The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจงานแปลมัทธิว 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by P. Tads, 2021-06-05 00:24:11

6. มัทธิว 4: 1-11

ตรวจงานแปลมัทธิว 4

มทั ธิว 4: 1-11 การประจญล่อลวง

พระเยซูเจ้าทรงถกู ทดลองในถ่ินทุรกนั ดาร

1 เวลานนั้ พระจติ เจา้ ทรงนาพระเยซเู จา้ ไปในถนิ่ ทุรกนั ดาร เพอ่ื ใหป้ ีศาจมาผจญพระองค์
2 เมอ่ื ทรงอดอาหารสส่ี บิ วนั สส่ี บิ คนื แลว้ ทรงหวิ 3 ปีศาจผผู้ จญจงึ เขา้ มาใกล้ ทลู วา่ “ถา้ ท่านเป็นบตุ รพระเจา้ จงสงั่ กอ้ นหนิ เหล่า
น้ีใหก้ ลายเป็นขนมปังเถดิ ” 4 แต่พระองคต์ รสั ตอบวา่ “มเี ขยี นไวใ้ นพระคมั ภรี ว์ า่

มนุษยม์ ิได้ดำรงชีวิตด้วยอำหำรเท่ำนัน้
แต่ดำรงชีวิตด้วยพระวำจำทุกคำทีอ่ อกจำกพระโอษฐ์ของพระเจ้ำ”
5 ต่อจากนนั้ ปีศาจอมุ้ พระองคไ์ ปยงั นครศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ วางพระองคล์ งทย่ี อดพระวหิ าร แลว้ ทลู วา่ 6 “ถา้ ทา่ นเป็นบุตรพระเจา้ จง
กระโดดลงไปเบอ้ื งลา่ งเถดิ เพราะมเี ขยี นไวใ้ นพระคมั ภรี ว์ า่
พระเจำ้ ทรงสงั่ ทตู สวรรคเ์ กีย่ วกบั ท่ำน
ให้คอยพยงุ ท่ำนไว้ มิให้เท้ำกระทบหิน”
7 พระเยซูเจา้ ตรสั ตอบวา่ “ในพระคมั ภรี ย์ งั มเี ขยี นไวด้ ว้ ยวา่
อยำ่ ทดลององคพ์ ระผ้เู ป็นเจำ้ พระเจำ้ ของท่ำนเลย”
8 อกี ครงั้ หน่ึงปีศาจนาพระองคไ์ ปบนยอดเขาสงู มาก ชใ้ี หพ้ ระองคท์ อดพระเนตรอาณาจกั รรงุ่ เรอื งตา่ งๆ ของโลก 9 แลว้ ทลู วา่
“เราจะใหท้ ุกสง่ิ น้ีแก่ทา่ น ถา้ ทา่ นกราบนมสั การเรา” 10 พระเยซูเจา้ จงึ ตรสั วา่ “เจา้ ซาตาน จงไปใหพ้ น้ ยงั มเี ขยี นไวใ้ นพระคมั ภรี ์
วา่
จงกรำบนมสั กำรองคพ์ ระผ้เู ป็นเจ้ำ พระเจ้ำของท่ำน
และรบั ใช้พระองคแ์ ต่ผเู้ ดียวเท่ำนัน้ ”
11 ปีศาจจงึ ไดล้ ะพระองคไ์ ป แลว้ ทตู สวรรคก์ เ็ ขา้ มาปรนนิบตั ริ บั ใชพ้ ระองค์

พระเยซเู จา้ ทรงเขา้ ไปในถนิ่ ทรุ กนั ดาร The Temptations of Christ, 12th
century mosaic at St Mark's Basilica,Venice

ข้อศึกษาวิพากษ์

ไม่มธี รรมประเพณีของชาวยวิ สว่ นใดระบุไวว้ ่าพระเมสสยิ าหจ์ ะตอ้ งถูกซาตานผจญล่อลวง เร่อื งราวสว่ น
น้ีมาจากชาวครสิ ต์ยุคแรกเรม่ิ ซง่ึ เขยี นแยกต่างหากอย่ใู นเอกสารแหล่ง Q และพระวรสารนกั บุญมาระโก โดยใน
พระวรสารนัน้ การเผชญิ หน้าระหว่างพระเยซูเจ้ากบั ซาตานเป็นการทดสอบความแขง็ แกร่ง ไม่ใช่ล่อลวงทาง
ศลี ธรรม และไมม่ กี ารแลกเปลย่ี นถอ้ ยคาใดๆ แต่เรอ่ื งเล่าน้ีในเอกสารแหล่ง Q มเี น้ือหายาวกวา่ มาก โดยซาตาน
พยายามล่อลวงพระบุตรผเู้ ช่อื ฟังของพระเป็นเจา้ ใหห้ ลงออกจากเสน้ ทาง เร่อื งเล่าในเอกสารแหล่ง Q มลี กั ษณะ
คล้ายกบั นิทานในศาสนายวิ (Haggadic Tales) ท่มี อี าจารย์สอนศาสนาตอบโต้กนั ด้วยขอ้ ความในพระคมั ภีร์

99

ดงั นนั้ จงึ มรี ปู แบบบางสว่ นคลา้ ยกบั บทสนทนาท่ีตอบโตข้ ดั แยง้ กนั (Controversy Dialogue) ลกั ษณะทด่ี คู ขู่ นาน
มากทส่ี ุดคอื การโตเ้ ถยี งระหวา่ งพระเยซูเจา้ และบรรดาผนู้ าศาสนายดู าย (ไดแ้ ก่ มหาปุโรหติ , ผอู้ าวุโส, ฟารสิ ,ี สะดุส,ี ธรรมา
จารย)์ ใน มธ. 21:23-27; 22:15-23:36 ดูเหมอื นว่าธรรมาจารย์ชาวครสิ ต์ผูจ้ ดบนั ทกึ พระวาจาในชุมชนแหล่ง Q
ได้เขยี นเร่อื งน้ีข้นึ โดยใช้รูปแบบ (Model) เพ่อื สะท้อนให้เห็นถึงชยั ชนะของพระเยซูเจ้าในการเผชิญหน้ากบั
ซาตานในชว่ งเรม่ิ ตน้ พนั ธกจิ นกั บญุ มทั ธวิ ไดส้ รา้ งวงเลบ็ เชงิ วรรณกรรม (Literary Bracket) ขน้ึ โดยการสรา้ งบท
โต้แยง้ กบั ซาตานน้ีเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั การโต้แยง้ กบั ผนู้ าชาวยวิ ในช่วงทา้ ยของพนั ธกจิ พระเยซูเจา้ และส่อื ให้
เหน็ ถงึ ความขดั แยง้ ในจกั รวาลทซ่ี ่อนอย่เู บอ้ื งหลงั และปรากฏออกมาเป็นการเผชญิ หน้าระหว่างพระเยซูเจา้ กบั
ผู้นาชาวยิว(ซ่ึงเปรียบเสมือนตัวแทนของอาณาจกั รผู้ต่อต้านพระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้า และแฝงถึง
ขอ้ ขดั ขอ้ งโตแ้ ยง้ ในสถานการณ์ระหวา่ งผนู้ าชาวยวิ กบั พระศาสนจกั รสมยั นกั บญุ มทั ธวิ ในยคุ ศตวรรษแรกๆ)

