทไ่ี มซ่ ่อื สตั ยต์ ่อพระองค์ แต่ชาวครสิ ตจ์ านวนมากในประวตั ศิ าสตรเ์ ตม็ ใจทจ่ี ะ
ตคี วามเน้ือหาส่วนน้ีในความหมายดงั กล่าวมากเกนิ ไป จนกลายเป็นเชอ้ื เพลงิ ใหก้ บั ขบวนการต่อต้านศาสนายู
ดายและต่อต้านชาวยวิ ปัจจุบนั น้ีมชี าวครสิ ต์หลายคนลงั เลท่ีจะตีความเน้ือหาส่วนน้ีในแบบใดๆ ท่ีเป็นการ
ส่งเส ริม ค ว าม เข้าใจท่ีผิด เก่ีย ว กับ ก ารม อ งว่าก ลุ่ ม ห น่ึ งถู ก น าเข้าม าแท น ท่ี เพ ราะเห นื อ ก ว่าอีก ก ลุ่ ม ห น่ึ ง
(Supersessionism) หรอื มองว่าพระเป็นเจา้ ปฏเิ สธอสิ ราเอลและนาครสิ ตจกั ร (ซง่ึ มที งั้ ชาวยวิ และชนต่างศาสนา) เขา้ มา
แทนท่ีในฐานะประชากรของพระเป็ นเจ้า แต่ไม่ว่าจะเป็ นความผิดพลาดในอดีตหรือความรู้สึกเกรงใจใน
สมั พนั ธภาพระหวา่ งชาวครสิ ตแ์ ละชาวยวิ ในปัจจุบนั กไ็ ม่ควรหา้ มเราจากการมองว่านกั บุญมทั ธวิ หมายความว่า
อย่างไร เขากห็ มายความว่าอย่างนัน้ ถ้าเขาเช่อื ว่าพระเป็นเจ้าปฏเิ สธพระเยซูเจ้า ในฐานะผูท้ ่ถี ูกเลอื กให้เป็น
ประชากรของพระเป็นเจ้าและแทนท่พี วกเขาด้วยครสิ ตจกั รท่ปี ระกอบด้วยผู้คนจากชนชาติต่างๆ ซ่ึงรวมถึง
ชาวยิวด้วย เราก็ควรยอมรบั มันเพ่ือเห็นแก่ความซ่ือสัตย์ต่อความจริงในประวัติศาสตร์ การตีความเชิง
ประวตั ิศาสตร์อาจมองว่าส่ิงน้ีคือมุมมองของนักบุญมทั ธิว แม้ว่าเราอาจไม่ยอมให้มุมมองของท่านท่ีได้รบั

478

ผลกระทบจากสถานการณ์ในสมยั นัน้ มามอี ทิ ธพิ ลเหนือมุมมองของเรา ซ่งึ ไม่ได้ขอ้ มูลจากเน้ือหาน้ีเพยี งอย่าง
เดยี ว แตจ่ ากทรรศนะอ่นื ๆ ในสารบบดว้ ย เชน่ จดหมายของนกั บญุ เปาโล ผซู้ ง่ึ เป็นชาวยวิ อกี คนหน่งึ ทก่ี ลายเป็น
ชาวครสิ ตแ์ ละมองเหน็ แผนการทย่ี งิ่ ใหญ่กวา่ ของพระเป็นเจา้ ในการโอบอมุ้ ทงั้ อสิ ราเอลและครสิ ตจกั ร (รม 9-11)

แต่ถงึ อย่างไรกต็ าม เน้ือหาส่วนน้ีไม่ไดพ้ ดู อย่างเปิดเผยตรงไปตรงมาว่าอสิ ราเอลถูกพระเป็นเจา้ ปฏเิ สธ
แต่กล่าวว่า “พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้า” กาลงั ถูกพรากไปจาก “พวกท่าน” ในมุมมองของนักบุญมทั ธวิ
กิจการช่วยเหลือมนุษย์ให้รอดพ้นของพระเป็ นเจ้ายังคงดาเนินต่อไปในชุมชนท่ียอมแบก “แอกแห่งพระ
อาณาจกั ร” ซ่งึ หมายความตามหนังสอื ปัญจบรรพว่ากจิ การของพระองค์ถูกทาให้สมบูรณ์โดยทางพระเยซูเจ้า
(เทยี บ 5:17-48;28:20 และบทเสรมิ เร่อื ง “พระอาณาจกั รสวรรค์ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ”) นักบุญมทั ธวิ เองกเ็ หมอื นกบั ผูอ้ ่านในยุค
สมยั ใหม่ทต่ี อ้ งต่อสกู้ บั ปัญหาหน่ึง แต่คงเป็นปัญหาซง่ึ ยากท่ที ่านจะคลค่ี ลายไดด้ ว้ ยความกระจ่างทเ่ี กดิ จากการ
วางระบบและความสอดคล้องสม่าเสมอ เหมอื นกบั ท่ีผู้อ่านในปัจจุบนั สามารถทาได้ แต่ถึงแม้ว่าความหมาย
โดยตรงยงั คงไม่ชดั เจนทงั้ หมดนัก ผอู้ ่านสมยั ใหม่กค็ วรมสี ทิ ธทิ จ่ี ะถามตนเองว่าพวกเขาสรา้ งอานาจสงู สุดเทจ็
เทยี มใดๆ มาแทนท่พี ระเป็นเจา้ หรอื ไม่ และถา้ เป็นเช่นนัน้ พวกเขากร็ วมอย่ใู นกลุ่มของ “พวกท่าน” ทก่ี าลงั ถูก
พรากพระอาณาจกั รไป

มทั ธวิ 22:1-14 งานววิ าห์ (เลย้ี งอาหารทย่ี งิ่ ใหญ่)

อปุ มาเร่ืองงานวิวาหมงคล
1 พระเยซูเจา้ ทรงเล่าเป็นอุปมาอกี เรอ่ื งหน่ึงว่า 2 “อาณาจกั รสวรรคเ์ ปรยี บไดก้ บั กษตั รยิ พ์ ระองคห์ น่ึงซง่ึ ทรงจดั งานอภเิ ษกสมรส
ให้พระโอรส 3 ทรงส่งผูร้ บั ใช้ไปเรยี กผูร้ บั เชญิ ใหม้ าในงานววิ าห์ แต่พวกเขาไม่ต้องการมา 4 พระองค์จงึ ทรงส่งผูร้ บั ใช้อ่นื ไปอกี
รบั สงั่ ว่า ‘จงไปบอกผูร้ บั เชญิ ว่า บดั น้ีเราไดเ้ ตรยี มการเล้ยี งไวพ้ รอ้ มแลว้ ไดฆ้ ่าววั และสตั วอ์ ว้ นพแี ลว้ ทุกสงิ่ พรอ้ มสรรพ เชญิ มา
ในงานววิ าหเ์ ถดิ ’ 5 แต่ผรู้ บั เชญิ มไิ ดส้ นใจ คนหน่ึงไปทท่ี ุ่งนา อกี คนหน่ึงไปทาธุรกจิ 6 คนทเ่ี หลอื ไดจ้ บั ผรู้ บั ใชข้ องกษตั รยิ ์ ทารา้ ย
และฆา่ เสยี 7 กษตั รยิ ก์ รว้ิ จงึ ทรงส่งกองทหารไปทาลายฆาตกรเหล่านนั้ และเผาเมอื งของเขาดว้ ย 8 แลว้ พระองคต์ รสั แก่ผรู้ บั ใชว้ ่า
‘งานววิ าหพ์ รอ้ มแลว้ แต่ผรู้ บั เชญิ ไม่เหมาะสมกบั งานน้ี 9 จงไปตามทางแยก พบผใู้ ดกต็ าม จงเชญิ มาในงานววิ าหเ์ ถดิ ’ 10 บรรดา
ผรู้ บั ใชจ้ งึ ออกไปตามถนน เชญิ ทุกคนทพ่ี บมารวมกนั ทงั้ คนเลวและคนดี แขกรบั เชญิ จงึ มาเตม็ หอ้ งงานอภเิ ษกสมรส 11 กษตั รยิ ์
เสดจ็ มาทอดพระเนตรแขกรบั เชญิ ทรงเหน็ คนหน่ึงไมส่ วมเสอ้ื สาหรบั งานววิ าห์ 12 จงึ ตรสั แก่เขาวา่ ‘เพอ่ื นเอ๋ย ท่านไมไ่ ดส้ วมเสอ้ื
สาหรบั งานววิ าห์ แลว้ เขา้ มาทน่ี ่ีไดอ้ ย่างไร’ คนนนั้ กน็ ิ่ง 13 กษตั รยิ ์จงึ ตรสั สงั่ ผูร้ บั ใชว้ ่า ‘จงมดั มอื มดั เทา้ ของเขา เอาไปทง้ิ ในทม่ี ดื
ขา้ งนอกเถดิ ทน่ี นั่ จะมแี ต่การร่าไหค้ ร่าครวญ และขบฟันดว้ ยความขนุ่ เคอื ง 14 เพราะผรู้ บั เชญิ มมี าก แตผ่ รู้ บั เลอื กมนี ้อย’ ”

ข้อศกึ ษาวิพากษ์
พระเยซูเจา้ ทรงเล่าเร่อื งราวทน่ี ่าตกใจและรบกวนจติ ใจเก่ยี วกบั แขกทไ่ี ดร้ บั เชญิ มาร่วมงานเลย้ี งอาหาร

ค่าปฏเิ สธคาเชญิ ในนาทสี ดุ ทา้ ย เจา้ ภาพจงึ ไปรวบรวมผคู้ นตามถนนใหม้ าเป็นแขกในงานเลย้ี งซง่ึ พวกเขาไม่เคย
นึกฝันว่าจะไดม้ าร่วม เร่อื งราวน้ีถูกเล่าต่อกนั ไปในรูปแบบทห่ี ลากหลายในศาสนาครสิ ตส์ มยั แรกเรมิ่ (เอกสารแหล่ง

479

Q; ลก. 14:15-24; และพระวรสารนักบุญโทมสั 64 และในท่นี ้ี) แต่ละรูปแบบได้ถูกตีความและปรบั เปล่ยี นตามเทววทิ ยาของ
ผเู้ ขยี นแต่ละคน นักบุญมทั ธวิ นารปู แบบจากเอกสารแหล่ง Q มาดดั แปลง โดยนามาใส่ไวใ้ นบรบิ ทน้ีเพ่อื ใหเ้ ป็น
อุปมาพิพากษาเร่อื งสุดท้ายจากทัง้ หมด 3 เร่ือง (ดู บทนา ด้านบน) เช่นเดียวกับในเร่อื งอุปมาก่อนหน้าน้ี นัก
บุญมทั ธวิ นาการตคี วามแบบนิทานเปรยี บเทยี บเพมิ่ เขา้ ไปใส่ในเร่อื งราวน้ี ทาใหก้ ลายเป็นการเปรยี บเทยี บถงึ
ประวตั ศิ าสตรก์ ารไถ่กมู้ นุษยชาติ นบั ตงั้ แต่การสง่ ประกาศกต่างๆ มายงั ชนชาตอิ สิ ราเอล รวมถงึ คาเชอ้ื เชญิ ทถ่ี ูก
ฟ้ืนฟูขน้ึ ใหมผ่ ่านทางผปู้ ระกาศพระวรสารชาวครสิ ต์ และสรุปจบทเ่ี รอ่ื งการตดั สนิ พพิ ากษา แยกแยะคนดแี ละคน
เลวในครสิ ตจกั ร เร่อื งราวดงั้ เดิมท่ีเป็นงานเล้ยี งอาหารค่าถูกเปล่ยี นเป็นงานเล้ยี งฉลองของพระเมสสยิ าห์ท่ี
พระราชา (พระเป็นเจ้า) ทรงจดั ข้นึ ให้กบั บุตรชาย (พระเยซูเจ้า) แต่แขกท่ไี ด้รบั เชญิ ซ่ึงเคยตกลงกนั ไวว้ ่าจะมาร่วม
(อิสราเอล) งานเล้ยี งฉลองการแต่งงานนัน้ (ความรอดพ้น, งานฉลองของพระเมสสยิ าห์) แต่ต่อมากลบั ปฏิเสธคาเชิญครงั้
สดุ ทา้ ยทถ่ี ูกสง่ ไปผา่ นทางทาสกล่มุ แรก (ประกาศกชาวฮบิ ร)ู และทาสกล่มุ ทส่ี อง (ผปู้ ระกาศพระวรสารชาวครสิ ต์)

ดว้ ยการขยายสว่ นทม่ี ลี กั ษณะเป็นการเปรยี บเทยี บ นาไปรวมเป็นอปุ มาสองเรอ่ื งก่อนหน้าน้ี แลว้ วางไว้
ในตาแหน่งสุดทา้ ย นักบุญมทั ธวิ จงึ ทาใหเ้ ร่อื งราวน้ีเป็นจุดสูงสุดของชุดอุปมา 3 เร่อื ง เร่อื งแรกคอื อุปมาเร่อื ง
บุตรสองคน (21:28-32) มุ่งเน้นท่ี (ผเู้ ป็นมากกว่า) ประกาศกยอหน์ เรอ่ื งทส่ี องคอื เรอ่ื งสวนองนุ่ ของพระเป็นเจา้ ทจ่ี ะยก
ใหก้ บั ผอู้ ่นื (21:33-46) แสดงภาพบรรดาประกาศกทงั้ หมดในประวตั ศิ าสตรโ์ ดยมจี ุดสุดยอดอย่ทู ่พี ระเยซูเจา้ พระ
บุตรผถู้ ูกฆ่า ส่วนอุปมาเร่อื งทส่ี าม เป็นมุมมองแบบสมยั หลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี ของนักบุญมทั ธวิ เก่ยี วกบั
การเสดจ็ กลบั มาครงั้ ทส่ี องและการพพิ ากษาครงั้ สดุ ทา้ ย ดงั นนั้ อุปมาเรอ่ื งสดุ ทา้ ยน้ีจงึ เป็นการทาตามมมุ มองของ
เอกสารแหล่ง Q คอื แสดงภาพว่าประวตั ศิ าสตรก์ ารช่วยมนุษยใ์ หร้ อดพน้ เรม่ิ ตน้ จากการทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงเรยี ก
อสิ ราเอลในตอนแรกไปจนถงึ การตดั สนิ พพิ ากษาครงั้ สุดทา้ ย แลว้ ทาใหพ้ ระเยซูเจา้ กบั พระศาสนจกั รเป็นความ
ต่อเน่อื งของประกาศกชาวอสิ ราเอลทถ่ี กู ขม่ เหงและปฏเิ สธจากชนชาตอิ สิ ราเอล