มธ. 4:1-11 ไมใ่ ชก่ ารเรมิ่ ตน้ ใหม่ แตเ่ ป็นการดาเนินเรอ่ื งเล่าสบื เน่ืองจากฉากเหตุการณ์ทแ่ี ลว้ (ดู “ภาพรวม”
สาหรบั 3:1) ฉากน้ีเช่ือมโยงกบั 3:1-17 ด้วยคาสาคญั “พระจิตเจ้า” “ถ่ินทุรกนั ดาร” “พระบุตรของพระเป็นเจ้า”
แสดงถงึ แรงบนั ดาลใจแห่งน้าเสยี งของพระเป็นเจ้า (ซ่ึงมแี ก่นกลางจากขอ้ ความท่พี ระเยซูเจ้าทรงอ้างอิงจากหนังสอื เฉลยธรรม
บญั ญตั )ิ และในวธิ ที ล่ี ะเอยี ดออ่ นกว่านนั้ คอื การตา้ นทกั ทว้ งของนกั บุญยอหน์ และต่อตา้ นขดั สขู้ องซาตานกบั การ
ตอบสนองอยา่ งนบนอบเชอ่ื ฟังของพระบุตรต่อพระประสงคข์ องพระบดิ า

ความขดั แยง้ ของซาตานไม่ได้มเี ฉพาะ(ถูกจากดั )อย่ใู นส่วนน้ีของพระคมั ภรี เ์ ท่านนั้ แต่เป็นแงม่ ุมทซ่ี ่อน
อยู่เบ้อื งหลงั ความขดั แยง้ ระหว่างพระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้ากบั อาณาจกั รของโลกน้ี ซ่งึ เป็นเน้ือเร่อื งหลกั
ทงั้ หมดของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ความไม่ลงรอยกนั ระหว่างพระเยซูเจ้าและเหล่าผู้นาชาวยวิ ท่ีได้เกิดข้นึ
ตลอดทงั้ พระวรสารนนั้ เราสามารถคาดเดาไดจ้ ากรปู แบบความขดั แยง้ กบั กษตั รยิ เ์ ฮโรด มหาปุโรหติ และธรรมา
จารย์ (หรอื แมก้ ระทงั่ การทน่ี กั บุญยอหน์ อกึ อกั ลงั เลทจ่ี ะทาพธิ ลี า้ งใหพ้ ระเยซูเจา้ ) จรงิ ๆ แลว้ มนั คอื การปะทะกนั
ระหว่างอาณาจกั รทงั้ สอง พระเยซูเจา้ คอื ผูแ้ ทนของพระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้า ส่วนซาตานเป็นผูแ้ ทนของ
อาณาจกั รอีกแห่งหน่ึง (12:26) ดังนัน้ ในส่วนอ่ืนๆ ของพระวรสารน้ี คาว่า “ทดสอบ” (Test) หรอื “ประจญ,
ล่อลวง” (Tempt: ในภาษากรกี คอื peira"zw, Peirazo) เป็นคาและความหมายทน่ี ามาใชส้ าหรบั ผนู้ าชาวยวิ เท่านนั้ (16:1;
19:3; 22:18, 35) และพระเยซูเจา้ ทรงโตแ้ ยง้ พวกเขาดว้ ยการยกขอ้ ความจากพระคมั ภรี เ์ หมอื นทพ่ี ระองค์ทรงกระทา
ในตอนน้ี ความขดั แยง้ ระหวา่ งพระเยซูเจา้ และผนู้ าชาวยวิ เป็นมติ ภิ ายนอกของความไมล่ งรอยทซ่ี ่อนอยเู่ บอ้ื งหลงั
ระหวา่ งพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ กบั อาณาจกั รของซาตาน น่ีเป็นสาระทพ่ี ระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ ประสงคเ์ ล่า
ใหเ้ ขา้ ใจถงึ แก่นสาคญั ของเร่อื งเล่าน้ี พระเป็นเจา้ คอื ผปู้ ฏบิ ตั กิ าร(มบี ทบาทแสดง)ทซ่ี ่อนองคอ์ ยเู่ บอ้ื งหลงั สว่ นซาตาน
คอื ศตั รทู ่แี ฝงตวั ซ่อนเรน้ อย่เู ชน่ กนั เป็นเช่นน้ีตลอดทงั้ พระวรสาร แต่พระเป็นเจา้ จะทรงอย่นู อกฉากตลอด ส่วน
ซาตานสามารถปรากฏในทุกท่ี ในรูปของตัวละครในเร่ือง ซาตานจะทางานมีบทบาทอยู่ในโครงเร่ืองใน
สถานการณ์เชิงยุทธศาสตร์สาคญั ๆ เหตุน้ีความขดั แย้งระหว่างพระเยซูเจ้าและซาตานนัน้ ไม่ได้เกิดข้นึ ใน
ขอบเขตจากดั ใหเ้ หลอื อย่แู ค่ฉากใดฉากหน่ึงหรอื ฉากเดยี ว ในเทวศาสตรข์ องนกั บุญมทั ธวิ ถงึ แมซ้ าตานจะพา่ ย
แพ้ (12:28-29) แต่มนั ก็ยงั ล่อลวงพระเยซูเจ้าตลอดเส้นทางแห่งพันธกิจของพระองค์ (16:23) ณ เชิงกางเขนท่ี
พระองคถ์ ูกตรงึ และล่วงเลยยงั ช่วงเวลาของพระศาสนจกั ร (13:19, 39) ซาตานจะถูกทาลายลงในท่สี ุดในช่วงกาล
อวสานของโลก (25:41) เร่อื งเล่าเก่ยี วกบั พนั ธกจิ ของพระเยซูเจ้า ซ่งึ ไดเ้ รมิ่ ต้นขน้ึ ในตอนน้ีเป็นการเล่าแบบสอง
ระดบั คอื ไม่เพยี งแตแ่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ชวี ติ ในอดตี ของพระเยซูเจา้ เท่านนั้ แต่ยงั เล่าไปขา้ งหน้าถงึ ช่วงเวลาหลงั การ

100

กลบั คนื พระชนมช์ พี อกี ดว้ ย ซ่งึ ศษิ ยข์ องพระองคย์ งั คงตอ้ งเผชญิ หน้ากบั การต่อตา้ นการประกาศขา่ วดเี กย่ี วกบั
พระเยซูเจ้า ซ่ึงเกิดจากการกระทาของซาตานเช่นกนั (5:37; 6:13; 13:19, 39) การต่อต้านไม่ได้มาเฉพาะจากคน
ภายนอกเท่านนั้ แตม่ าจากศษิ ยอ์ น่ื ๆ ผเู้ ป็นคนภายในดว้ ย (16:23)

4:1 พระเยซูเจา้ ทรงเดนิ ทางมาจากกาลลิ ดี ว้ ยจุดประสงค์เพ่อื มารบั พธิ ลี า้ ง (3:13) และตอนน้ีพระองคท์ รง
ไดร้ บั การทรงนาจากพระจติ เพ่อื เขา้ สกู่ ารทดลอง ทงั้ หมดเป็นส่วนหน่ึงของแผนการของพระผเู้ ป็นเจา้ และการท่ี
พระองค์ทรงยนิ ยอมเขา้ สู่การประจญล่อลวงไม่ใช่อุบตั เิ หตุหรอื การตกเป็นเหย่อื อานาจของปิศาจ แต่เป็นส่วน
หน่งึ ของการเชอ่ื ฟังพระผเู้ ป็นเจา้

เช่นเดยี วกบั บรบิ ทของศาสนายูดายและธรรมประเพณีของเอกสารแหล่ง Q นักบุญมทั ธวิ ใช้ “จติ ชวั่ ”
“ซาตาน” และ “เบเอลเซบลู ” ซง่ึ เป็น “พญามาร”(Ruler of Demons) เพอ่ื ใหเ้ ป็นคาทห่ี มายถงึ ผทู้ เ่ี ป็นตวั แทนของ
อานาจชวั่ รา้ ยทป่ี รากฏเป็นตวั ตน ซง่ึ บางครงั้ กเ็ รยี กว่า “บไี ลอาร”์ (Beliar) และช่อื อ่นื ๆ ซง่ึ มมี าตงั้ แต่สมยั ศาสนา
ยูดายยุคแรกเรม่ิ และในพระคมั ภรี ์พนั ธสญั ญาใหม่ ในพระคมั ภรี ์ภาษาฮบี รู “ซาตาน” (หรอื แปลตรงตวั ว่า “ผู้
กล่าวหา”) เป็นสมาชกิ แห่งอาณาจกั รสวรรค์ (Heavenly Court) ทาหน้าทเ่ี ป็นอยั การศกั ดสิ ์ ทิ ธผิ ์ ปู้ ฏบิ ตั ติ ามพระ
ประสงคข์ องพระเป็นเจา้ ผทู้ รงเป็นผพู้ พิ ากษา นาจาเลยผตู้ อ้ งสงสยั เขา้ สกู่ ารทดลอง (โยบ 1-2) ดว้ ยแนวคดิ เรอ่ื งคา
พยากรณ์ทก่ี ่อตวั ขน้ึ ระหว่างพนั ธสญั ญาทงั้ สอง “ซาตาน”กลายเป็นช่อื ทย่ี อมรบั กนั ว่าเหมาะสมท่จี ะใชเ้ รยี กผูท้ ่ี
เป็นเทวดาทถ่ี ูกขบั ออกจากสวรรคเ์ พราะเป็นกบฏต่อพระเป็นเจา้ และยงั คงต่อตา้ นน้าพระทยั ของพระเป็นเจา้ อยู่
ในยคุ สมยั ปัจจบุ นั โดยลอ่ ลวงใหม้ นุษยท์ าบาป

4:2 ระยะเวลาสส่ี บิ วนั สส่ี บิ คนื นนั้ คลา้ ยกบั เร่อื งของโมเสส (อพย. 43:28; ฉธบ. 9:9; ดู มธ. 5:1) และเรอ่ื งเล่าน้ียงั
สอดแทรกเป็นนัยถงึ ประสบการณ์ของชนชาตอิ สิ ราเอล “บุตรของพระเป็นเจา้ ” (อพย. 4:22-23; ฉธบ. 8:2-5) ผูซ้ ง่ึ เดนิ
ทางผ่านทะเลมาส่ถู นิ่ ทุรกนั ดาร พวกเขาถูกทดสอบ...แต่สอบไม่ผ่าน เพราะความไม่เช่อื ฟังและการเคารพบูชา
เทพเจ้าอ่ืนๆ พระเยซูเจ้า ผู้ทรงเป็นพระบุตรท่ีแท้จรงิ ของพระเป็นเจ้าทรงได้รบั ประสบการณ์เช่นเดียวกบั
อสิ ราเอล คอื ทรงเดนิ ทางออกมาจากอยี ปิ ต์ (มธ. 2:15) และถกู ทดลองในถน่ิ ทรุ กนั ดาร แต่พระองคย์ งั คงนบนอบเชอ่ื
ฟังพระเป็นเจา้ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ พระองคป์ ฏเิ สธท่จี ะเคารพเช่อื ฟังสง่ิ อ่นื เร่อื งเล่าทงั้ หมดอาจมองได้ว่าเป็น
เหมอื นบทภาวนาของชาวยวิ ในเทศกาลปัสกาทส่ี ะทอ้ น ฉธบ. 8:2-3 (พระเยซูเจา้ ทรงอา้ งองิ เจาะจงยกขอ้ ความจากเฉลยธรรม
บญั ญตั โิ ดยเฉพาะ) แตกต่างจากชนชาตอิ สิ ราเอลในถนิ่ ทุรกนั ดารท่ีความศรทั ธาสนั่ คลอน จนกระทงั่ ไดร้ บั การชว่ ยให้
ฟ้ืนคนื กลบั มาอกี ครงั้ จากมานนาทเ่ี ป็นปาฎหิ ารยิ ์ ในทางกลบั กนั พระเยซูเจา้ แมท้ รงหวิ โหย แต่พระองค์ยงั คง
ซ่อื สตั ย์ แมว้ า่ ปราศจากปาฏหิ ารยิ ใ์ ดๆ

นกั บุญมทั ธวิ เล่าแสดงว่าพระเยซูเจา้ ทรงบาเพญ็ พรต เหมอื นกบั กจิ ปฏบิ ตั บิ าเพญ็ พรตในศาสนจกั รของ
นักบุญมทั ธวิ เอง (6: 16 – 18; 9: 14 – 15, ปรบั เปล่ยี นจาก มก.) ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ การประจญทดลองเรมิ่ ต้น
หลงั จากทรงบาเพญ็ พรตอดอาหาร 40 วนั แลว้ ซ่งึ เป็นภาวะท่ที รงมจี ติ เป่ียมด้วยความเขม้ แขง็ และพรอ้ มท่จี ะ
เผชญิ หน้ากบั ซาตาน แต่ทรงหวิ โหย แสดงถงึ ความเป็นมนุษยข์ องพระองคไ์ ดบ้ นั ทกึ ไวเ้ ป็นภาวะความขดั แยง้ ใน
ตวั ตนทไ่ี ดเ้ รม่ิ ปรากฏขน้ึ

4:3 คาว่า “ถา้ ” (If) ทาใหข้ อ้ ความนัน้ เป็นจรงิ ตามความหมายโดยตรงของมนั และถา้ มองว่ามนั เป็นจรงิ
(อย่างใน 6:30 และส่วนอ่นื ๆ) คาๆ น้ีอาจแปลไดว้ ่า “เน่ืองจาก” (since) ดงั นัน้ ซาตานจงึ ไม่ไดพ้ ยายามจะทาให้
เกดิ ความลงั เลสงสยั ในใจของพระเยซูเจา้ แต่หาขอ้ โตแ้ ยง้ จากสง่ิ ยอมรบั วา่ เป็นจรงิ ประเดน็ ทโ่ี ตเ้ ถยี งกนั จงึ ไม่ใช่