สาหรบั 22:1 ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ อุปมาเรอ่ื งน้ีเป็นการกล่าวกบั บุคคลเดมิ เหมอื นกบั อุปมาเรอ่ื งก่อน
แต่ขอ้ ความน้ีเป็นการเจาะจงว่าพูดกับชาวฟารสิ ดี ว้ ย นักบุญมทั ธวิ เตมิ คาว่า “อกี ครงั้ หน่ึง” (palin / once more)
เพอ่ื เช่อื มอุปมาน้ีกบั อปุ มาก่อนหน้าน้ีเขา้ ดว้ ยกนั ประเดน็ อ่นื ๆ ทจ่ี ะกล่าวถงึ ต่อไปดา้ นล่างกเ็ ป็นการทาใหอ้ ปุ มา
น้ีผสานกลมกลนื ไปกบั อปุ มาอ่นื ๆ ก่อนหน้าน้ีเช่นกนั ซง่ึ หมายความวา่ เราไม่อาจตีความความหมายของอุปมาน้ี
ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ โดยมองแต่อุปมาน้ีเพยี งอยา่ งเดยี วเทา่ นนั้ แต่ตอ้ งดโู ครงสรา้ งของบทบรรยายเรอ่ื งซง่ึ
มอี ปุ มาน้เี ป็นสว่ นหน่งึ ทผ่ี สมรวมอยู่

สาหรบั 22:2 เน่ืองจากนักบุญมทั ธวิ เรมิ่ นาสญั ลกั ษณ์ความเป็นกษตั รยิ ใ์ สเ่ ขา้ ไปในอุปมาก่อนหน้าน้ี (21:43)
เพ่อื ให้สอดคล้องกนั จงึ เปล่ยี นคาว่า “ชายคนหน่ึง” (Man) ในเอกสารแหล่ง Q ผูจ้ ดั งานเล้ยี งอาหารค่าให้เป็น
กษตั รยิ ท์ ก่ี าลงั จดั งานฉลองแต่งงานใหก้ บั บุตรชาย สญั ลกั ษณ์ทเ่ี ป็นพ่อ/บุตรชายทาใหอ้ ุปมาทงั้ สามในหน่วยน้ี
เช่อื มโยงกนั พระอาณาจกั รสวรรค์ไม่เหมอื นกบั กษัตรยิ ์ แต่ถูกนามาเปรยี บเทียบกบั สถานการณ์ทงั้ หมดท่ี
เรอ่ื งราวน้ีบรรยายออกมา (ดู 13:1)

22:3 เรอ่ื งราวน้ีคาดเดาวา่ ผอู้ ่านรถู้ งึ ธรรมประเพณีสองขนั้ ตอนทม่ี บี นั ทกึ ไวใ้ นเอกสารคาสอนศาสนายดู าย
และเอกสารทท่ี าจากกระดาษปาปิรสั ในสมยั เฮเลนิสตกิ เกย่ี วกบั การเชญิ ไปงานเลย้ี งทม่ี ีการสง่ จดหมายเชญิ แจง้
ลว่ งหน้าเป็นเวลานาน และผรู้ บั เชญิ จะแสดงการตอบรบั คาเชญิ นนั้ ต่อมากจ็ ะมกี ารสง่ เอกสารเตอื นความจาอยา่ ง
สุภาพในวนั ท่มี กี ารจดั งานเล้ยี งนัน้ ในการตีความแบบนิทานเปรยี บเทยี บของนักบุญมทั ธวิ การเชญิ ครงั้ แรก

480

สอดคลอ้ งกบั การท่พี ระเป็นเจา้ ทรงเรยี กชนชาติอสิ ราเอลผูซ้ ่งึ ยอมรบั พนั ธสญั ญาของพระองค์ เช่นเดยี วกบั ใน
อุปมาก่อนหน้าน้ี (แต่อาจแตกต่างเร่อื งราวค่ขู นานจากทอ่ี ยู่ในพระวรสารนักบุญลูกา ซ่งึ เหมอื นกบั ในเอกสารแหล่ง Q มากกว่า) ทาสทถ่ี ูก
สง่ ไปกส็ อดคลอ้ งกบั ประกาศกชาวอสิ ราเอล ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ไม่มกี ารใหข้ อ้ แก้ตวั วา่ เหตุใดจงึ ไปไม่ได้
(แตใ่ นพระวรสารนกั บุญลกู าและพระวรสารนกั บุญโธมสั สญั ลกั ษณ์ของขอ้ แกต้ วั ถูกแบง่ ออกเป็นสก่ี ลมุ่ ) ผทู้ ไ่ี ดใ้ หค้ าสญั ญาวา่ จะไปรว่ มงาน
เล้ยี งฉลองเพยี งแต่ประกาศว่าตนเองไม่เต็มใจท่ีจะไปแล้ว (ในฉบบั NIV ใช้คาว่า “But they refused to come” [ouk ethelon
elthein]) การปฏเิ สธคาเชญิ ของกษตั รยิ ์ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ หลงั จากท่มี กี ารตกลงแล้วว่าจะไป ส่อื ให้เห็นถงึ การ
แอบคบคดิ กนั วางแผนกระทาผดิ และเทยี บไดก้ บั การขบถ (2ซมอ 10:4; Josephus Antiquities of the Jews 9.13.2)

22:4-6 ผู้เป็นกษัตรยิ ์นัน้ ใจเยน็ อดทน (เช่นเดียวกบั ในอุปมาก่อนหน้าน้ี) และไม่ตอบโต้ แต่ส่งทาสกลุ่มท่สี องไป
องค์ประกอบน้ีเป็ นลักษณะเฉพาะของพระวรสารนักบุญมัทธิว ซ่ึงจาเป็ นสาหรบั การตีความแบบนิทาน
เปรยี บเทยี บของท่าน เพราะมนั สอดคลอ้ งกบั ผปู้ ระกาศพระวรสารชาวครสิ ต์ ผรู้ บั เชญิ ไม่เพยี งแต่ปฏเิ สธเท่านัน้
แต่ยงั ทาร้ายและฆ่าผถู้ อื สารอกี ดว้ ย น่ีคอื หน่ึงในองคป์ ระกอบมากมายในเร่อื งทด่ี ูเป็นไปไม่ไดใ้ นความเป็นจรงิ
และช้ีให้เห็นถึงความหมายเชงิ นิทานเปรยี บเทียบ คอื ผู้ประกาศพระวรสารชาวครสิ ต์ได้ถูกฆ่าเช่นเดียวกบั
ประกาศกชาวอสิ ราเอลทซ่ี ่อื สตั ยต์ ่อพระเป็นเจา้ (ดู 23:34, 37)

22:7 องค์ประกอบน้ีไม่อาจเป็นความจรงิ ได้ ในขณะท่งี านเล้ยี งกาลงั รอคอยจะเรมิ่ ต้น กษัตรยิ ์ได้ทรงทา
สงครามและสงั หารผทู้ ด่ี หู มนิ่ และขบถต่อพระองค์ ทรงเผาบา้ นเมอื ง “ของพวกเขา” ซง่ึ โดยสนั นิษฐานแลว้ กน็ ่าจะ
เป็นบา้ นเมอื งของพระองคเ์ อง ในแงข่ องประวตั ศิ าสตร์ สง่ิ น้ีไม่เพยี งแต่เป็นการกระทาทเ่ี กนิ กว่าเหตุ แต่ยงั แทบ
เป็นไปไม่ไดเ้ ลยดว้ ย คาศพั ทท์ ใ่ี ชส้ ะทอ้ นถงึ แนวคดิ ทางเทวศาสตรข์ องนักบุญมทั ธวิ คาว่า “ทาลาย” (apollami /
Destroyed) เป็นคากรยิ าเดยี วกนั กบั ท่ใี ช้ใน 21:41 คาว่า “ฆาตรกร” สะท้อนถงึ มุมมองเดยี วกนั กบั 23:31, 35
นักบุญมทั ธวิ คดิ ในมุมมองของท่านเก่ยี วกบั ประวตั ศิ าสตร์การช่วยมนุษย์ให้รอดพ้น ไม่ใช่กษัตรยิ ์จรงิ ๆ ท่ที า
สงครามในขณะทง่ี านเลย้ี งฉลองกาลงั รออยู่ นกั วชิ าการสว่ นใหญ่มองว่าเป็นการท่ีนักบุญมทั ธวิ มองยอ้ นหลงั ไป
ถงึ การทก่ี รุงเยรซู าเลม็ ถูกทาลาย ซง่ึ เขา้ ใจว่าเป็นการพพิ ากษาลงโทษอสิ ราเอลทก่ี บฏต่อพระเป็นเจา้ และปฏเิ สธ
พระเมสสยิ าห์ แมว้ ่าบางคนจะอธบิ ายว่ามนั เป็นการท่ีนักบุญมทั ธวิ สะท้อนถงึ อสย. 5:24-25 แต่คาอธบิ ายน้ีก็
ไม่ได้จาเป็นต้องมคี วามหมายเช่นน้ีอย่างเดียว ถ้าหากมผี ู้มองเห็นอิทธพิ ลของหนังสอื ประกาศกอิสยาห์ใน
ขอ้ ความน้ี กไ็ ม่ไดเ้ ป็นหลกั ฐานทล่ี บลา้ งวนั เวลาและมมุ มองของนกั บญุ มทั ธวิ ในยคุ หลงั สงคราม 70

22:8-10 คนกลุ่มแรกท่กี บฏด้อื ด้านถูกตดั สนิ ลงโทษ แต่หอ้ งจดั งานเล้ยี งฉลองยงั คงว่างเปล่า ทาสกลุ่มท่ี
สามจงึ ถูกสง่ ออกมา ซง่ึ หมายถงึ ผปู้ ระกาศพระวรสารชาวครสิ ต์นนั่ เอง พวกเขามาพรอ้ มกบั คาเชญิ ใหม่ทแ่ี มแ้ ต่
คาศพั ทก์ ็สอดคลอ้ งกบั การมอบหมายพระมหาพนั ธกจิ (The Great Commission) ใน 28:18-20 คาเชญิ น้ีไม่ได้
จากดั อย่เู ฉพาะผทู้ ต่ี อบรบั คาเชญิ ครงั้ แรกอกี ต่อไป แต่เป็นการเชอ้ื เชญิ ทุกคน ผทู้ ถ่ี ูก “รวบรวมเขา้ มา” มที งั้ คนดี
และคนเลว ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั มมุ มองความเป็นจรงิ ของนกั บุญมทั ธวิ เกย่ี วกบั พระศาสนจกั รทงั้ หมดในอปุ มาอน่ื ๆ ท่ี
เป็นแบบเฉพาะของทา่ น (13:24-30; เทยี บกบั การตคี วามใน ว. 36-43; 13: 47-50)

22:11-13 ไม่ใช่เรอ่ื งอุปมาทแ่ี ยกต่างหาก แต่ทาหน้าทเ่ี ป็นสว่ นขยายของ 22:1-10 สว่ นขยายน้ีดจู ะเป็นงาน
เขยี นของนักบุญมทั ธวิ เอง เพราะมคี าศพั ท์และแนวคดิ ทางเทวศาสตรข์ องท่านแทรกซมึ อยู่ทวั่ ไป ไม่มรี ่องรอย
ของเน้ือหาส่วนน้ีในรปู แบบเร่อื งราวเดย่ี วกนั ทอ่ี ย่ใู นพระวรสารนักบุญลูกาและพระวรสารนักบุญโธมสั เลย และ
มนั กด็ ูเขา้ กนั ไม่ค่อยได้ เมอ่ื ใสต่ ามหลงั ว. 8-10 ผทู้ ถ่ี ูกตอ้ นจากถนนเขา้ ไปในงานเลย้ี งโดยไม่คาดฝันจะสวมชุด

481

ท่เี หมาะสมได้อย่างไร ดูเหมอื นทุกคนจะทาเช่นนัน้ ได้ ยกเว้นเพยี งคนเดยี ว ตรงน้ีก็เป็นอกี ครงั้ ท่เี ราต้องสละ
ความหมายแบบความเป็นจรงิ เพอ่ื ความหมายในทางเทวศาสตร์ ในศาสนาครสิ ตย์ ุคเรมิ่ แรก การกลบั ใจใหม่มกั
ถูกนาเสนอในภาพของการสวมใส่ชุดเสอ้ื ผา้ ใหม่ ภาษาทก่ี ล่าวถงึ การเปล่ยี นเสอ้ื ผา้ ถูกนามาใชแ้ สดงถงึ การสละ
วถิ ชี วี ติ แบบเก่าและสวมใสต่ วั ตนแหง่ ความเป็นครสิ ตชน (ดู รม 13:12-14; กท 3:27; อฟ 6:11; คส 3:12; ดเู ทยี บกบั ลก 15:22; วว
3-4; 6:11; 19:8) ในระดบั ของนิทานเปรยี บเทยี บ ชายผูน้ ัน้ ถูกคาดหวงั ใหม้ กี จิ การดแี บบชวี ติ ครสิ ตชนท่แี ท้จรงิ ซ่ึง
สอดคลอ้ งกบั “ผล” ทอ่ี ยใู่ นจนิ ตภาพของอุปมาก่อนหน้าน้ี แต่เม่อื พบว่าตนเองขาดสง่ิ ทจ่ี าเป็น ชายผนู้ นั้ ไม่ตอบ
อะไรเลย เพราะเขาไม่มขี อ้ แกต้ วั ใดๆ (สอดคลอ้ งกบั ความรขู้ องนกั บญุ มทั ธวิ เกย่ี วกบั ขอ้ แกต้ วั ทอ่ี ย่ใู นเรอ่ื งราวอุปมาก่อนหน้าน้ใี นรปู แบบ

ของเอกสารแหลง่ Q ซง่ึ ทา่ นไดล้ ะเวน้ ไมก่ ล่าวถงึ ?)