101

เรอ่ื งพระเยซูเจา้ ทรงเป็นพระบุตรของพระเป็นเจา้ หรอื ไม่ แตอ่ ย่ทู ก่ี ารเป็นพระบตุ รนนั้ หมายความวา่ อย่างไร สว่ น
หน่ึงในความคาดหวงั ของชาวยวิ คอื พระเมสสยิ าห์จะสร้างปาฎิหารยิ ์แห่งมานนาข้นึ ใหม่และในยุคสมยั ของ
พระองคจ์ ะมอี าหารอุดมสมบูรณ์เหลอื ลน้ พระเยซูเจา้ ทรงถูกทา้ ทายใหแ้ สดงคุณสมบตั ขิ อ้ นัน้ ในฐานะพระเมสสิ
ยาหด์ ว้ ยหลกั เกณฑด์ งั กล่าว นกั บุญมทั ธวิ เปลย่ี นคาวา่ “กอ้ นหนิ ” และ “ขนมปัง” ซง่ึ อย่ใู นรปู เอกพจน์ในเอกสาร
แหล่ง Q ให้เป็นรูปพหูพจน์ ขนมปังแถวเดยี วก็เพียงพอแล้วสาหรบั พระเยซูเจ้า แต่ข้อโต้แย้งของซาตานไม่
เพยี งแต่บอกใหพ้ ระเยซูเจา้ ทรงใชอ้ านาจศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องพระองคเ์ พ่อื ขจดั ความหวิ โหยของตนเท่านัน้ แต่ยงั บอก
ให้ใช้อานาจนัน้ สรา้ งอาหารให้มนุษย์ทงั้ มวล ตอบสนองความต้องการขนั้ พ้นื ฐานของมนุษย์ ซ่งึ สอดคล้องกบั
ความคาดหวงั ท่คี นส่วนใหญ่มตี ่อพระเมสสยิ าห์ อยากให้พระองค์มอี านาจยงิ่ ใหญ่ทางการเมอื ง ใน 21:18-22
พระเยซูเจา้ ทรงใชอ้ านาจอศั จรรยข์ องพระองคส์ าบใหต้ น้ มะเดอ่ื ทไ่ี ม่ออกผลเป็นอาหารใหพ้ ระองคใ์ นยามหวิ และ
ได้แสดงปาฎิหารยิ ใ์ นการจดั หาอาหารใหค้ นจานวนมหาศาลท่กี าลงั หวิ โหยถงึ สองครงั้ (14:15-21; 15:32-38) ดงั นัน้
ปัญหาคอื พระเยซูเจา้ ทรงมอี านาจทจ่ี ะเสกอาหารใหเ้ กดิ ขน้ึ ไดโ้ ดยอศั จรรยอ์ ยแู่ ลว้ แต่ขน้ึ อย่กู บั วา่ พระองคป์ ฏเิ สธ
ทจ่ี ะทาเชน่ นนั้ หรอื ไม่ (ดบู ทเสรมิ เรอื่ ง “การตคี วามเรอื่ งราวปาฎหิ ารยิ ต์ ่างๆในพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ ”)

คาว่า “ถ้าท่านเป็นบุตรพระเป็นเจ้า” ช่างเป็นถ้อยคาท่ที ้าทายอะไรเช่นน้ี! แลว้ เราไม่ควรกล่าวถ้อยคา
เดยี วกนั น้ีกบั พระศาสนจกั รดอกหรอื ? ถา้ ทา่ นอา้ งวา่ ท่านเป็นพระศาสนจกั รของพระเป็นเจา้ กจ็ งเรม่ิ ดว้ ยการทา
ให้แน่ใจซวิ ่าโลกน้ีมอี าหาร แลว้ สง่ิ ท่เี หลอื กจ็ ะตามมาเอง เป็นการยากท่จี ะตอบคาท้าทายน้ี ทงั้ น้ีเป็นเพราะว่า
เสยี งร้องของผู้หิวโหยนัน้ เสียดแทงเข้าไปในหู เข้าสู่จติ วญิ ญาณอย่างลึกซ้ึง แบบท่ีมนั ควรเป็นเช่นนัน้ ด้วย
คาตอบของพระองคไ์ ม่อาจเป็นทเ่ี ขา้ ใจไดภ้ ายใต้แสงสว่างของเร่อื งการถูกประจญน้ีเพยี งอย่างเดยี ว... พระเยซู
เจา้ มทิ รงทาเมนิ เฉยตอ่ ความหวิ โหยของผคู้ นอนั เป็นความตอ้ งการดา้ นรา่ งกายของมนุษย์ แตพ่ ระองคท์ รงจดั วาง
สง่ิ เหล่าน้ีลงในบรบิ ทท่ถี ูกและในวาระท่คี วรด้วย..ทรงขบั ไล่มารผจญนัน้ ว่า “มนุษย์มไิ ด้มชี วี ติ อยู่ด้วยอาหาร
เทา่ นนั้ แต.่ .ดว้ ยพระวาจาทุกคาทอ่ี อกมาจากพระโอษฐข์ องพระเป็นเจา้ (ฉธบ. 8: 3)

อลั เฟรด็ เดลป์ (Alfred Delp) นักบวชเยสุอติ ชาวเยอรมนั ทถ่ี ูกพวกนาซสี งั หาร เขยี นไวว้ ่า “อาหารเป็น
สง่ิ สาคญั อสิ รภาพนนั้ สาคญั ยงิ่ กวา่ แต่ทส่ี าคญั ทส่ี ดุ คอื การถอื ซ่อื สตั ยม์ นั่ คงเสมอไป และการช่นื ชมยกยอ่ งดว้ ย
ความศรทั ธา” (โยเซฟ รตั ซงิ เกอร,์ เบเนดกิ ต์ ท่ี 16 พระสนั ตะปาปา, พระเยซูเจา้ แหง่ นาซาเรธ็ ; ทศั ไนย คมกฤช แปล หน้า 83-85)

4:4 พระเยซูเจา้ ทรงตอบกลบั ดว้ ยถอ้ ยคาทม่ี าจากพระคมั ภรี เ์ ท่านนั้ และทุกครงั้ เป็นขอ้ ความจากหนงั สอื
เฉลยธรรมบญั ญตั ิ (เทยี บ 4:2) ต่อมาคาพูดและการกระทาของพระเยซูเจา้ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสาคญั อย่างยงิ่ ของ
การจัดหาอาหารให้กับคนยากจน (6:11; 14:13-21; 15: 32-39; 25:31-46) แต่ในท่ีน้ีพระองค์ยืนยันว่าชีวิตมนุษย์
จาเป็นต้องไดร้ บั การหล่อเลย้ี งจากพระวาจาของพระเป็นเจา้ แมค้ าว่า “พระบุตรของพระเป็นเจา้ ” เป็นตาแหน่ง
ทางครสิ ตศาสตร์ท่ีสาคัญสาหรบั นักบุญมทั ธิว แต่พระเยซูยืนยนั ความเป็นมนุษย์ของพระองค์โดยการนา
“มนุษย”์ มาวางขา้ งๆ เพอ่ื เปรยี บเทยี บกบั “พระบตุ รของพระเป็นเจา้ ” ในสายตาของมารรา้ ย

4: 5-7 การอ้างอิงถึงนครศักดิส์ ิทธิเ์ ป็ นส่วนท่ีนักบุญมัทธิวเติมเข้ามา วลีท่ีค่อนข้างหาได้ยากน้ี
เช่นเดยี วกบั การคาดหวงั “มานนา” ในการทดลองใจครงั้ แรก มคี วามหมายแทรกเก่ยี วกบั อวสานตกาลอยู่ดว้ ย
(อสย. 48:2; 52:1; ดนล. 9:24; มธ. 27:53; วว. 11:2; 21:2, 10) ไมม่ กี ารระบุไวอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ จุดสงู สดุ ของพระวหิ ารนนั้ คอื อะไร
แตไ่ มใ่ ชห่ ลงั คาหรอื ยอดแหลม แมว้ า่ จะไมก่ ลา่ วถงึ ผชู้ ม แต่การทดลองใจน้ีจะตอ้ งเป็นไปเพอ่ื ใหพ้ ระเยซูเจา้ แสดง
บางสงิ่ ทน่ี ่าเรา้ ใจออกมาว่าพระองคเ์ ป็นพระบุตรของพระเป็นเจา้ ซ่งึ การกระทานัน้ ไม่ใช่ความผดิ หรอื เป็นการ

102

กระทาแบบมาร (ทตู สวรรคไ์ ดป้ กป้องพระเยซูเจา้ ใน 2:1-23 และมารบั ใชพ้ ระองคใ์ น 4:11) และการทม่ี ารไดย้ กขอ้ พระคมั ภรี ์ เพลง
สดุดี ท่ี 91 อย่างสอดคล้องเก่ยี วพนั กบั พระวหิ ารจรงิ ๆ การสวดบทสดุดนี ้ีเป็นการแสดงออกซ่งึ ความหวงั ท่จี ะ
ไดร้ บั การปกป้องคุม้ ครองในพระวหิ าร เพราะว่าสถานทป่ี ระทบั ของพระเป็นเจา้ ย่อมหมายถงึ สถานทพ่ี เิ ศษทจ่ี ะ
ไดร้ บั การปกป้องคุม้ ครองจากพระเป็นเจา้ จะมที ใ่ี ดทม่ี นุษยผ์ มู้ คี วามเชอ่ื ในพระเป็นเจา้ ควรจะรสู้ กี ปลอดภยั มาก
ไปกว่าการได้อยู่ในสถานศกั ดสิ ์ ทิ ธแิ ์ ห่งพระวหิ ารเล่า? (ดูรายละเอียดเพ่มิ เติมได้จาก Gnika, Mattausevangelium, I, หน้า 88)
ปีศาจพสิ จู น์วา่ มนั เป็นผเู้ ชย่ี วชาญพระคมั ภรี ท์ ส่ี ามารถอา้ งบทเพลงสดุดไี ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง...หลงั จากไดป้ ระจญเรอ่ื ง
อาหาร ก็สู่เร่อื งวงจรท่เี ก่ยี วขอ้ งต่างๆ ความพงึ พอใจทางด้านร่างกายเพยี งอย่างเดยี วไม่อาจเพยี งพอสาหรบั
มนุษย์ได้... (โยเซฟ รตั ซิงเกอร์, เบเนดิกต์ ท่ี 16 พระสันตะปาปา, อ้างแล้ว หน้า 87-92) การยกอ้างพระคัมภีร์ข้ึนมาเพ่ือ
วตั ถุประสงค์น้ีไม่จดั ว่าเป็นการตีความท่บี ดิ เบอื นอย่างเห็นได้ชดั นักบุญมทั ธวิ ไม่เพยี งแต่บนั ทกึ เหตุการณ์ท่ี
พระองคเ์ ผชญิ หน้ากบั มารซาตานครงั้ หน่งึ ในกาลเวลาเท่านนั้ แต่ยงั แสดงใหเ้ หน็ ภาพวา่ แมแ้ ต่เทวศาสตรแ์ ละการ
ตคี วามพระคมั ภรี ท์ ก่ี ระทาดว้ ยเจตนาดที ส่ี ุดในชุมชนของเราอาจกลายเป็นส่อื พาหนะไปส่ทู างเลอื กอ่นื ทม่ี าจาก
มาร แทนท่จี ะตรงไปส่ถู นนแห่งความทุกขย์ ากท่เี กดิ จากการเช่อื ฟังพระเป็นเจา้ ซ่งึ พระเยซูเจา้ ทรงเลอื กไวเ้ ป็น
เส้นทางแห่งการเป็นพระเมสสยิ าห์ ทางเลอื กระหว่างขอความช่วยเหลอื จากทูตสวรรค์กบั การปฏบิ ตั ิตามน้า
พระทยั พระเป็นเจา้ ซง่ึ จะนาพระองคไ์ ปสไู่ มก้ างเขนแสดงใหเ้ หน็ อย่างชดั เจนใน 26:36-53 (โดยเฉพาะ ว. 53) และอกี
ครงั้ หน่งึ พระเยซูเจา้ ทรงตา้ นทานการผจญล่อลวงโดยใชข้ อ้ ความจากพระคมั ภรี ์ (ฉธบ. 6:16)

คาตอบของพระเยซูเจา้ ทท่ี รงนามาจากหนังสอื เฉลยพระธรรมบญั ญตั ทิ วี ่า “ท่านจะต้องไม่ทดลองพระ
เป็นเจ้าของท่าน” (ฉธบ. 6: 16) พาดพงิ ถึงชนอสิ ราเอลท่เี กือบจะกระหายน้าตายในทะเลทรายนัน้ อย่างไร.. ชน
อสิ ราเอลเป็นกบฏต่อโมเสส และในการกระทาเช่นนัน้ พวกเขาก็เป็นกบฏต่อพระเป็นเจา้ ดว้ ย (อพย. 17: 7) เร่อื งน้ี
จงึ เป็นเร่อื งท่เี ราได้เคยพบมาแล้ว กล่าวคอื พระเป็นเจ้าจะต้องทรงยอมต่อการทดลอง พระเป็นเจ้า “ทรงถูก
ทดสอบ” พระเป็นเจา้ จะตอ้ งทรงยอมต่อเงอ่ื นไขต่างๆ ทเ่ี ราบอกวา่ เป็นสงิ่ จาเป็นหากจะทาใหเ้ ราเกดิ ความแน่ใจ
ถา้ พระองคไ์ ม่ทรงประทานความคมุ้ ครองแก่เราในเวลาน้ี ดงั ทไ่ี ดท้ รงสญั ญาไวใ้ นบทเพลงสดุดที ่ี 91 นนั้ พระองค์
กม็ ใิ ช่พระเป็นเจา้ พระองคก์ ย็ อ่ มจะแสดงออกมาวา่ พระวาจาของพระองคแ์ ละตวั พระองคเ์ องนนั้ เป็นของปลอม...
สงิ่ ทส่ี าคญั และแตกต่างมากทเี ดยี วคอื จากการกระทาทา้ ทายแบบไม่ระมดั ระวงั ของเรานนั้ อาจทาใหพ้ ระเป็นเจา้
เป็นเพยี งผรู้ บั ใชเ้ รา ((โยเซฟ รตั ซงิ เกอร,์ เบเนดกิ ต์ ท่ี 16 พระสนั ตะปาปา, อา้ งแลว้ หน้า 93-94)