การตดั สนิ พพิ ากษาในเรอ่ื งน้อี าจดรู ุนแรง แต่ความคดิ ของนกั บุญมทั ธวิ ไมใ่ ชเ่ ร่อื งเกย่ี วกบั งานเลย้ี งฉลอง
แต่เป็นการพพิ ากษาโลกครงั้ สดุ ทา้ ย วลที ว่ี า่ “เสยี งรอ้ งไหแ้ ละขบฟันดว้ ยความขนุ่ เคอื ง” สอดคลอ้ งกบั 8:12; 13:
42, 50; 24:51; 25:30 ซ่งึ เป็นสานวนท่กี ล่าวถงึ วาระสุดทา้ ยของโลกในเอกสารแหล่ง Q (เทยี บ ลก 13:28) ซ่งึ กลาย
มาเป็นสานวนโปรดท่นี ักบุญมทั ธวิ ชอบนามาใชแ้ สดงภาพของการตดั สนิ โทษอนั น่าสะพรงึ กลวั ในการพพิ ากษา
ครงั้ สดุ ทา้ ย

22:14 นักบุญมทั ธวิ ไม่ไดใ้ ชค้ าว่า “เรยี ก” (kaleo/call) ในความหมายของ “การเรยี กอย่างไดผ้ ล” (Effective
Call) อย่างนักบุญเปาโล แต่ใชใ้ นความหมายของการเชอ้ื เชญิ ใหม้ าเป็นศษิ ยค์ รงั้ แรก การทค่ี นผหู้ น่ึงจะไดเ้ ป็นผู้
“ถูกเลอื ก” (Chosen) (ekletos /elected หรอื การได้รบั การยอมรบั ในการพพิ ากษาครงั้ สุดท้าย) ข้นึ อยู่กบั การแสดงให้เหน็ ถงึ การ
แสดงให้เหน็ ความเช่อื แบบครสิ ตชนท่แี ท้จรงิ ผ่านการทากจิ การแห่งความรกั และความยุตธิ รรม เป็นครงั้ แรกท่ี
นักบุญมทั ธวิ นาคาว่า “เลอื ก” (Elect) มาใช้อย่างเปิดเผยเป็นครงั้ แรก โดยไม่ได้ส่อื ถึงกลุ่มคนท่เี ฉพาะเจาะจง
(ชาวยวิ หรอื ชาวครสิ ต์) แต่ส่อื ถงึ ผทู้ จ่ี ะไดร้ บั การยอมรบั อย่างแท้จรงิ ในการพพิ ากษาครงั้ สุดทา้ ย (ดู 24:22, 24, 31) ความ
มุ่งเน้นเก่ียวกบั ประชากรของพระเป็นเจ้าเปล่ียนจากความเข้าใจแบบในพระคมั ภีร์ภาคพนั ธสญั ญาเดิมว่า
หมายถงึ ชนชาตอิ สิ ราเอลทงั้ หมด เปลย่ี นเป็นกลุ่มผชู้ อบธรรม “ทยี่ งั เหลอื อยู่” ซ่งึ เป็นการเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ
ในศาสนายดู ายบางสายอยแู่ ลว้ การโตเ้ ถยี งระหวา่ งนกั บุญมทั ธวิ และผนู้ าชาวฟารสิ ใี นสมยั ของทา่ นเกย่ี วขอ้ งกบั
ใครคอื ผทู้ เ่ี หลอื อยแู่ ละไดร้ บั เลอื ก หรอื ผทู้ จ่ี ะเป็นประชากรของพระเป็นเจา้ สบื ตอ่ ไป

ข้อคิดไตร่ตรอง
ประเดน็ ทางครสิ ตศาสตรใ์ น 22:11-14 คอื ผพู้ บว่าตนเองถูกรวมอยู่ในกลุ่มผไู้ ดร้ บั เลอื กอย่างไม่คาดฝันไม่

ควรสนั นิษฐานว่าตนไดร้ บั พระหรรษทานอย่แู ลว้ แต่พวกเขาถูกเตอื นใหร้ ะลกึ ถงึ ผลอนั เลวรา้ ยทต่ี ามมาของการ
รบั คาเชญิ แต่ไม่ยอมทาอะไรเลยนอกจากไปร่วมงาน การสรุปเช่นน้ีเป็นการท่ีนกั บุญมทั ธวิ ใหเ้ หน็ ชดั เจนว่าภาพ
ของชนชาตอิ สิ ราเอลทถ่ี กู ตดั สนิ โทษไม่ใช่การสนบั สนุนใหผ้ อู้ ่านซง่ึ เป็นชาวครสิ ตห์ ลงตวั เอง “ผทู้ ถ่ี ูกเลอื ก” ไม่ได้
หมายถงึ พระศาสนจกั รท่มี าแทนท่ีชาตอิ สิ ราเอล แต่คอื ผูท้ ่ไี ด้รบั การยอมรบั ในการพพิ ากษาครงั้ สุดท้าย ทจ่ี รงิ
แลว้ ส่วนน้ีทงั้ หมดเป็นการพดู กบั ผอู้ ่านพระวรสารนักบุญมทั ธวิ โดยตรง มนั เป็นคาสงั่ และคาเตอื นสาหรบั คนใน
ไม่ใช่การบรรยายชะตากรรมของคนนอก มนั เป็นภาษาท่แี สดงการยอมรบั ความเช่อื มากกว่าการรายงานตาม
ความเป็นจรงิ ในจดุ น้ี นกั บุญมทั ธวิ รว่ มกบั ชาวยวิ ทก่ี ลบั ใจคนอ่นื ๆ ผคู้ ร่าครวญใหก้ บั การปฏเิ สธพระเป็นเจา้ ของ
อสิ ราเอลในปัจจุบนั กล่าวว่า “หากท่านคดิ ว่าตนเองยนื ได้มนั่ คงแล้ว จงระวงั ให้ดี มฉิ ะนัน้ ท่านอาจล้มลง” (1คร

10:12; NRSV เทยี บ รม 9-11)

482

มทั ธวิ 22:15-22 เรอ่ื งการจา่ ยภาษใี หจ้ กั รพรรดิ

การเสียภาษีแก่พระจกั รพรรดิซีซาร์
15 ครงั้ นัน้ ชาวฟารสิ ปี รกึ ษากนั เพอ่ื จบั ผดิ พระวาจาของพระเยซูเจา้ 16 จงึ ส่งศษิ ยข์ องตนพรอ้ มกบั คนทเ่ี ป็นฝ่ายของกษตั รยิ เ์ ฮโร
ดมาทูลถามพระเยซูเจ้าว่า “พระอาจารย์ พวกเรารูว้ ่าท่านเป็นคนเท่ยี งตรง สงั่ สอนวถิ ีทางของพระเจ้าตามความจรงิ โดยไม่
ลาเอยี ง เพราะท่านไมเ่ หน็ แก่หน้าใคร 17 ดงั นนั้ โปรดบอกเราเถดิ ว่า ท่านมคี วามเหน็ ว่าการเสยี ภาษแี ก่พระจกั รพรรดซิ ซี ารเ์ ป็น
การถูกตอ้ งหรอื ไม”่ 18 พระเยซูเจา้ ทรงหยงั่ รเู้ จตนารา้ ยของเขา จงึ ตรสั วา่ “พวกคนเจา้ เลห่ ์ เจา้ มาทดลองเราทาไม 19 จงนาเงนิ ท่ี
ใชเ้ สยี ภาษมี าใหด้ ูสกั เหรยี ญหน่ึง” เขากน็ าเงนิ เหรยี ญมาถวาย 20 พระองคจ์ งึ ตรสั ถามว่า “รปู และคาจารกึ น้ีเป็นของใคร” 21 เขา
ตอบวา่ “เป็นของพระจกั รพรรดซิ ซี าร”์ พระองคจ์ งึ ตรสั ว่า “ของของซซี าร์ จงคนื ใหซ้ ซี าร์ และของของพระเจา้ กจ็ งคนื ใหพ้ ระเจา้
เถดิ ” 22 เมอ่ื คนเหล่านนั้ ไดย้ นิ ต่างประหลาดใจ แลว้ ผละจากพระองคไ์ ป

ข้อศึกษาวิพากษ์
หลงั จากคาตอบทเ่ี ป็นอุปมาขนาดยาวทใ่ี ช้ตอบสนองแผนการแรกของกลุ่มผทู้ ่ตี ่อต้าน นักบุญมทั ธวิ ได้

กลบั ไปใชโ้ ครงเรอ่ื งแบบเดยี วกบั พระวรสารนกั บญุ มาระโกอกี ครงั้ เน้ือเรอ่ื งสว่ นน้ีไม่ไดแ้ สดงถงึ “คาสอนของพระ
เยซูเจา้ เกย่ี วกบั แบ่งแยกระหวา่ งพระศาสนจกั รกบั รฐั ” แต่เป็นสว่ นหน่ึงของชุดการโตเ้ ถยี งทเ่ี รมิ่ ตน้ โดยชาวฟารสิ ี
ทไ่ี ดต้ ดั สนิ ใจจะฆา่ พระเยซูเจา้ (12:14 ดู ภาพรวม) สง่ิ ทท่ี าใหด้ ขู ดั แยง้ กนั อย่างประหลาดและน่าขนั กค็ อื ในบทโตเ้ ถยี ง
สามเรอ่ื งต่อไปน้ี (ภาษ,ี การกลบั ฟ้ืนคนื ชพี , และพระมหาบญั ญตั )ิ พระเยซูเจา้ ทรงยนื ยนั ความถกู ตอ้ งของจุดยนื ของชาวฟาริ
สี (ดู 23:1-3) ถงึ แมว้ ่าคาพูดนาของพวกเขาดูจะเป็นการเยนิ ยอ แต่แทจ้ รงิ แลว้ พวกเขาไม่ไดแ้ สวงหาคาชน้ี าหรอื
การสนทนา แต่ต้องการวางกบั ดกั พระองค์ พระเยซูเจ้าทรงเขา้ ควบคุมสถานการณ์และไม่ยอมตดิ กบั ดกั น่ีคอื
แนวคดิ สาคญั ของบทบรรยายเรอ่ื งสว่ นน้ี ไม่ใชค่ าสอนทเ่ี ป็นนามธรรมเรอ่ื งรฐั กบั พระศาสนจกั ร

22:15-18 แตกต่างจากในพระวรสารนักบุญมาระโก ทช่ี าวฟารสิ ไี ม่ใช่ตวั แทนของมหาสมณะ ธรรมาจารย์
หรอื ผอู้ าวโุ ส (ดู เทยี บ มก. 11:27; 12:1, 12-13) แตพ่ วกเขาควบคมุ และเรมิ่ ตน้ ทุกสง่ิ เอง ตามทก่ี ล่าวใน 12:14 และ 27:1
พวกเขา “ปรกึ ษาหารอื ” / “วางอุบาย”/ “วางแผน” ชาวฟารสิ เี ป็นเหมอื นตวั แทนของผทู้ ต่ี ่อตา้ นพระครสิ ตจกั รใน
สมยั ของนกั บญุ มทั ธวิ พวกเขาตอ่ ตา้ นพระเยซูเจา้ ผเู้ ป็นอาจารยท์ แ่ี ทจ้ รงิ ของครสิ ตจกั รของนกั บญุ มทั ธวิ โดยการ
มศี ษิ ย์ของตนเอง แล้วนาถ้อยคาท่พี ระเยซูเจ้าเคยตรสั มาย้อนถามว่า “ท่านคดิ อย่างไร” (21:28/ 22:17) ถงึ แม้ว่า
ชาวยวิ ท่ีเป็นพวกของกษัตรยิ ์เฮโรดจะไม่มบี ทบาทในสมยั ของนักบุญมทั ธิว แต่ท่านก็ยงั คงรกั ษาไว้ในเร่อื ง
เหมอื นกบั ในพระวรสารของนักบุญมาระโก เพราะเป็นตวั แทนของผูท้ ส่ี นับสนุนกฎระเบยี บของชาวโรมนั อย่าง
ออกนอกหน้าและสนับสนุนการจ่ายภาษี ในทางตรงขา้ ม ชาวฟารสิ เี ป็นท่นี ิยมของประชาชนมากกว่าเพราะไม่
ชอบและต่อตา้ นการจา่ ยภาษโี ดยหลกั การ แต่ไม่กลา้ แสดงออกมากเทา่ กบั กลุ่มนกั ชาตนิ ิยมแบบสดุ โต่งทต่ี ่อตา้ น
การจ่ายภาษตี ่อหน้าสาธารณะชน

483

ประเด็นเร่อื งภาษีไม่ใช่สง่ิ ท่ีเป็นภาพรวมและเป็นนามธรรม แต่หมายความอย่างเจาะจงถึงภาษีหน่ึงท่ี
เรยี กว่า “ภาษีสามะโนประชากร” (Census / kensos) ท่ชี าวโรมนั เก็บจากประชากรเป็นรายหวั และเรม่ิ มขี ้นึ ใน
ค.ศ. 6 ซง่ึ เป็นสมยั ทแ่ี ควน้ ยเู ดยี กลายเป็นมณฑลหน่ึงของชาวโรมนั ภาษนี ้กี ระตุน้ ใหเ้ กดิ ขบวนการลทั ธชิ าตนิ ยิ ม
ทส่ี ุดทา้ ยกลายมาเป็นขบวนการเคล่อื นไหวต่อตา้ นการปกครองของโรมนั (Zealot Movement) ซง่ึ ปลุกระดมให้
เกดิ สงครามทเ่ี ป็นหายนะในชว่ งครสิ ตศกั ราช 66-70 นกั บุญมทั ธวิ มองยอ้ นกลบั ไปถงึ ขบวนการเคล่อื นไหวน้ีและ
โศกนาฎกรรมทเ่ี ป็นผลลพั ธซ์ ง่ึ เกดิ ตามมา แต่กร็ วู้ ่ามนั เป็นประเดน็ ความแบ่งแยกทเ่ี กดิ ขน้ึ มาตงั้ แต่ก่อนหน้านนั้
และยงั คงก่อใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ในสว่ นลกึ ของผคู้ น (ดู 17:24-27) ภาษดี งั กล่าวตอ้ งจา่ ยเป็นเหรยี ญโรมนั เทา่ นนั้ ซง่ึ บน
เหรยี ญมรี ูปภาพและขอ้ ความจารกึ ทช่ี าวยวิ จานวนมากมองว่าเป็นการดูหมนิ่ พระเป็นเจา้ คอื “ทเิ บเรยี ส ซซี าร์
บุตรแห่งออกัสตัส มหาสมณะผู้เป็นพระเป็นเจ้า” (Tiberius Caesar Divi Augusti Filius Augustus Pontifex
Maximus) ดงั นัน้ พวกเขาจงึ ถามคาถามท่มี เี ล่ห์เหล่ยี ม เพราะได้คานวณไวแ้ ล้วว่ามนั จะทาใหก้ ลุ่มชาตนิ ิยมไม่
เขา้ ขา้ งพระองค์ (ถา้ พระองคต์ อบในเชงิ ยอมรบั ) หรอื ไมก่ ท็ าใหพ้ ระองคถ์ ูกชาวโรมนั จบั กุม (หากพระองคป์ ระกาศต่อตา้ นการจา่ ย
ภาษี) สง่ิ น้ีทาใหเ้ ราเขา้ ใจการตอบสนองของพระเยซูเจา้ ในตอนแรกชดั เจนขน้ึ ว่าการท่พี วกเขาเรยี กพระองคว์ ่า
“พระอาจารย”์ และยกย่องคาสอนของพระองคน์ ัน้ เป็นการกระทาทไ่ี ม่จรงิ ใจ “กาลงั ทดสอบเรา” (Putting Me to
the Test) (มกี ารใชค้ าเดยี วกนั น้ีใน 4:3; 16:1: 19:3 ซาตานและชาวฟารสิ มี บี ทบาทเดยี วกัน) “พวกหน้าซอื่ ใจคด!” ซง่ึ เป็นความเหน็
ของผู้บรรยายท่ีพูดกบั ผู้อ่านในพระวรสารนักบุญมาระโกกลายมาเป็นคาพูดท่พี ระเยซูเจ้าตรสั กบั ชาวฟารสิ ี
โดยตรงในพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ และจะกลายมาเป็นคาสาคญั ใน 23:1-36

22:19-22 พระเยซูเจ้าทรงถามถึง “เงนิ ตรา” (Legal Tender) ท่ีใช้ในการจ่ายภาษี พระองค์ไม่ได้มีเงนิ
เหล่าน้ี แต่ชาวฟารสิ ที อ่ี ย่ใู นเขตพน้ื ทศ่ี กั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องพระวหิ าร คอื ผทู้ ผ่ี ลติ เหรยี ญทม่ี ขี อ้ ความและรปู ภาพทด่ี หู มนิ่
พระเป็นเจา้ น้ีเองและยอมรบั ว่ามนั เป็นของซซี าร์ เม่อื พระเยซูเจา้ ประกาศว่าสงิ่ ใดทเ่ี ป็นของพระจกั รพรรดสิ ง่ิ นนั้
กค็ วรถูกนาไปมอบใหพ้ ระองค์ พระเยซูเจา้ ทรงเลย่ี งทจ่ี ะตอบว่าใช่หรอื ไม่ใช่โดยตรง แต่ทจ่ี รงิ แลว้ พระองคท์ รง
ตอบว่าใช่ในทางออ้ ม การจ่ายภาษีใหซ้ ซี ารไ์ ม่ได้เป็นความผดิ ต่อหนังสอื ธรรมบญั ญตั ิ (ซง่ึ เป็นรูปแบบคาถามใน ว. 17
“เป็นสง่ิ ทถ่ี ูกตอ้ งตามกฎหมายหรอื ไม่”) ชาวฟารสิ ยี อมรบั ในเร่อื งน้ีโดยการเขา้ รว่ มกบั ระบบเศรษฐกจิ ทก่ี าหนดขน้ึ โดยชาว
โรมนั และยอมแมก้ ระทงั่ ใหม้ เี หรยี ญเงนิ ของชาวโรมนั ในพน้ื ทพ่ี ระวหิ าร ถงึ แมว้ ่าจะไม่เช่อื แต่ชาวฟารสิ กี เ็ งยี บ
และเดนิ ออกไปจากการโตเ้ ถยี งครงั้ น้ี ไปดว้ ยความรสู้ กึ ชอ็ ค ( “In Shock” / ethaumasan)

ข้อคิดไตร่ตรอง
1. ในขณะทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงประกาศว่าการจ่ายภาษเี พ่อื สนับสนุนรฐั บาลฝ่ายโลกทเ่ี ป็นชนต่างศาสนาไม่

เป็นการทาผดิ ต่อน้าพระทยั พระเป็นเจา้ พระองคท์ รงตอบมากกว่าคาถามนัน้ พระองคท์ รงประกาศว่าสงิ่ ทเ่ี ป็น
ของพระเป็นเจา้ กค็ วรถูกนามามอบใหพ้ ระเป็นเจา้ มนั ไม่ใชห่ ลกั การทแ่ี บ่งแยกโลกออกเป็นสองอาณาจกั รและมี
ผปู้ กครองสองฝ่าย มุมมองเร่อื งสองอาณาจกั รของนักบุญมทั ธวิ เป็นเร่อื งก่อนวาระสน้ิ โลกเท่านนั้ เพราะในทส่ี ุด
แล้วท่านก็เป็ นผู้นับถือพระเป็ นเจ้าพระองค์เดียว (Monotheist) ท่ีต่อต้านการมองแบบทวินิยมเช่นน้ี พระ
อาณาจกั รของพระเป็นเจ้าท่ีมีพระเยซูเจ้าเป็นตัวแทนนัน้ โอบอุ้มทุกชีวติ ท่ีจรงิ แล้วนักบุญมทั ธวิ แทบจะไม่
สนับสนุนการแบ่งแยกระหว่างศาสนากบั การเมอื ง ท่านแสดงภาพของพระเยซูเจ้าและชุมชนชาวครสิ ต์ว่าเป็น
สว่ นหน่งึ ของบรรดาประกาศกแห่งอสิ ราเอล ผซู้ ง่ึ ไมเ่ คยแบง่ แยกระหวา่ งศาสนาและแงม่ ุมของชวี ติ ทเ่ี ป็นการเมอื ง

484

2. ในขณะท่ีนักบุญมทั ธวิ เขา้ ใจชดั เจนว่าความจงรกั ภกั ดตี ่อพระเป็นเจ้านัน้ แตกต่างและสูงส่งกว่าความ
จงรกั ภกั ดตี ่อซซี าร์ ขอ้ เขยี นน้ีกไ็ ม่ใช่คาช้แี นะใหผ้ ูค้ นท่อี าศยั อยู่ในโลกอนั ซบั ซ้อนและมคี วามจงรกั ภกั ดหี ลาย
แบบแขง่ ขนั กนั ตอ้ งมากาหนดวา่ สงิ่ ใดเป็นของซซี ารแ์ ละสง่ิ ใดเป็นของพระเป็นเจา้ มนั เป็นเพยี งการประกาศว่า
เราจาเป็นต้องแยกความแตกต่างระหว่างสงิ่ ท่ีเป็นของซีซาร์ (ของบางอย่าง) กบั สง่ิ ท่ีเป็นของพระเป็นเจ้า (ความ
จงรกั ภกั ดสี งู สดุ ) และปล่อยใหผ้ อู้ ่านทอ่ี ย่ใู นสถานการณ์ของยุคสมยั ตนเองทาหน้าทเ่ี ป็น “นกั เทวศาสตรด์ า้ นพระเยซู
เจา้ ” ผทู้ ต่ี อ้ งพจิ ารณาชวี ติ ของพระองคแ์ ละคาสอนของพระองค์ แลว้ ทาใหค้ วามแตกต่างน้ีเป็นจรงิ ขน้ึ มา (ดู เทยี บ

5:21-48)

มทั ธวิ 22: 23-33 คาถามเกย่ี วกบั การกลบั ฟ้ืนคนื ชพี

การกลบั คนื ชีพของผตู้ าย
23 ในวนั นนั้ ชาวสะดูสมี าเฝ้าพระองค์ คนเหล่าน้ีสอนว่าไม่มกี ารกลบั คนื ชพี เขาทูลถามพระองคว์ า่ 24 “พระอาจารย์ โมเสสสงั่ ไว้
ว่าถา้ คนหน่ึงตายโดยไม่มบี ุตร กใ็ หน้ ้องชายของเขารบั หญงิ ม่ายนัน้ เป็นภรรยา เพ่อื จะไดส้ บื สกุลของพช่ี ายไว้ 25 ยงั มพี น่ี ้องเจด็
คน คนแรกแต่งงานแล้วก็ตายโดยไม่มบี ุตร ท้งิ ภรรยาไวใ้ ห้น้องชาย 26 และเกดิ เหตุการณ์เช่นเดยี วกนั กบั คนท่สี อง คนท่สี าม
จนถงึ คนทเ่ี จด็ 27 ในทส่ี ุดหญงิ นัน้ กต็ ายดว้ ย 28 เม่อื มนุษยจ์ ะกลบั คนื ชพี หญงิ นัน้ จะเป็นภรรยาของใคร เพราะทงั้ เจด็ คนไดน้ าง
เป็นภรรยา” 29 พระเยซูเจา้ ตรสั ตอบว่า “ท่านคดิ ผดิ แลว้ เพราะไม่เขา้ ใจพระคมั ภรี ์ และไม่รจู้ กั พระอานุภาพของพระเจา้ 30 เม่อื
มนุษยจ์ ะกลบั คนื ชพี จะไม่มกี ารแตง่ งานเป็นสามภี รรยากนั อกี แตเ่ ขาจะเป็นเหมอื นทตู สวรรค์ 31 สว่ นเรอ่ื งผตู้ ายกลบั คนื ชพี ทา่ น
ไม่ไดอ้ ่านพระวาจา ทพ่ี ระเจา้ ตรสั แก่ท่านหรอื ว่า 32 เราคือพระเจ้าของอบั ราฮมั พระเจ้าของอิสอคั และพระเจา้ ของยาโคบ
พระองคม์ ใิ ชพ่ ระเจา้ ของผตู้ าย แตเ่ ป็นพระเจา้ ของผเู้ ป็น” 33 ประชาชนทไ่ี ดฟ้ ังต่างพศิ วงอยา่ งยง่ิ ในคาสอนของพระองค์

ข้อศึกษาวิพากษ์
สาหรบั 22:23 ขอ้ ความทย่ี กมาจากพระวรสารนักบุญมาระโกตอนน้ีไม่ไดเ้ ป็นการแสดงถงึ คาสอนของพระ

เยซูเจา้ เกย่ี วกบั ชวี ติ หลงั ความตาย แต่เป็นสว่ นหน่ึงของการเผชญิ หน้ากบั ผทู้ ต่ี ่อตา้ นของพระองค์ นกั บุญมทั ธวิ
เตมิ วา่ เหตกุ ารณ์น้เี กดิ ขน้ึ “ในวนั เดยี วกนั นนั้ ” คอื วนั องั คาร (ดภู าพรวม)

ตอนน้ีเป็นตอนเดยี วทช่ี าวสะดุสปี รากฏตวั ขน้ึ ในแหล่งขอ้ มลู ของนกั บุญมทั ธวิ ทม่ี าจากนักบุญมาระโก และ
พระวรสารของนกั บุญลูกากท็ าตามเน้ือหานนั้ (แมว้ า่ ชาวสะดุสจี ะปรากฏขน้ึ ถงึ 5 ครงั้ ในหนังสอื กจิ การอคั รสาวก) แต่ไม่มปี รากฏ
เลยในพระวรสารนกั บุญยอหน์ แต่นักบุญมทั ธวิ เตมิ ส่วนน้ีเขา้ มาเพอ่ื ใหง้ านเขยี นมคี วามเป็นทางการขน้ึ ใน 3: 7;
16:1, 6, 11-12 เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ ว่าพวกเขาเขา้ รว่ มเป็นพนั ธมติ รกบั ชาวฟารสิ ใี นการต่อตา้ นพระเยซูเจา้ แต่ชาว
สะดสุ ไี ดห้ ายไปในชว่ งสงครามปี 66-70 และในชว่ งทเ่ี ป็นผลกระทบหลงั สงครามนนั้ พวกเขาไม่ไดร้ วมตวั กนั เป็น
กลุ่มพรรคสาคญั ในสมยั ของนักบุญมทั ธวิ เหมอื นกบั ชาวฟารสิ ี เน่ืองจากไม่มแี หล่งขอ้ มลู หลกั เกย่ี วกบั ชาวสะดุสี
หลงเหลอื อยู่ และสงิ่ เดยี วทเ่ี รารเู้ กย่ี วกบั พวกเขากม็ าจากคาบรรยายบอกเล่าของบุคคลหรอื กลุ่มคนต่างๆ ในยุค

485

สมยั หลงั ทร่ี สู้ กึ เป็นศตั รกู บั ชาวสะดุสไี ม่มากกน็ ้อย ดงั นัน้ เราจงึ ควรบรรยายถงึ บุคลกิ ลกั ษณะของพวกเขาเพยี ง
ครา่ วๆ เทา่ นนั้

เหน็ ไดช้ ดั ว่าคนกลุ่มน้ีเป็นชนชนั้ เจา้ ของทด่ี นิ ทร่ี ่ารวย มแี นวโน้มทจ่ี ะต่อตา้ นการเปลย่ี นแปลงและปกป้อง
สถานภาพของตนเอง และมคี วามเก่ียวขอ้ งอย่างใกล้ชดิ กบั กลุ่มนักบวช (คาว่า “สะดุส”ี เห็นได้ชดั ว่ามาจากช่อื นักบวช
“Zadok”) พวกเขายอมรบั แต่หนงั สอื ปัญจบรรพวา่ เป็นหนงั สอื ทถ่ี ูกตอ้ งตามสารบบ สว่ นคาสอนเรอ่ื งการกลบั ฟ้ืนคนื
ชพี ของผตู้ ายนนั้ ปรากฎขน้ึ ครงั้ แรกอยา่ งคลุมเครอื ในหนงั สอื เล่มสดุ ทา้ ยของพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาเก่า (ดนล.
12:2) ซง่ึ พวกเขาไม่ไดย้ อมรบั ว่าอย่ใู นสารบบ ชาวสะดุสไี ม่ไวว้ างใจคาสอนทเ่ี ป็นการพยากรณ์ทก่ี าลงั ดาเนินอยู่
และซง่ึ ไม่พบในพระคมั ภรี ส์ ว่ นทอ่ี ย่ใู นสารบบ แต่เป็นคาสอนทช่ี าวฟารสิ ยี อมรบั โดยยดึ ตามสง่ิ ทถ่ี ่ายทอดกนั มา
โดยบอกเล่าปากเปล่า (ดู เทยี บ กจ. 23: 8) การปฏเิ สธไม่ยอมรบั เรอ่ื งการกลบั คนื ชพี จากความตายของชาวสะดุสไี ม่
เหมอื นกบั การนามุมมองแบบสมยั ใหม่ไปใชก้ บั งานเขยี น มนั ไม่ใช่การกระทาทเ่ี ป็น “สมยั ใหม่” และละท้งิ ความ
เช่อื ทส่ี บื ทอดกนั มา แต่เป็นแง่มุมหน่ึงของคมั ภรี น์ ิยม (Bliblicism) และอนุรกั ษ์นิยม (Conservatism) ซง่ึ ต่อตา้ น
แนวคดิ เรอ่ื งการกลบั ฟ้ืนคนื ชพี ซง่ึ เป็น “สมยั ใหม่” และไดร้ บั การสนบั สนุนจากชาวฟารสิ ี