4:8-10 “ภูเขาสงู ” เป็นสว่ นท่นี กั บุญมทั ธวิ เพม่ิ เขา้ มา ซง่ึ ดูเหมอื นว่ารบั มาจาก มก. 9:2 (เทยี บ 5:1; 17:1 มก.
9:2; 28:16) ส่วนน้ีทาให้การอ้างอิงถึงโมเสสชดั เจนข้นึ การเสนอ “อาณาจกั รทงั้ หมดของโลกน้ี” ส่อื ถึงการต่อสู้
ระหวา่ งพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ กบั อาณาจกั รของซาตาน (12:26) ซง่ึ สะทอ้ นกอ้ งอยตู่ ลอดทงั้ พระวรสาร และ
แสดงใหเ้ หน็ ถึงความขดั แยง้ ทแ่ี ทจ้ รงิ ซง่ึ เป็นเน้ือแทข้ องฉากการผจญล่อลวงน้ี เป้าหมายของการประจญคอื การ
ใหพ้ ระเยซูเจา้ ทรงปกครองโลกน้ี กล่าวอกี อย่างคอื ใหพ้ ระองคแ์ สดงบทบาททจ่ี กั รพรรดโิ รมนั กาลงั แสดงอย่ใู น
ขณะนนั้ และกระทาเช่นนนั้ โดยยอมศโิ รราบต่อความเป็นกษตั รยิ ข์ องมารรา้ ย อานาจของมารรา้ ยทา้ ทายใหพ้ ระ
เยซูเจา้ ยอมรบั สถานภาพความเป็นกบฏของโลกน้ี ยอมรบั ว่าความเหน็ แก่ตวั และการปฏบิ ตั ติ นแบบไม่ยอมรบั
นบั ถอื พระเป็นเจา้ เป็นฝ่ายชนะ และพระองคค์ วรจะปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั มนั ดว้ ยพลงั อานาจทพ่ี ระองคม์ ี พระเยซูเจา้
ทรงสามารถมที ุกสง่ิ ทุกอย่างได้ ในตอนจบของส่วนน้ี พระเยซูเจา้ ทรงยอมรบั หน้าทข่ี องพระองคใ์ นการประกาศ
การมาถึงของการปกครองโดยพระผู้เป็นเจ้า (the Advent of God’s Rule) (4:17) และสอนศิษย์ให้สวดภาวนา

103

ขอใหส้ งิ่ น้ีเกดิ ขน้ึ กบั โลก (6:10) พระเยซูเจา้ ไม่ทรงยอมเบย่ี งเบนไปจากการบูชาพระเป็นเจา้ แทห้ น่ึงเดยี ว แมจ้ ะ
เป็นไปเพ่อื เป้าหมายทด่ี ูเหมอื นสูงส่ง คอื การครอบครองอาณาจกั รทงั้ หมดของโลกน้ีกต็ าม ในส่วนสรุปจบของ
เร่อื งเล่าบนภูเขาอกี ลูกหน่ึง พระเยซูเจา้ ทรงประกาศว่าพระองคไ์ ดร้ บั พลงั อานาจทงั้ หมดบนโลกแลว้ แต่อานาจ
นนั้ มาจากพระเป็นเจา้ และมาหลงั จากไมก้ างเขน (28:18)

พระเยซูเจา้ ทรงต่อสกู้ บั มารเป็นครงั้ ท่สี ามดว้ ยขอ้ ความจากพระคมั ภรี ์ (ฉธบ. 6:13) แต่ครงั้ น้ีพระองคเ์ พม่ิ
คาพูดของพระองค์เองลงไปดว้ ยคอื “เจา้ ซาตาน จงไปใหพ้ น้ ” (ว. 10) ภาษากรกี ใชเ้ พยี งแค่สองคาเท่านัน้ ในการ
สรา้ งประโยคน้ีขน้ึ มา ซ่งึ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ คาสงั่ อนั ทรงอานาจของพระเยซูเจา้ ทแ่ี มแ้ ต่ซาตานยงั ต้องยอมปฏบิ ตั ิ
ตาม อยา่ งไรกต็ ามพระเยซูเจา้ และศษิ ยข์ องพระองคย์ งั คงตอ้ งต่อสกู้ บั อานาจของมารไปตลอดทงั้ พระวรสาร แต่
พวกเขาเผชญิ หน้ากบั ศตั รทู ไ่ี ดพ้ า่ ยแพไ้ ปเรยี บรอ้ ยแลว้ (ดู 12:26)

เน้ือหาของการประจญประการน้ีปรากฏชดั เม่อื เราตระหนักว่าตลอดทงั้ ประวตั ศิ าสตร์ การประจญน้ีรบั
เอารูปแบบใหม่ๆ หลากหลายมาเสมอ จกั รวรรดคิ รสิ ต์พยายามในตอนแรกเรมิ่ ท่จี ะใชค้ วามเช่อื เพ่อื สรา้ งเสรมิ
เอกภาพด้านการเมอื ง ...การท่คี วามเช่อื ไรซ้ ่ึงอานาจ การท่พี ระครสิ ตเจ้าไรซ้ ่ึงอานาจทางโลก ก็จาต้องได้รบั
ความช่วยเหลอื จากอานาจทางการเมอื งและอานาจทางการทหาร การประจญใหใ้ ชอ้ านาจเพ่อื ธารงรกั ษาความ
เช่อื ไวเ้ กดิ ขน้ึ มาครงั้ แลว้ ครงั้ เล่าในหลากหลายรปู แบบแตกต่างกนั ตลอดหลายศตวรรษและความเช่อื กเ็ สย่ี งครงั้
แลว้ ครงั้ เล่าทจ่ี ะถูกอานาจนนั้ บบี รดั อดึ อดั จนหายใจแทบไม่ออก...การผสมผสานความเช่อื เขา้ กบั อานาจทางการ
เมอื งนัน้ มรี าคาสงู ยงิ่ กล่าวคอื ความเช่อื กลายมาเป็นผรู้ บั ใชอ้ านาจ และจะตอ้ งเอนเอยี งไปตามหลกั เกณฑช์ ว้ี ดั
ของอานาจไปดว้ ย...

นักบุญเปโตรไม่ได้เข้าใจเช่นกัน “เปโตรนาพระองค์แยกออกไป ทูลทดั ทานว่า ‘ขอเถิด พระเจ้าข้า
เหตุการณ์น้ีจะไม่เกดิ ขน้ึ กบั พระองคอ์ ย่างแน่นอน’ ”(มธ. 16: 22) แต่พอเราอา่ นถอ้ ยคาเหล่าน้ีควบค่ไู ปกบั เบอ้ื งหลงั
ฉากการประจญน้ีทม่ี กั เกดิ ขน้ึ มาบอ่ ยๆ ณ เวลาสาคญั ยงิ่ นนั้ กท็ าใหเ้ ราเขา้ ใจคาตรสั แบบแขง็ กระดา้ งอยา่ งไมน่ ่า
เช่อื ของพระเยซูเจา้ นัน้ ทว่ี ่า “เจา้ ซาตาน ถอยไปขา้ งหลงั เจา้ เป็นเครอื่ งกดี ขวางเรา เจา้ ไม่คดิ อย่างพระเป็นเจา้
แต่คดิ อยา่ งมนุษย”์ (มธ. 16: 23)...