22:24 กฎหมายการแต่งงานท่ีกาหนดให้ภรรยาม่ายต้องแต่งงานกบั พ่ีชายหรอื น้องชายของสามี (Levite
Marriage ซ่ึงมาจากคาภาษาลาติน “levir” หรือ “พ่ีเขย/น้องเขย”) มาจากหนังสือปั ญจบรรพ (ฉธบ. 25:5-6) และเป็ นส่ิงท่ีมี
ความสาคญั ในธรรมประเพณีของชาวยวิ (ดู เทียบ ปฐก. 38:1-8 และเร่อื งราวของทามาร์และนางรูธ 1-4 ทงั้ ทามาร์และรูธอยู่ในสาย
ตระกูลของพระเยซูเจา้ ) ตรรกะเหตุผลทอ่ี ย่เู บอ้ื งหลงั กฎหมายน้ีกค็ อื การทาใหส้ ายตระกูลสบื ทอดต่อไปในอนาคต ชาว
สะดุสยี อมรบั ความสาคญั ของกฎหมายขอ้ น้ีเพราะมนั บ่งบอกถงึ ความเช่อื ท่วี ่าหลงั ความตายชวี ติ ของคนเราจะ
ดาเนินต่อไปในชีวติ ของลูกหลานตน ไม่ได้ดาเนินต่อไปในสวรรค์หลงั การกลบั ฟ้ืนคนื ชีพ การตายโดยไม่มี
ลกู หลานสบื ทอดถอื วา่ เป็นชวี ติ ทไ่ี มส่ มบูรณ์

ดงั นัน้ ใน 22:25-28 พวกเขาจงึ ยกตวั อย่างกรณีทย่ี นื ยนั ความเช่อื ในหนังสอื ปัญจบรรพและแสดงใหเ้ หน็ ถงึ
ความไรเ้ หตุผลของแนวคดิ เร่อื งการกลบั ฟ้ืนคนื ชพี ตวั อย่างของพวกเขาเป็นสงิ่ สมมุตใิ นพระวรสารนักบุญมาระ
โก แต่นักบุญมทั ธิวนาเสนอในลกั ษณะของกรณีท่ีเกิดข้นึ จรงิ (เขาเติมคาว่า “With Us” [par’hemin]) เร่อื งน้ีไม่ใช่การ
ยกตวั อย่างทน่ี ่าหวั เราะมากนกั เหน็ ไดจ้ ากเร่อื งราวของประกาศกโทบติ ซง่ึ นางซาราหก์ ม็ สี ามถี งึ เจด็ คน (ทบต. 3:
8; 6: 14) คาถามท่ีว่า “นางจะเป็นภรรยาของใคร” หลงั จากการกลบั ฟ้ืนคืนชีพคอื การแสดงให้เห็นถึงความไร้
เหตุผลของการพยายามจดั ระเบยี บความยุ่งเหยงิ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ถา้ ความสมั พนั ธท์ งั้ หมดบนโลกกลบั คนื มาในชวี ติ
อนาคต กฎหมายในพระคมั ภรี ซ์ ง่ึ เป็นสว่ นหน่ึงของหนงั สอื ปัญจบรรพดจู ะแสดงออกอย่างเหน็ ไดช้ ดั วา่ ในอนาคต
จะไมม่ ชี วี ติ ใหม่ทส่ี ง่ิ เหล่าน้จี ะกลายมาเป็นปัญหา

22:29-32 ชาวสะดุสเี ขา้ ใจผดิ เกย่ี วกบั สองประเดน็ สาคญั (ดู เทยี บ 24:4-5, 11, 24) พวกเขาไม่ไดร้ จู้ กั พระคมั ภรี ์
หรอื ฤทธานุภาพของพระเป็นเจ้าอย่างแทจ้ รงิ พระเยซูเจา้ ทรงแก้ไขความเขา้ ใจผดิ ของพวกเขาในลาดบั ทเ่ี ป็น
การยอ้ นกลบั แสดงใหเ้ หน็ ถงึ โครงสรา้ งแบบไขวส้ ลบั (Chiastic Structure) ทป่ี ระณตี งดงามอกี ครงั้ หน่งี

ก. การตคี วามเน้อื หาในพระคมั ภรี ผ์ ดิ
ข. ความเขา้ ใจผดิ เกยี่ วกบั ฤทธานุภาพของพระเป็นเจา้
ข. ความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งเกยี่ วกบั ฤทธานุภาพของพระเป็นเจา้ ในการทาใหผ้ คู้ นกลบั ฟ้ืนคนื ชพี

ก. การตคี วามเน้อื หาพระคมั ภรี อ์ ยา่ งถกู ตอ้ ง

486

โครงสรา้ งแรกทาใหเ้ ราเหน็ ชดั เจนว่าการยนื ยนั เร่อื งการกลบั ฟ้ืนคนื ชพี ไม่ใช่เร่อื งของทฤษฎีทถ่ี ูกตอ้ ง แต่
เป็นเรอ่ื งของความเชอ่ื ในฤทธานุภาพของพระเป็นเจา้ (ดู เทยี บ รม 1:4; ฟป. 3:10, 21; วว. 20:6) ชวี ติ ในยุคใหม่ทก่ี าลงั จะ
มาถงึ ไม่ใช่ชวี ติ ท่เี ป็นแบบปัจจุบนั แต่ยง่ิ ใหญ่กว่าหรอื ดกี ว่า ถงึ แมว้ ่าลกั ษณะเฉพาะของชวี ติ ปัจจุบนั ของเราจะ
เป็นหนทางเดยี วทเ่ี ราจะสามารถสรา้ งแนวคดิ และแสดงความคดิ เกย่ี วกบั เรอ่ื งน้ี แตค่ วามเชอ่ื นนั้ เกย่ี วขอ้ งกบั พระ
ฤทธานุภาพของพระเป็นเจา้ ทจ่ี ะสามารถทาในสง่ิ ทพ่ี ระองคท์ รงใหพ้ นั ธสญั ญาไว้ ความเชอ่ื ในการกลบั ฟ้ืนคนื ชพี
ไมใ่ ช่ทฤษฎเี กย่ี วกบั ธรรมชาตขิ องมนุษยห์ รือ “อะไรจะเกดิ ข้นึ หลงั จากทเี่ ราตาย” แต่เป็นความไวว้ างใจในฤทธา
นุภาพของพระเป็นเจา้ ผซู้ ง่ี จะกระทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นสภาพทเ่ี กนิ กว่าจะจนิ ตนาการไดด้ ว้ ยฤทธานุภาพนัน้ ใน
วาระสุดทา้ ยของโลก การดารงอย่ขู องสรรพสง่ิ ในวาระสุดทา้ ยนนั้ เราไม่อาจนึกภาพแบบตามตวั อกั ษรไดว้ ่ามนั
เป็นการยกเลกิ ชวี ติ แบบของโลกน้ีหรอื เป็นเพยี งการขยายต่อใหย้ าวออกไป ดงั นัน้ คาถามเกย่ี วกบั การคลค่ี ลาย
ความสบั สนวุ่นวายของสมั พนั ธภาพบนโลก จงึ ไม่เพยี งแต่อยนู่ อกประเดน็ เทา่ นนั้ แต่ยงั เป็นการปฏเิ สธไมเ่ ชอ่ื ใน
พระฤทธานุภาพของพระเป็นเจา้ อกี ดว้ ย หากเรอ่ื งน้จี ะมปี ัญหาใดๆ กเ็ ป็นปัญหาของพระเป็นเจา้ ไม่ใช่ของเรา

นอกจากน้ีชาวสะดุสยี งั ไม่เขา้ ใจพระคมั ภรี อ์ กี ดว้ ย เม่อื พระเยซูเจา้ ทรงตงั้ ขอ้ กล่าวหาว่าพวกเขา “ไม่รจู้ กั ”
พระคมั ภรี ์ พระองคไ์ ม่ไดห้ มายความว่าพวกเขาไม่เคยอ่าน อพย. 3:6 มาก่อน แน่นอนว่าพวกเขาเคยอ่านแลว้
แต่สง่ิ ทเ่ี ป็นประเดน็ สาคญั ทงั้ ในฉากน้ีและในอกี สองฉากต่อไปคอื การตคี วามพระคมั ภรี อ์ ยา่ งถูกตอ้ ง ทงั้ พระเยซู
เจา้ และผทู้ ต่ี ่อตา้ นพระองคต์ ่างกย็ อมรบั ในพระคมั ภรี แ์ ละสทิ ธอิ านาจของพระคมั ภรี ์ ประเดน็ ทแ่ี ยกนกั บุญมทั ธวิ
ออกจากผทู้ ต่ี ่อตา้ นทา่ นกค็ อื การตคี วามพระคมั ภรี อ์ ยา่ งไร และใครคอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบสทิ ธอิ านาจใหท้ าเชน่ นนั้

ถึงแม้ว่าในความคิดของคนตะวนั ตกในยุคสมยั ใหม่อาจจะดูไม่ค่อยน่าเช่ือถือ แต่แนวทางการตีความ
โดยรวมในท่ีน้ีเป็ นสิ่งท่ีทัง้ พระเยซูเจ้า นักบุญมัทธิวและผู้ท่ีต่อต้านเห็นพ้องกัน ในการอธิบายความน้ี
รายละเอยี ดท่อี ยู่ในพระคมั ภรี ก์ ลายเป็นการแสดงภาพและแสดงมุมมองท่มี าจากฐานเหตุผลสนับสนุนแบบอ่นื
การตคี วาม อพย. 3:6 วา่ สนบั สนุนเร่อื งการกลบั ฟ้ืนคนื ชพี ใน มธ. 22:31-32 ไม่ไดด้ ขู ดั แยง้ กนั เหมอื นทม่ี องเหน็
ในตอนแรก ในการเปิดเผยนามหรอื ธรรมชาตทิ ่แี ท้จรงิ ของพระองค์ท่เี ปลวไฟในพุ่มไม้ พระเป็นเจ้าทรงใหค้ า
จากดั ความพระองคเ์ องว่า คอื ผูท้ ่ผี ูกมดั ตนเองอย่างเตม็ ใจกบั พนั ธสญั ญาทใ่ี หไ้ วก้ บั ชนรุ่นก่อนๆ คนเหล่าน้ีได้
ตายไปแลว้ และถูกฝังไว้ แต่พวกเขาจะไม่หายไปชวั่ นริ นั ดร์ พระเป็นเจา้ ยงั คงรกั ษาสมั พนั ธภาพทใ่ี กลช้ ดิ กบั พวก
เขา เราจะต้องไม่บงั คบั ยดั เยยี ดจนิ ตภาพน้ีให้กบั ผู้อ่ืน ถงึ แมว้ ่าพวกเขาจะยงั คงอยู่ในหลุมฝังศพของตน แต่ก็
ยงั คงมชี วี ติ อยใู่ นทางใดทางหน่งึ ดจู ะเป็นแนวคดิ ทเ่ี หมาะสมกบั เรอ่ื งความเป็นอมตะมากกวา่ เรอ่ื งการกลบั ฟ้ืนคนื
ชพี (ดู ขอ้ คดิ ไตร่ตรอง เกย่ี วกบั 28:1-20) ในทน่ี ้ีแนวคดิ เร่อื งความเป็นอมตะกบั การกลบั ฟ้ืนคนื ชพี ถูกนามาผสมผสานกนั
เพราะไมว่ า่ จะตคี วามอยา่ งไร อบั ราฮมั อสิ อคั และยาโคบกย็ งั ไม่ได้ “ถูกทาใหฟ้ ้ืนขน้ึ มา” (Risen) แตถ่ งึ แมว้ า่ ภาพ
ของ “ความเป็นอมตะ” (Immortality) กบั “การกลบั ฟ้ืนคืนชีพ” (Resurrection) จะถูกนามารวมกนั ประเด็น
สาคญั กย็ งั คงชดั เจน ความสตั ยซ์ ่อื และฤทธานุภาพของพระเป็นเจา้ คอื ความหวงั ในชวี ติ ทอ่ี ยหู่ ลงั ความตาย

ทงั้ หมดน้ีไม่มสี งิ่ ใดเป็นนามธรรมหรอื เป็นการคดิ ในเชงิ ทฤษฎีเลย ผูท้ ่ปี ระกาศขอ้ ความน้ี คอื พระองค์ผู้
กาลงั เดนิ ทางไปส่คู วามตายของตนเอง ซง่ึ พระองคย์ อมรบั อย่างเตม็ พระทยั และทรงไปต่ออย่างมนั่ ใจว่าว่าพระ
เป็นเจ้าจะทรงกระทาการหลงั จากท่พี ระองค์ตายไปแล้วเพ่อื ท่จี ะดารงรกั ษาความเป็นพระบุตรของพระองคไ์ ว้
และจะทรงพสิ จู น์ความบรสิ ทุ ธใิ ์ นความหมายของชวี ติ พระองค์ (11: 25-27; 16: 21;17: 22-23; 20: 18-19)

487

22:33 นักบุญมทั ธวิ นาฝงู ชนและการตอบสนองของพวกเขากลบั เขา้ มาอกี ครงั้ โดยยกมาจาก มก. 11:18ข
(นา 11:18ก มาเป็น 21:15) การอา้ งองิ ถงึ คาสอนท่ยี กมาตรงน้ีทาหน้าทเ่ี ป็นวงเลบ็ คู่กบั คาพูดเรมิ่ ตน้ ทช่ี าวสะดุสเี รยี ก
พระเยซูเจา้ ว่า “พระอาจารย”์ พวกเขาประสงคร์ า้ ย แต่ฝงู ชนยงั คงมองพระองคใ์ นทางบวกและรสู้ กึ ประทบั ใจ นกั
บุญมทั ธวิ จะนาชาวฟารสิ กี ลบั เขา้ มาใหม่ในตอนตน้ ของฉากต่อไป (ทงั้ ฝงู ชนและชาวฟารสิ ไี ม่มปี รากฏในส่วนน้ีของพระวรสาร
นกั บุญมาระโก) การสรปุ จบเชน่ น้มี ผี ลทาใหค้ วามประสงคร์ า้ ยของชาวฟารสิ ปี รากฏชดั เจนยง่ิ ขน้ึ

มทั ธวิ 22:34-40 พระมหาบญั ญตั ิ

บทบญั ญตั ิเอก
34 เม่อื ชาวฟารสิ ไี ดย้ นิ ว่าพระเยซูเจา้ ทรงทาใหช้ าวสะดสู นี ิ่งอง้ึ ไป จงึ มาชุมนุมพรอ้ มกนั 35 มคี นหน่ึงเป็นบณั ฑติ ทางกฎหมายได้
ทลู ถามเพ่อื จะจบั ผดิ พระองค์ว่า 36 “พระอาจารย์ บทบญั ญตั ขิ อ้ ใดเป็นเอกในธรรมบญั ญตั ”ิ 37 พระเยซูเจา้ ตรสั ตอบว่า “ท่านจะ
ต้องรกั องค์พระผ้เู ป็ นเจ้า พระเจ้าของท่านสุดจิตใจ สุดวิญญาณ สุดสตปิ ัญญาของท่าน 38 น่ีคอื บทบญั ญตั เิ อกและเป็นบท
บญั ญตั แิ รก 39 บทบญั ญตั ปิ ระการทส่ี องกเ็ ช่นเดยี วกนั คอื ท่านต้องรกั เพือ่ นมนุษยเ์ หมือนรกั ตนเอง 40 ธรรมบญั ญตั แิ ละคา
สอนของบรรดาประกาศกกข็ น้ึ อยกู่ บั บทบญั ญตั สิ องประการน้ี”

ข้อศึกษาวิพากษ์
นักบุญมทั ธวิ ได้นาเสนอไวแ้ ล้วว่าพระเยซูเจ้าสอนถงึ ความสาคญั ของความรกั ในชวี ติ ของบรรดาศษิ ย์

และไดแ้ สดงใหเ้ หน็ วา่ ความรกั ตอ่ “เพอ่ื นบา้ น” นนั้ รวมถงึ “ศตั ร”ู ดว้ ย (5:21-48, โดยเฉพาะ ว. 23-48) ในทน่ี ้พี ระบญั ญตั ิ
2 ประการเกย่ี วกบั ความรกั กลายมาเป็นส่วนหน่ึงของการโตเ้ ถยี งรุนแรงทเ่ี กดิ ขน้ึ ตดิ ต่อกนั มาจาก 21:23 จนถงึ
22:46 ในสว่ นทส่ี อดคลอ้ งกนั ในพระวรสารนกั บุญมาระโก ธรรมาจารยท์ ด่ี ูเป็นมติ รคนหน่ึงตงั้ คาถามทจ่ี รงิ ใจและ
พระเยซูเจ้าก็ทรงตอบ จากนัน้ ธรรมาจารย์ก็กล่าวช่ืนชมพระองค์สาหรบั คาตอบนัน้ แล้วพระเยซู เจ้าก็ทรง
ตอบสนองในทางบวก โดยประกาศวา่ ธรรมาจารยผ์ นู้ นั้ อยไู่ มไ่ กลจากพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ (12: 28-34) แต่
การท่ีนักบุญมทั ธวิ นามาเขยี นใหม่นัน้ เปล่ยี นรูปแบบและตวั ละครในเน้ือหาส่วนน้ีจากการสนทนาระหว่างผู้มี
ความรใู้ หก้ ลายเป็นเรอ่ื งราวการโตเ้ ถยี ง กลุ่มชาวฟารสิ ที ป่ี รากฎตวั ขน้ึ ตงั้ แต่ 21:23 (ดู เทยี บ 45) กไ็ ดป้ รากฏตวั ขน้ึ
ใหม่ แต่ไม่ไดพ้ ดู คุยเกย่ี วขอ้ งกบั พระเยซูเจา้ โดยตรง การทพ่ี วกเขามารวมตวั กนั เป็นการยกขอ้ ความจาก สดด.
2:2 แบบคาต่อคา ซง่ึ เป็นตอนทผ่ี นู้ ารวมตวั กนั ต่อตา้ นพระเป็นเจา้ และผทู้ พ่ี ระองคท์ รงเจมิ นักเทวศาสตรอ์ าชพี
จากชนชนั้ ของพวกเขา (เป็นการปรากฏเพยี งครงั้ เดยี วของคาว่า “นักกฎหมาย” [Lawyer/nomikos] ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ) กลายมา
เป็นผพู้ ดู แทน คาถามของพวกเขาไม่ใชค่ าถามทจ่ี รงิ ใจหรอื เป็นวชิ าการแบบในพระวรสารนกั บุญมาระโก แต่เป็น
การ “ทดสอบ” พระเยซูเจา้ (มาจากคาว่า “pereizo” เช่นเดยี วกบั ใน 4:1, 3; 16:1; 19:3; 22:18 มแี ต่ปิศาจกบั ชาวฟารสิ เี ท่านนั้ ทเ่ี ป็นประธาน
ของคากรยิ าน้ี) คาเรยี กพระเยซูเจา้ วา่ “พระอาจารย”์ (Teacher) กเ็ ป็นคาทแ่ี สดงถงึ ความไม่จรงิ ใจและแตกต่างอยา่ ง
เหน็ ไดช้ ดั กบั คาว่า “พระเจา้ ขา้ ” (Lord) ซ่งึ ผเู้ ช่อื ใชเ้ รยี กพระองค์ พระเยซูเจา้ ทรงยนื ยนั ความถูกตอ้ งในมุมมอง

488

ของชาวฟารสิ เี ช่นเดยี วกบั ในตอนอ่นื ๆ ของส่วนน้ี (ดู เทยี บ 23:1-2) แต่การตอบสนองของพวกเขากย็ งั คงเป็นการ
ทดสอบพระองคเ์ หมอื นกบั ทซ่ี าตานทา ในความเขา้ ใจของนกั บุญมทั ธวิ เหตุการณ์น้เี ป็นมากกวา่ การโตเ้ ถยี งทาง
ศาสนา แตเ่ ป็นการทส่ี องอาณาจกั รเผชญิ หน้ากนั อกี ครงั้ หน่งึ (ดู 12:22-37)

ธรรมชาติของการทดสอบน้ีไม่ชดั เจน อาจมกี ารให้คาบอกใบ้ในส่วนท่ีนักบุญมทั ธวิ เตมิ ลงไป คอื “ใน
ธรรมบญั ญตั ”ิ บรรดานกั บวชชาวยวิ นบั ขอ้ บญั ญตั ไิ ด้ 613 ขอ้ (มบี ญั ญตั ทิ เ่ี ป็นการสงั่ ใหท้ า 248 ขอ้ สอดคลอ้ งกบั จานวนอวยั วะใน
รา่ งกาย และมบี ญั ญตั ทิ เ่ี ป็นการหา้ มทา 365 ขอ้ สอดคลอ้ งกบั จานวนวนั ในหน่งึ ปี) ถงึ แมว้ า่ อาจารยท์ เ่ี ป็นนกั บวชชาวยวิ ชอบทจ่ี ะสรุป
ธรรมบญั ญตั ิ แต่พวกเขากม็ มี ุมมองทว่ี ่าธรรมบญั ญตั ทิ ุกขอ้ มคี วามสาคญั เท่าเทยี มกนั หากมกี ารจดั อนั ดบั ว่าสง่ิ
ใดสาคญั กว่ากจ็ ะกลายเป็นเอาขอ้ สนั นิษฐานแบบมนุษยไ์ ปใชก้ บั กฎบญั ญตั ขิ องพระเป็นเจ้า เพราะทุกข้อมผี ล
บงั คบั ใช้เท่ากนั หมด นักกฎหมายผู้นัน้ อาจพยายามดงึ พระเยซูเจา้ ให้เขา้ ไปร่วมในการโต้เถยี งเร่อื งน้ี เพ่อื ให้
พระองค์กล่าวบางสง่ิ ออกมาท่สี ามารถตคี วามได้ว่าพระองค์ดูหมน่ิ (บางส่วนของ) ธรรมบญั ญัติ เช่น ประกาศว่า
“บญั ญตั ทิ ่เี ป็นศลี ธรรมจรรยา” สาคญั กว่า “บญั ญตั ิท่เี ป็นพธิ กี รรม” ซ่งึ ส่วนน้ีในเร่อื งราวเดยี วกนั ในพระวรสาร
นักบุญมาระโกมลี กั ษณะของการโอนอ่อนคลอ้ ยตามมากกว่า เพราะไม่ใช่แต่เพยี งพระเยซูเจา้ เท่านัน้ แต่ธรรมา
จารยก์ เ็ หน็ พอ้ งในเรอ่ื งน้ดี ว้ ย

ในพระวรสารนักบุญมาระโก เช่นเดยี วกบั ใน อพย. 6:4-5 บญั ญตั ทิ บ่ี อกใหร้ กั พระเป็นเจา้ นัน้ เป็นส่วนหน่ึง
ของ “Shema” หรอื บทอธษิ ฐานของชาวยวิ ซ่งึ เรมิ่ ต้นดว้ ยการประกาศความเป็นหน่ึงเดยี วของพระเป็นเจา้ ซ่งึ
เป็นสง่ิ ทใ่ี กลเ้ คยี งกบั หลกั ความเชอ่ื สากล (Universal Creed) ของศาสนายดู ายมากทส่ี ุด แต่เราไม่รชู้ ดั เจนวา่ เหตุ
ใดนักบุญมทั ธิวถึงได้ละเว้นส่วนท่ีเป็นคาประกาศตอนต้นน้ี ถึงแม้ว่าจะมีธรรมประเพณีของนักบวชท่ีเป็น
“บทสรุปธรรมบญั ญตั ”ิ (Summaries of the Torah) แต่การนาบญั ญตั ขิ อ้ ทบ่ี อกให้ “รกั พระเป็นเจา้ ” กบั ขอ้ ทบ่ี อก
ให้ “รกั เพ่อื นมนุษย์” มาผสานรวมกนั นัน้ เป็นลกั ษณะเฉพาะของพระเยซูเจ้าท่อี ยู่ในพระวรสารสหทรรศน์ นัก
บุญมทั ธวิ ได้ปรบั เปล่ยี นเล็กน้อยเพ่อื ให้สอดคล้องกบั เน้ือหาในพระคมั ภรี ์ฉบบั 70 (LXX) มากข้นึ โดยละเวน้
องค์ประกอบท่สี ใ่ี นพระวรสารของนักบุญมาระโก (“ความแขง็ แกร่ง” [Strength]) และมกี ารเปลย่ี นคาบุพบทจากพระวร
สารนักบุญมาระโก 3 ครงั้ จากคาว่า “ex” เป็น “en” ซ่ึงทัง้ สองคาแปลว่า “กับ” (With) ส่วนท่ีนักบุญมทั ธิว
เปลย่ี นแปลงมากทส่ี ดุ คอื การเปลย่ี นบทสรุปทเ่ี ป็นทางบวกของการสนทนาระหวา่ งพระเยซูเจา้ กบั ธรรมาจารยใ์ ห้
กลายเป็นพระเยซูเจา้ ประกาศวา่ (ว. 40) ธรรมบญั ญตั ิและประกาศกทงั้ หมด “แขวนอย”ู่ (Hang) กบั บญั ญตั สิ อง
ขอ้ น้ี ในบรบิ ทของครสิ ตศาสตรท์ อ่ี ยใู่ นบทบรรยายโดยรวมของพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ สงิ่ น้เี ป็นมากกวา่ การสรปุ
ธรรมบญั ญัติ และไม่ใช่ข้อความท่ีอธบิ ายว่าขอ้ อ่ืนๆ ทงั้ หมดของธรรมบญั ญัตินัน้ มาจากสองข้อน้ีในเชิงการ
ตคี วาม แต่พระเยซูเจา้ ทรงประกาศวา่ พระบญั ญตั ทิ ใ่ี ห้ “รกั พระเจา้ และรกั เพอ่ื นมนุษย”์ (การรวมสองขอ้ น้เี ป็นบญั ญตั หิ น่ึง
เดยี ว ขอให้ดูดา้ นล่าง) เป็นกุญแจสาคญั ในการตคี วามการเผยแสดงจากพระเป็นเจา้ ทุกอย่าง ไม่ใช่แค่ธรรมบญั ญตั ิ
อย่างเดยี วเทา่ นนั้ แต่รวมถงึ บรรดาประกาศกดว้ ย

ข้อคิดไตรต่ รอง
ถงึ แมว้ า่ บทเทศน์สอนบนภเู ขาจะเป็นคาสอนขนาดยาวทพ่ี ระเยซเู จา้ ทรงสอนบรรดาศษิ ยข์ องพระองค์

และประชาชนเกย่ี วกบั การมคี วามรกั เป็นพน้ื ฐานสาคญั ของการเป็นศษิ ย์ (5:21-48) แตใ่ นสว่ นการเผชญิ หน้ากบั ผทู้ ่ี
ตอ่ ตา้ นครงั้ สรปุ จบน้ี นกั บุญมทั ธวิ ใหพ้ ระเยซูเจา้ มโี อกาสสรุปแกน่ คาสอนของพระองคอ์ กี ครงั้ (เช่น ใน 7:12: “ทา่ น

489

อยากใหเ้ ขาทากบั ทา่ นอยา่ งไร กจ็ งทากบั เขาอยา่ งนนั้ เถดิ น่คี อื ธรรมบญั ญตั แิ ละคาสอนของบรรดาประกาศก”) ในบทเทศน์สอนนนั้ เป็นการ
สอนบรรดาศษิ ย์ ในสว่ นน้ีเป็นการสอนผทู้ ต่ี ่อตา้ นพระองคใ์ นสถานการณ์โตเ้ ถยี ง ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ วา่ หลกั คาสอน
ของพระองคส์ นบั สนุนธรรมบญั ญตั แิ ละประกาศกทงั้ หมด เน่อื งจากในฉากน้ีนกั บญุ มทั ธวิ มงุ่ เน้นแงม่ ุมทเ่ี ป็นการ
โตเ้ ถยี ง ทา่ นไมไ่ ดส้ รา้ งประเดน็ ปัญหาทางครสิ ตศาสตรท์ ท่ี าใหน้ กั ตคี วามสมยั ใหม่รสู้ กึ สนใจ (ดู เทยี บกบั พระวรสาร
ของนกั บุญลกู าทม่ี กี ารยา้ ยตาแหน่งเน้อื ความสว่ นน้ี และ 10:25-28) คอื (1) ความหมายของ “ความรกั ” (2) ความหมายของ
“เพอ่ื นบา้ น” และ (3) ความหมายของการตอบสนองของพระเยซูเจา้ ดว้ ยบทบญั ญตั ทิ งั้ สองขอ้ น้ี