พระเยซูเจา้ ได้ทรงผ่านพ้นการสูร้ บกบั ซาตานอย่างผูม้ ชี ยั พระองค์ทรงตอบปีศาจท่หี ลอกลวงว่าจะให้
พระองคม์ อี านาจและความเจรญิ รุง่ เรอื งยงิ่ พระองคท์ รงตอบคาสญั ญาหลอกลวงของมนั ทจ่ี ะใหอ้ นาคตทม่ี ที ุกสง่ิ
ทุกอย่างแก่มนุษยท์ งั้ หลายโดยทางอานาจและความร่ารวย พระองคท์ รงตอบมนั ดว้ ยขอ้ เทจ็ จรงิ ท่วี ่า “พระองค์
ทรงเป็นพระเป็นเจ้า (ว่า) พระเป็นเจ้าทรงเป็นองค์ความดขี องมนุษย์ พระเยซูเจ้าทรงตอบคาเช้อื เชญิ ของเจ้า
ปีศาจใหพ้ ระองคก์ ราบไหวอ้ านาจ โดยทรงอา้ งขอ้ ความจากหนังสอื เฉลยพระธรรมบญั ญตั ิ อนั เป็นหนังสอื พระ
คมั ภรี เ์ ล่มเดยี วกนั นนั้ ทเ่ี จา้ ปีศาจใชก้ ล่าวอา้ ง พระองคต์ อบมนั ว่า “จงนมสั การองคพ์ ระเป็นเจา้ พระเจา้ ของท่าน
และรบั ใชพ้ ระองคแ์ ต่ผเู้ ดยี วเท่านนั้ ” (มก. 4: 10; เทยี บ ฉธบ. 6: 13) ... (โยเซฟ รตั ซงิ เกอร,์ เบเนดกิ ต์ ท่ี 16 พระสนั ตะปาปา, อา้ งแลว้

หน้า 94-106)

4:11 คาว่า “รบั ใช้” (Attended) หรอื “ปรนนิบตั ”ิ (Waited On) ในท่นี ้ี ส่อื โดยอ้อมถงึ การท่พี ระเยซูเจ้า
ไดร้ บั อาหารจากบรรดาทตู สวรรค์ การยอมใหพ้ ระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ เป็นหน่ึงเหนอื สงิ่ อ่นื ใด แมว้ า่ จะตอ้ ง
ปฏิเสธอาหารและความช่วยเหลือจากบรรดาเทวดา ในท้ายท่ีสุดพระเยซูเจ้าจงึ ทรงได้รบั ทงั้ สองอย่าง และ
สามารถเป็นตวั อยา่ งทท่ี ุกคนคาดหวงั ไดจ้ ากคาสอนของพระองคเ์ อง (6:33)

104

ข้อคิดไตร่ตรอง
1. การใชภ้ าษาเก่ยี วกบั ซาตานเป็นเร่อื งพ้นสมยั หรอื เร่อื งโบราณหรอื ไม่ คาถามแรกของนักตคี วามพระ

คมั ภรี ย์ คุ น้คี อื ไมว่ า่ จะมภี าพของซาตานอย่ใู นความคดิ ของเราหรอื ไม่กต็ าม หากภาพเชน่ นนั้ สามารถถูกนามาใช้
ในทางผดิ ๆ ตามตวั อกั ษรอย่างเช่นพดู ว่า “มารมนั บอกใหฉ้ นั ทา” เพอ่ื หลบเลย่ี งจากความรบั ผดิ ชอบส่วนบุคคล
และตราหน้าผทู้ ต่ี อ่ ตา้ นตนเองวา่ เป็นเครอ่ื งมอื ของมาร แต่ภาษาและการใชภ้ าพลกั ษณ์เกย่ี วกบั มารมบี ทบาทเชงิ
เทวศาสตรท์ ส่ี าคญั สาหรบั นักบุญมทั ธวิ และยงั สามารถมคี วามสาคญั ต่อมาจนถงึ พวกเราดว้ ย มโนภาพน้ีทาให้
เรามหี นทางทจ่ี ะรบั รคู้ วามเป็นจรงิ ของสงิ่ ชวั่ รา้ ยทม่ี อี านาจยงิ่ ใหญ่กวา่ แนวโน้มในการประพฤตติ นทางชวั่ ของเรา
นนั่ คอื อานาจของตวั ตนทเ่ี หนือกว่า (Supra-Personal Power) ซ่งึ ในปัจจุบนั บ่อยครงั้ เราเรยี กว่า “ความชวั่ รา้ ย
(เชงิ )ทอ่ี ย่ใู นระบบ” (Systemic Evil) คุณค่าอกี ประการหน่ึงของการใชภ้ าษาเช่นน้ีคอื มนั ป้องกนั ไม่ใหเ้ รามองว่า
คนทต่ี ่อตา้ นเราเป็นศตั รทู แ่ี ทจ้ รงิ และช่วยใหเ้ รามองเหน็ วา่ ทงั้ เราและเขาต่างกเ็ ป็นเหย่อื ของอานาจชวั่ รา้ ย จาก
มมุ มองดงั กล่าวน้ี การแสดงภาพการต่อสรู้ ะหวา่ งพระเยซูเจา้ กบั บรรดาผนู้ าชาวยวิ ในลกั ษณะทเ่ี ป็นความขดั แยง้
ระดบั โลกจกั รวาลหรอื ระหว่างพระเป็นเจา้ กบั ซาตาน จงึ ไม่เพยี งแต่มองไดว้ า่ เป็นแนวคดิ ทต่ี ่อตา้ นชาวยวิ เทา่ นนั้
แตย่ งั เป็นแนวคดิ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารทใ่ี ชก้ นั อย่ใู นทางเทวศาสตรท์ ม่ี แี งม่ ุมดา้ นบวกอย่ดู ว้ ย

2. เราควรตคี วามการเผชญิ หน้าระหวา่ งพระเยซูเจา้ กบั ซาตานอย่างไร โดยพน้ื ฐานแลว้ เราสามารถตคี วาม
เรอ่ื งราวการผจญล่อลวงน้ไี ด้ 3 แบบ

การตีความแบบก่งึ ชวี ประวตั ิก่งึ จติ วทิ ยาอาจเขา้ ใจเร่อื งน้ีได้ว่าเป็นภาพสะท้อนของความปัน่ ป่ วนสบั สน
ภายในใจของพระเยซูเจา้ หลงั จากพระองค์ทรงรบั พธิ ลี า้ ง และพยายามท่จี ะหาความหมายของประสบการณ์ท่ี
เกดิ ขน้ึ ระหว่างพธิ ลี า้ งนนั้ กบั จติ สานึกแห่งความเป็นพระเมสสยิ าหท์ ก่ี าลงั เรมิ่ ปรากฏขน้ึ ในใจ มองว่าพระเยซูเจา้
กาลงั ใคร่ครวญพจิ ารณาหนทางต่างๆ ในการใช้ความเป็นพระเมสสยิ าห์ของพระองค์ แต่แนวทางการตคี วาม
เช่นน้ีทาใหเ้ กดิ ผลรา้ ยต่อรูปแบบความเป็นพระวรสาร เพราะเป็นการมองว่ามนั คอื “รายงาน” สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ และ
พยายามทจ่ี ะเขา้ ใจเน้อื หาในแงม่ มุ ทเ่ี ป็นรปู ธรรม