1. คาทใ่ี ชส้ อ่ื ถงึ “ความรกั ” ในทน่ี ้คี อื คาภาษากรกี ajgapa"w “agapao” ซง่ึ เป็นรปู ภาษาพดู ของคาวา่ “agape”
ผู้ตีความควรขจดั ความสงสยั ธรรมประเพณีท่ีนับถือกนั จนแทบไม่มใี ครกล้าละเมดิ น้ี ซ่ึงก็คอื ความเช่อื ท่ีว่า
ความหมายของคาภาษากรกี “agape” นนั้ มมี นตรว์ เิ ศษบางอย่าง แน่นอนว่าในความเขา้ ใจของครสิ ตชน “agape”
มคี วามพเิ ศษอย่ใู นการรกั พระเป็นเจา้ รกั เพ่อื นบา้ น และรกั โลก ตามท่พี ระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่แสดงไว้
แต่สงิ่ น้ีไม่ได้รวมถึงความหมายของคาภาษากรกี ท่ีเฉพาะเจาะจง ผู้เขยี นพระคมั ภีร์เป็นภาษากรกี นัน้ อยู่ใน
สถานการณ์ท่ใี กล้เคยี งกบั นักตคี วามชาวองั กฤษ คอื มคี าหลายคาท่แี ปลว่า “รกั ” ซ่งึ มคี วามหมายทบั ซ้อนกนั
เช่นเดยี วกบั ในภาษาองั กฤษ ภาษากรกี ไม่มคี าเพยี งคาเดยี วท่ีมคี วามหมายดงั้ เดมิ ส่อื เฉพาะเจาะจงถงึ ความรกั
แบบทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงรกั โลกและแบบทท่ี รงบญั ญตั ใิ หช้ าวครสิ ตร์ กั พระองค์ รกั กนั และกนั และรกั เพ่อื นบา้ นของ
ตน ขอกล่าวอย่างชดั เจนในทน่ี ้ีว่า “agape” ไมใ่ ชค่ าทม่ี คี วามหมายเช่นนนั้ พระเยซูเจา้ และชาวครสิ ตไ์ ม่ไดค้ ดิ คน้
คาน้ีขน้ึ มา มนั เป็นคาท่พี บในพระคมั ภรี ฉ์ บบั 70 (LXX) ในความหมายทห่ี ลากหลาย เช่น ความรกั พระเป็นเจา้
(ฉธบ 6: 5) และรกั เพ่อื นบ้าน (ลนต 19:18) และเหมอื นกบั ในส่วนน้ี แต่มกี ารนามาใชส้ ่อื ถงึ ความรกั แบบกามารมณ์
(เช่น ยรม. 2: 251, 332) และความรกั เงนิ ทองดว้ ย (ปญจ 5:93) มนั มคี วามหมายเหมอื นกบั คาว่า “epithymia” ในบทเพลง
ของซาโลมอน บทท่ี 6 และคาว่า “philia” ใน 7:144; 8:25 พระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ไดร้ บั เอาทุกความหมาย
ท่หี ลากหลายของคาว่า “agape” มกี ารใช้ใน 2ปต 2:15 ในแง่ท่เี ป็นความรกั เงนิ ทองของบาลาอมั และใน ลก
6:326 ในแง่ทเ่ี ป็นความรกั ท่คี นบาปรกั กนั และกนั ส่วนใน ยน. 3:197 มกี ารนาคาน้ีมาใชก้ ล่าวถงึ การทค่ี นชวั่ รกั
ความมดื นอกจากน้ีคาว่า “agape” (คานาม) และ “agapao” (คากรยิ า) เป็นคาท่มี คี วามหมายเหมอื นกบั คาว่า
philieo/philia ใน ยน. 21:15-17 ซง่ึ เป็นขอ้ ความทผ่ี คู้ นชน่ื ชอบแต่มกั เขา้ ใจผดิ ตามธรรมเนียมของการตคี วาม คา
ว่า “phileo” หมายถึงความรกั ซ่ึงกนั และกนั แบบมติ รภาพระหว่างเพ่อื น ซ่ึงต่ากว่าความรกั แบบเสยี สละท่เี ป็น
ความหมายของ “agape” แต่ความจรงิ มกี ารใชค้ าน้ีสอ่ื ถงึ ความรกั ทเ่ี ป็นการเสยี สละตวั ตนอยา่ งลกึ ซ้งึ ทส่ี ุดทงั้ ของ
มนุษยแ์ ละพระเป็นเจา้ (มธ. 10:37; ยน. 5:20; 11:3, 36;16:27; 20:2; 1คร. 16:22; ทต. 3:15; วว. 3:19) เม่อื ครสิ ตชนใชค้ าว่ารกั ส่อื
ถงึ พระเป็นเจา้ หรอื ความสมั พนั ธร์ ะดบั ลกึ ทส่ี ุดของมนุษย์ และในทที ่าทพ่ี วกเขาเรยี กว่าการปฏบิ ตั ติ ่อโลก เราไม่
ควรนาเอาความหมายของคาพเิ ศษคาหน่ึงในภาษากรกี มาเตมิ เตม็ เน้ือหาของคาน้ี แต่เราควรใหค้ วามหมายจาก

1 ยรม. 2: 25 “จงระวงั อยา่ ใหเ้ ทา้ ของทา่ นขาดรองเทา้ จงระวงั อยา่ ใหล้ าคอของท่านแหง้ แตท่ า่ นพดู วา่ “ป่วยการเปลา่ เพราะขา้ พเจา้ รกั เทพเจา้ อน่ื และ
จะตดิ ตามเทพเจา้ เหลา่ นนั้ ”
2 ยรม. 2: 33 ทา่ นรจู้ กั เลอื กทางไปหาความรกั ไดอ้ ยา่ งดี ทงั้ ยงั สอนวธิ กี ารของท่านใหแ้ ก่หญงิ ชวั่ ดว้ ย
3 ปญจ 5:9 ผลผลติ ของแผ่นดนิ มไี วส้ าหรบั ทกุ คน แมก้ ษตั รยิ ก์ ย็ งั ตอ้ งทรงพง่ึ ผลผลติ ของท่งุ นา
4 พซม. 7: 10 ดฉิ นั เป็นกรรมสทิ ธขิ ์ องทร่ี กั ของดฉิ นั ความปรารถนาของเขาคอื ตวั ดฉิ นั
5 พซม. 8: 1ก เพอ่ื จะจุมพติ เธอไดเ้ มอ่ื ดฉิ นั พบเธอนอกบา้ น แลว้ ใครๆ จะดถู กู ดฉิ นั ไม่ได้ 2 ดฉิ นั จะไดน้ าเธอเขา้ มาในบา้ นมารดาของดฉิ นั เธอจะได้
สอนดฉิ นั ดฉิ นั จะใหเ้ ธอด่มื เหลา้ องนุ่ ผสมเครอ่ื งหอม และดม่ื น้าทบั ทมิ ของดฉิ นั
6 ลก.6: 32 ถา้ ทา่ นรกั เฉพาะผทู้ ร่ี กั ท่าน ท่านจะเป็นทพ่ี อพระทยั ของพระเจา้ ไดอ้ ยา่ งไร คนบาปกย็ งั รกั ผทู้ ร่ี กั เขาดว้ ย
7 ยน. 3: 19ข แต่มนุษยร์ กั ความมดื มากกวา่ รกั ความสว่าง เพราะการกระทาของเขานนั้ ชวั่ รา้ ย

490

ความเขา้ ใจพระธรรมชาตขิ องพระเป็นเจ้าท่ที รงแสดงผ่านพระครสิ ต์ ดว้ ยมุมมองท่เี ป็นการเผยแสดงน้ี เราจะ
สามารถรู้จกั ความรกั ในลกั ษณะท่ีปราศจากแรงผลกั ดนั ปราศจากการควบคุมบงการ ไม่มเี ง่อื นไข และไม่มี
ขอ้ จากดั ความรกั เช่นน้ีไม่ใช่เร่อื งของความรสู้ กึ ซ่งึ เป็นสง่ิ ทค่ี วบคุมไม่ไดไ้ ม่ว่าจะในกรณีใดๆ แต่เป็นเร่อื งของ
การรกั ษาสญั ญาและการกระทา “agape”อยู่คนละขวั้ กบั อารมณ์หรอื ความรูส้ กึ อ่อนไหว และเช่อื มโยงกบั คาว่า
“ความรกั แห่งพนั ธสญั ญา” (Covenant Love) หรอื “ความรกั ท่ีมนั่ คงแน่นอน” (Steadfast Love) ท่ีอยู่ในพระ
คมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาเกา่

2. ในบรบิ ทของพระคมั ภรี ์ภาคพนั ธสญั ญาเก่า เพ่อื นบา้ นหมายถงึ ชาวอสิ ราเอลคนอ่นื แต่ความเขา้ ใจของ
นักบุญมทั ธวิ ได้ขยายความรกั ท่ีบรรดาศษิ ย์เรยี กน้ีให้แผ่ขยายไปถงึ แม้กระทงั ่ ศตั รู (ดู เก่ยี วกบั 5:43; 25:31-36) ซ่ึง
แตกต่างจากบญั ญตั แิ ห่งความรกั ในพระวรสารนักบุญยอหน์ ทม่ี ลี กั ษณะเป็น “สง่ิ ใหม่” มากกว่าเป็นแก่นแทข้ อง
การเผยแสดงความหมายของพระคมั ภรี ์ ซง่ึ ถกู จากดั อยเู่ ฉพาะผทู้ เ่ี ป็นชาวครสิ ตเ์ ท่านนั้ (ยน. 13: 34; 1ยน. 2: 9-10; 3:15

ซง่ึ เจาะจงเฉพาะ”พน่ี ้องชายหญงิ ”)

3. การท่มี คี นขอบญั ญตั จิ ากพระเยซูเจา้ หน่ึงขอ้ แต่พระองค์ตอบไปสองขอ้ นัน้ เป็นสง่ิ ท่โี ดดเด่นมาก มแี ต่
พระวรสารของนกั บุญมทั ธวิ ทม่ี กี ารเตมิ ความหมายทเ่ี จาะจงวา่ ขอ้ ทส่ี องนนั้ “เหมอื นกบั ” (Like / homoia) ขอ้ แรก
ซ่งึ ไม่ไดห้ มายความเพยี งแต่ว่ามนั มลี กั ษณะคลา้ ยกบั ขอ้ แรกเท่านัน้ แต่ยงั มคี วามสาคญั เท่ากนั และไม่อาจแยก
จากขอ้ แรกได้ พระมหาบญั ญตั แิ ห่งการรกั พระเป็นเจา้ นัน้ มบี ญั ญตั ทิ ่คี ู่กนั มาและไม่อาจแยกกนั ได้ คอื การรกั
เพ่อื นมนุษย์ เราไม่อาจรกั พระเป็นเจา้ ก่อนแลว้ ค่อยมารกั เพ่อื นมนุษยท์ หี ลงั เพราะการรกั พระเป็นเจา้ กเ็ ท่ากบั
การรกั เพอ่ื นมนุษย์ และการรกั เพอ่ื นมนุษยก์ เ็ ทา่ กบั การรกั พระเป็นเจา้

มทั ธวิ 22:41-46 คาถามเกย่ี วกบั บุตรแห่งดาวดิ

พระคริสตเจา้ ทรงเป็นทงั้ โอรสของกษตั ริยด์ าวิดและทรงเป็นองคพ์ ระผ้เู ป็นเจ้าด้วย
41 ขณะท่ชี าวฟารสิ มี าชุมนุมกนั พระเยซูเจา้ ทรงถามว่า 42 “ท่านคดิ อย่างไรเก่ยี วกบั พระครสิ ตเจา้ พระองค์ทรงเป็นโอรส

ของใคร” ชาวฟารสิ ที ลู ตอบวา่ “เป็นโอรสของกษตั รยิ ด์ าวดิ ” 43 พระองคจ์ งึ ตรสั วา่ “ถา้ เชน่ นนั้ เพราะเหตุใด เมอ่ื กษตั รยิ ด์ าวดิ ทรง
ไดร้ บั การดลใจจากพระจติ เจา้ จงึ เรยี กพระครสิ ตว์ า่ องคพ์ ระผเู้ ป็นเจา้ และตรสั วา่

44 องคพ์ ระผเู้ ป็นเจา้ ไดต้ รสั แก่องคพ์ ระผเู้ ป็นเจา้ ของขา้ พเจา้ วา่
เชญิ ประทบั นงั่ เบอ้ื งขวาของเรา
จนกวา่ เราจะทาใหศ้ ตั รขู องพระองคอ์ ยใู่ ตพ้ ระบาทของพระองค์
45 “ถา้ กษตั รยิ ์ดาวดิ ทรงเรยี กพระครสิ ต์วา่ เป็นองค์พระผเู้ ป็นเจา้ พระครสิ ต์จะทรงเป็นโอรสของกษตั รยิ ์ดาวดิ ไดอ้ ย่างไร” 46 ไม่มี
ใครตอบพระองคไ์ ด9้ และจากวนั นนั้ เป็นตน้ มา ไมม่ ผี ใู้ ดกลา้ ทลู ถามพระองคอ์ กี เลย

491

ข้อศึกษาวิพากษ์
ในพระวรสารนักบุญมาระโก สว่ นน้ีเป็นคาถามสรุปจบท่ีเป็นคาถามเชงิ วาทศลิ ป์ (Rhetorical Question)

เป็นส่วนหน่ึงของบทพูดคนเดยี วของพระเยซูเจา้ ทท่ี า้ ทายการระบุตวั ตนผเู้ ป็นพระเมสสยิ าหแ์ ละบุตรแห่งดาวดิ
นักบุญมาระโกยนื ยนั ว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็นพระเมสสยิ าห์ แต่ท้าทายการอธบิ ายความหมายของตาแหน่งน้ีใน
ฐานะของ “บุตรแห่งดาวิด” (Son of David) เพราะสาหรบั นักบุญมาระโก คาน้ีมคี วามเก่ยี วขอ้ งกบั การใชค้ วาม
รุนแรง การเอาชนะดว้ ยกาลงั ทหาร และอาณาจกั รท่เี ป็นของโลกน้ีมากเกนิ ไป นักบุญมทั ธวิ มมี ุมมองทางบวก
เก่ยี วกบั คาว่า “บุตรแห่งดาวดิ ” ในฐานะช่อื ตาแหน่งทางครสิ ตศาสตร์ของพระเยซูเจ้า (ดูบทเสรมิ เร่อื ง “ครสิ ตศาสตร์
ของมทั ธวิ ” และคาอธบิ ายเกย่ี วกบั 1:2-25) เขานาฉากเหตุการณ์น้ีมาเขยี นขน้ึ ใหม่โดยทาใหเ้ ป็นวงเลบ็ ของ 21:1-9 ซง่ึ เป็น
สว่ นทพ่ี ระเยซูเจา้ ไดร้ บั การโห่รอ้ งสรรเสรญิ อย่างกกึ กอ้ งวา่ เป็นบุตรแห่งดาวดิ เขาเปลย่ี นจากบทพดู คนเดยี วให้
กลายเป็นบทสนทนาโตเ้ ถยี งทพ่ี ระเยซูเจา้ แสดงใหเ้ หน็ ว่าชาวฟารสิ เี ป็นผทู้ ไ่ี ม่สามารถตคี วามพระคมั ภรี ไ์ ดอ้ ย่าง
ถูกตอ้ ง

22:41 นักบุญมทั ธวิ นาชาวฟารสิ เี ขา้ มาส่เู ร่อื งราวอกี ครงั้ โดยเปลย่ี นจากฝงู ชนโดยรวมในพระวรสารมาระ
โก และแสดงภาพว่าพวกเขา “รวมตวั กนั ” (Gathering) อกี ครงั้ โดยมคี วามหมายทางนัยท่เี ป็นทางลบในเร่อื ง
ศาลาธรรม (ดู ดา้ นบนเกย่ี วกบั 22: 34) พระเยซูเจา้ ไม่ไดท้ รง “กาลงั สอน” เหมอื นในพระวรสารนักบุญมาระโก แต่เป็น
ผเู้ รม่ิ ตน้ พดู กอ่ น (นกั บญุ มทั ธวิ นาคาสอนแทรกเขา้ ไปใน 21:23)

22:42 หลงั จากเอาชนะคาทา้ ทายหลายอยา่ งจากชาวฟารสิ แี ละผนู้ ากลุ่มอ่นื ๆ ใน 21:23-22:40 พระเยซูเจา้
ได้เปล่ยี นมาเป็นฝ่ ายเรม่ิ บทสนทนาก่อนด้วยการตงั้ คาถามโดยตรง (Direct Question) ว่า “ท่านคดิ อย่างไร
เกย่ี วกบั พระเมสสยิ าห?์ พระองคท์ รงเป็นบุตรของใคร?” ในบรบิ ทของชาวยวิ คาวา่ “บตุ ร” มคี วามหมายมากกว่า
การสบื เช้อื สายทางกายภาพและชวี ภาพ มนั เป็ นเร่อื งของบุคลกิ ลกั ษณะ การจดั ว่าคนผูห้ น่ึงอย่ใู นกลุ่มใด และ
เชอ่ื ฟังใคร (ดบู ทเสรมิ เรอ่ื ง “ครสิ ตศาสตรข์ องมทั ธวิ ”)

เม่อื มองอย่างผวิ เผนิ คาตอบของชาวฟารสิ ที ว่ี า่ พระครสิ ต์คอื บุตรแห่งดาวดิ นบั ว่าถูกตอ้ งแลว้ แตกต่างจาก
ในพระวรสารนักบุญมาระโก นักบุญมทั ธวิ ไม่เพยี งแต่เหน็ ดว้ ยแต่ยงั ใหค้ วามสาคญั กบั การระบุตวั ตนน้ี (1: 1-25)
แน่นอนว่านักบุญมทั ธวิ กบั ผตู้ ่อตา้ นทเ่ี ป็นชาวฟารสิ คี ดิ เหน็ ไม่ตรงกนั เร่อื งทว่ี ่าพระเยซูเจา้ คอื พระเมสสยิ าห์ แต่
พวกเขาไม่ไดเ้ ถยี งกนั วา่ “บตุ รแห่งดาวดิ ” คอื ตาแหน่งทางครสิ ตศาสตรท์ ถ่ี กู ตอ้ งหรอื ไม่ ในเรอ่ื งน้ี ประเดน็ สาคญั
คอื ความหมายของคาวา่ “บุตรแหง่ ดาวดิ ”

22:43-46 น่ีคอื ประเดน็ คาถามของพระเยซูเจา้ ในเน้ือหาส่วนน้ีของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ โดยคาทส่ี าคญั
คอื คาว่า “อย่างไร” (How / pw’v pos) ถูกยา้ ยตาแหน่งเร่อื งท่วี ่าธรรมาจารย์เรยี กพระเมสสยิ าห์ว่า “บุตรแห่งดา
วดิ ” ถูกตอ้ งหรอื ไม่นนั้ ไม่ใชค่ าถามเชงิ วาทศลิ ป์ แบบในพระวรสารนกั บุญมาระโก ซง่ึ เป็นการบอกเป็นนยั ว่าพวก
เขาผดิ (pos เหมอื นใน 7:4; 12:26, 29, 34; 23:33) ในท่นี ้ีคาถามท่ีนักบุญมทั ธวิ ต้องการจะรบั มอื ก็คอื คาถามเชงิ อธบิ าย
ความว่าดาวดิ ซ่งึ เป็นผูเ้ ขยี นบทเพลงสดุดี 110 จากการดลใจของพระเป็นเจา้ เรยี กพระเมสสยิ าหว์ ่า “พระเจ้า
ขา้ ” และจะมี “บุตร” เป็นพระเมสสยิ าหไ์ ดอ้ ยา่ งไร ซง่ึ เรอ่ื งน้ีนกั บุญมทั ธวิ ยนื ยนั ทางออ้ มว่าเป็นความจรงิ ชาวฟาริ
สผี ซู้ ่งึ อา้ งว่าตนเป็นครูผสู้ อนประชากรของพระเป็นเจา้ ไม่สามารถอธบิ ายคาถามเกย่ี วกบั พระคมั ภรี ข์ อ้ น้ีได้ แต่
ครผู สู้ อนในครสิ ตจกั รของนกั บญุ มทั ธวิ สามารถอธบิ ายไดว้ า่ (1) ในฐานะพระครสิ ต์ พระเยซูเจา้ จงึ ทรงเป็นทงั้ พระ
เป็นเจ้าและบุตรแห่งดาวดิ แต่เราต้องเช่ือว่าพระเยซูเจ้าเป็นพระครสิ ต์ก่อนจึงจะสามารถเข้าใจสิง่ น้ีได้ (2)

492

ความคดิ เร่อื งบุตรแห่งดาวดิ ไดถ้ ูกปรบั เปลย่ี นในกระบวนการผสมผสานของครสิ ตชนใหเ้ ป็นตาแหน่งทางครสิ ต
ศาสตร์ หากบตุ รแหง่ ดาวดิ คอื พระเยซูเจา้ คาน้กี ม็ เี น้อื หาใหม่

ศาสนาครสิ ต์ยุคเรมิ่ แรกพบว่า หนังสอื เพลงสดุดสี นับสนุนมุมมองทางครสิ ตศาสตรเ์ ป็นอย่างมาก มนั เป็น
เน้อื หาทถ่ี ูกนามาอา้ งองิ บ่อยทส่ี ดุ ในพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ ซง่ึ มที งั้ การยกขอ้ ความมาอา้ งองิ โดยตรงหรอื
กล่าวถงึ โดยเปรยี บเทยี บทงั้ หมด 37 ครงั้ แตย่ งั ไมช่ ดั เจนวา่ ในศาสนายดู ายสมยั นนั้ มกี ารนาหนงั สอื เพลงสดดุ ไี ป
ตคี วามในแบบทเ่ี กย่ี วกบั พระเมสสยิ าหห์ รอื ไม่ ในหนงั สอื เพลงสดุดดี งั้ เดมิ คาวา่ “Lord” คาแรกหมายถงึ พระยาห์
เวห์ สว่ นคาทส่ี องหมายถงึ กษตั รยิ แ์ หง่ อสิ ราเอลผถู้ กู เจมิ พระเป็นเจา้ ทรงแต่งตงั้ กษตั รยิ ผ์ นู้ นั้ ซง่ึ นกั แตง่ บทเพลง
สดุดีเรยี กว่า “พระเป็นเจ้าของข้า” (My Lord) ให้นัง่ บนบัลลงั ก์ “เบ้ืองขวา” (Right Hand) ของพระผู้เป็นเจ้า
กล่าวคอื ในส่วนอาคารทเ่ี ป็นพระราชวงั ซง่ึ อย่ทู างตอนใตข้ องส่วนอาคารทเ่ี ป็นพระวหิ าร (คาภาษาฮบิ รทู แ่ี ปลวา่ “ขวา”
กบั คาทแ่ี ปลว่า “ใต้” คอื คาเดยี วกนั ) ในฐานะ “ผู้ถูกเจมิ ” (Anointed One) กษตั รยิ ์ในท่นี ้ีได้รบั การตคี วามในแง่ของพระ
เมสสยิ าห์ ดงั นัน้ คาถามกค็ อื ดาวดิ ผูซ้ ่งึ เราสนั นิษฐานว่าเป็นผูแ้ ต่งหนังสอื เพลงสดุดจี ะไดร้ บั การดลใจให้เรยี ก
พระเมสสยิ าห์ว่า “พระเป็นเจ้าของขา้ ” ได้อย่างไรหากพระเมสสยิ าห์เป็น “บุตร” ของพระองค์ด้วย ชาวฟารสิ ี
ยอมรบั หลกั ฐานทงั้ หมดในขอ้ โตแ้ ยง้ น้ี (แต่เป็นปัญหามากสาหรบั คนยุคใหม)่ แต่ไมส่ ามารถตอบคาถามได้ ดงั นนั้ พวกเขา
จงึ แสดงออกมาใหเ้ หน็ เองวา่ ตนเป็นผู้ทไ่ี ม่มคี วามสามารถเพยี งพอทจ่ี ะตคี วามพระคมั ภรี ์ หน้าทห่ี ลกั ของเน้ือหา
ส่วนน้ีคอื การนาเสนอพระเยซูเจ้าในฐานะผู้ชนะการโต้เถยี งรุนแรงท่มี าจากความประสงค์รา้ ยต่อพระองค์ซ่ึง
เกดิ ขน้ึ ตดิ ต่อกนั หลายครงั้ พวกเขาท้าทายพระเยซูเจา้ ถงึ 4 ครงั้ แต่ไม่ประสบความสาเรจ็ แต่พอพระองคเ์ ป็น
ฝ่ายเรมิ่ ต้นสนทนาบ้าง พวกเขากไ็ ด้แต่เงยี บ มนั สาคญั สาหรบั นักบุญมทั ธวิ ท่จี ะต้องแสดงให้ชาวฟารสิ เี หน็ ถงึ
ความเหนือกว่าของพระเยซูเจา้ ก่อนหน้าการตดั สนิ คดขี องพระองค์ เพราะว่าทนั ใดนัน้ พระองค์กห็ นั ไปพูดกบั
บรรดาศษิ ยแ์ ละฝงู ชน ซง่ึ เป็นเพยี งผทู้ อ่ี าจจะมาเป็นศษิ ยข์ องพระองคใ์ นอนาคต หลงั จากเอาชนะผตู้ อ่ ตา้ นไดแ้ ลว้
พระเยซูเจา้ กไ็ ม่ไดเ้ ผชญิ หน้ากบั พวกเขาอกี เลยจนกระทงั่ ถงึ ตอนตดั สนิ คดี ซ่งึ ในตอนนัน้ พระองคแ์ ทบจะเงยี บ
สนิท (23:13-39 ไม่ได้เป็นการพูดกับชาวฟารสิ ี) นับแต่ตอนน้ีไปพระเยซูเจ้าได้แต่ตรสั กบั ฝูงชนและบรรดาศิษย์ของ
พระองคเ์ ทา่ นนั้ ดงั นนั้ 22:46 จงึ เป็นตวั ชข้ี าดทท่ี าใหก้ ารโตแ้ ยง้ สน้ิ สดุ ลง นกั บญุ มทั ธวิ นา มก. 12:34ข มาเปลย่ี น
ตาแหน่งใหมแ่ ละเรยี บเรยี งใหม่ ดงั นนั้ คาวา่ “จากนนั้ ” (Then / tote) ใน 23:1 จงึ เป็นคาต่อประโยค (Disjunctive)
และอาจชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ วนั ใหม่

ข้อคิดไตร่ตรอง
เน้ือหาส่วนน้ีซ่งึ แสดงภาพของพระเยซูเจา้ โตเ้ ถยี งในเชงิ เทวศาสตรก์ บั กลุ่มผนู้ าศาสนา มกี ารยกขอ้ ความ

วรรคทผ่ี คู้ นในยุคแรกเรม่ิ ของพระศาสนจกั รชน่ื ชอบกนั มาก คอื สดุดี 110:1 ตามทไ่ี ดก้ ล่าวไวใ้ นขอ้ คดิ เหน็ วรรค
น้ีเป็นวรรคท่มี ผี ูย้ กมาอา้ งองิ บ่อยท่สี ุดในพระคมั ภีรภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ โดยมปี รากฏในรูปแบบต่างๆ ถงึ 37
ครงั้ แน่นอนว่ามนั ย่อมเป็นส่วนสาคญั ของพธิ บี ูชาพระเป็นเจ้าในศาสนาครสิ ต์ยุคแรกเรม่ิ ผู้อ่านกลุ่มแรกของ
พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ จะคดิ อยา่ งไรถา้ พวกเขาไดย้ นิ ขอ้ ความทพ่ี วกเขารับจากพธิ บี ชู าขอบพระคุณออกมาจาก
ปากของพระเยซูเจา้ ในการโตเ้ ถยี งเชงิ เทวศาสตร์ มนั กเ็ หมอื นการดูการโตว้ าทที างการเมอื งแลว้ หน่ึงในผแู้ ขง่ ขนั
อยู่ๆ ก็พูดออกมาว่า “เมอื่ ขา้ ฯมองกางเขนอนั แสนอศั จรรย์ทเี่ จ้าชายแห่งพระสริ ริ ุ่งโรจน์ได้ส้นิ ชวี ติ บนนัน้ สงิ่
มากมายทขี่ า้ ฯไดร้ บั กไ็ มม่ คี วามหมายใดๆ และขา้ รงั เกยี จความจองหองทงั้ หมดของตนเอง”

493

อย่างน้อยท่สี ุดผูอ้ ่านของนักบุญมทั ธวิ กร็ ูว้ ่าภาษาทใ่ี ชใ้ นพธิ บี ูชาเช่อื มโยงกบั ภาษาขององค์พระผูเ้ ป็นเจา้
และอาจตระหนักด้วยว่าพธิ บี ูชาของพวกเขาเป็นการโต้วาทที างเทวศาสตรอ์ ย่างหน่ึงกบั วฒั นธรรม เพราะคน
กลุ่มใดกต็ ามทก่ี ลา้ รอ้ งเพลงว่า “จงสรรเสรญิ พระเป็นเจา้ ผซู้ งึ่ สงิ่ ดงี ามทงั้ ปวงหลงั่ ไหลออกมา” กค็ อื การโตเ้ ถยี ง
อย่างดุเดอื ดกบั วฒั นธรรมท่รี อ้ งเพลงว่า “จงสรรเสรญิ ดารา นักรอ้ งและอานาจของคนร่ารวย ทุกสง่ิ ท่พี วกเรา
ไขวค่ วา้ หลงั่ ไหลออกมาจากพวกเขา”

494


Click to View FlipBook Version