การตคี วามเชงิ จรยิ ศาสตรด์ จู ะน่าเชอ่ื ถอื กวา่ เพราะวา่ มนั เชอ่ื มโยงกบั ประสบการณ์ของพวกเราเองเวลาทถ่ี ูก
ผจญล่อลวง พระเยซูเจา้ ทรงเป็นตวั อย่างของการต่อสกู้ บั การผจญ (พระองคย์ กขอ้ ความจากพระคมั ภรี ์ ปฏเิ สธทจ่ี ะใชอ้ านาจ
ของตนอย่างเหน็ แก่ตวั ทรงใหพ้ ระวาจาของพระเป็นเจา้ มากอ่ น เป็นเร่อื งสาคญั ยงิ่ กวา่ “วตั ถสุ งิ่ ของทางโลก” ฯลฯ) แนวทางการตคี วามเช่นน้ี
อาจมคี ุณค่าในทางอ้อม แต่ผู้ตีความไม่ควรจะรบี นาเน้ือหาไปเช่อื มโยงกบั ประสบการณ์ส่วนตวั ของตนอย่าง
รวดเรว็ เพ่อื แสวงหาความเช่อื มโยง เน้ือหาส่วนน้ีไม่ใช่การทาภารกจิ ทวั่ ๆ ไปของซาตานในการล่อลวงมนุษยใ์ ห้
ทาชวั่ เพราะสงิ่ ทเ่ี อามาใชล้ ่อลวงนัน้ ไม่ใช่ตณั หาและความโลภ แต่เป็นการกระทาสง่ิ ทป่ี กตแิ ลว้ ทุกคนมองว่าดี
ตลอดมา ทงั้ ยงั ไดร้ บั การสนบั สนุนจากธรรมประเพณแี ละพระคมั ภรี ด์ ว้ ย

แนวทางการตคี วามแบบท่สี ามเป็นในเชงิ ครสิ ตศาสตร์ คอื เขา้ ใจฉากน้ีว่าเป็นการแสดงแนวคดิ ทางครสิ ต
ศาสตรใ์ นมติ หิ น่ึงของนักบุญมทั ธวิ ประเดน็ สาคญั ไม่ไดอ้ ย่ทู ช่ี วี ประวตั หิ รอื จติ วทิ ยาว่าครงั้ หน่ึงพระเยซูเจา้ ทรง
เคยคดิ เก่ยี วกบั ตนเองอย่างไร แต่ชาวครสิ ต์ในพระศาสนจกั รสมยั นักบุญมทั ธวิ (และในสมยั ของเรา) ควรมอง
พระเยซูอยา่ งไรในฐานะพระบตุ รของพระเจา้ ผกู้ ระทาปาฏหิ ารยิ ม์ ากมายในพนั ธกจิ ทก่ี าลงั จะเรมิ่ ต้นขน้ึ ฉากเปิด

105

น้ีไม่เพยี งแต่แสดงใหเ้ ราเหน็ ภาพของการปฏเิ สธการใชค้ วามรุนแรงและปาฏหิ ารยิ ์ แต่ยงั มองว่าสงิ่ เหล่าน้ีเป็น
การผจญล่อลวงของมารอกี ดว้ ย จงึ ง่ายเกนิ ไปท่จี ะกล่าวว่า “พระองคเ์ พยี งแต่ปฏเิ สธทจ่ี ะกระทาปาฏหิ ารยิ เ์ พ่อื
ประโยชน์ของพระองค์เอง” เพราะต่อมาพระเยซูเจา้ ผู้ทรงปฏเิ สธท่จี ะกระโดดลงจากยอดพระวหิ ารทรงแสดง
ตวั ตนของพระองค์ในฐานะพระบุตรของพระเป็นเจา้ ด้วยการเดนิ บนน้า (14:22-33) และการท่พี ระองค์ปฏิเสธไม่
เปลย่ี นก้อนหนิ ใหก้ ลายเป็นขนมปังกถ็ ูกนามาเทยี บเคยี งกบั การท่พี ระองค์เปล่ยี นขนมปังหา้ ก้อนใหก้ ลายเป็น
ขนมปังทม่ี มี ากพอจะเลย้ี งคนเป็นพนั ๆ ได้ (14:13-21) เช่นเดยี วกนั ใน 17:24-27 พระเยซูเจา้ ยงั ทรงจ่ายภาษดี ว้ ย
ปาฏหิ ารยิ ก์ ารจบั ปลาทม่ี เี หรยี ญเงนิ อยใู่ นปากดว้ ย

แนวคดิ หน่ึงทเ่ี ช่อื กนั อย่างกวา้ งขวางของครสิ ตศาสตรพ์ นั ธสญั ญาใหม่คอื การมองว่าพระเยซูเจา้ ผทู้ รง
เป็นมนุษยน์ นั้ คอื ผทู้ อ่ี ่อนแอและตกเป็นเหย่อื ปราศจากอานาจในการทาปาฏหิ ารยิ ใ์ ดๆ และมองว่าการช่วยเหลอื
จากพระเป็นเจา้ ซ่งึ กค็ อื ความนบนอบเช่อื ฟังของพระองคแ์ ละการเป็นหน่ึงเดยี วกนั กบั สถานการณ์ของมนุษยท์ ่ี
ตกเป็นเหย่อื (ดูบทเสรมิ เร่อื ง “ครสิ ตศาสตรข์ องมทั ธวิ ”) ใน 4:1-11 นักบุญมทั ธวิ นาเสนอพระเยซูเจา้ ในมุมมองทางครสิ ต
ศาสตร์ ทแ่ี สดงภาพว่าชวี ติ บนโลกของพระองคค์ อื การเป็นผทู้ ม่ี คี วามอ่อนแอต่างๆ แบบมนุษยอ์ ย่างเตม็ ท่ี (เทยี บ
ฟป. 2:5-11; ฮบ. 2:5-18) ภาพของพระเยซูเจา้ ในฐานะพระบุตรผเู้ ช่อื ฟังพระเป็นเจา้ ไมไ่ ดถ้ ูกลบลา้ งหรอื มคี วามสาคญั
น้อยกว่าภาพของพระเยซูเจ้าในฐานะมนุษย์แท้ ชุมชนชาวครสิ ต์ไม่เพียงแต่ให้คาจากดั ความพระเยซูเจ้าใน
ลกั ษณะของความเป็นพระเมสสยิ าหเ์ ท่านัน้ แต่เปลย่ี นความหมายของคาว่าพระเมสสยิ าหใ์ หห้ มายถึงพระเยซู
เจ้า ผู้เป็นบุคคลท่ีถูกตรงึ กางเขนด้วย คาว่า “อาณาจกั ร”แทนท่ีจะหมายถึงขนมปัง ความอกึ ทึกวุ่นวายและ
อานาจทางการเมอื ง ตามความหมายเดมิ ซ่ึงมจี กั รวรรดโิ รมนั เป็นตวั แทนในสมยั ของพระเยซูเจ้าและนักบุญ
มทั ธวิ (คาว่า “อาณาจกั ร” และ “จกั รวรรด”ิ คอื คาเดยี วกนั ในภาษากรกี ) แต่สาหรบั พระเยซูเจา้ ในพระวรสาร
นกั บุญมทั ธวิ เราไดเ้ หน็ อกี ภาพหน่ึงว่าพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ บนโลกน้ีอาจจะหมายถงึ สงิ่ ใด ซง่ึ สงิ่ น้ีคอื
สงิ่ ทเ่ี ดมิ พนั ในการถกู ประจญลอ่ ลวง

ดงั นนั้ ขอ้ ความในสว่ นน้ีจงึ ไม่มตี วั อย่างของพระเยซูเจา้ ผู้ “สามารถ” ทาปาฏหิ ารยิ ไ์ ดแ้ ต่เลอื กทจ่ี ะไม่ทา
เพอ่ื เป็นตวั อย่างทางศลี ธรรมทด่ี สี าหรบั เรา เพราะการเขา้ ใจเชน่ น้แี ทบไมม่ ปี ระโยชน์อะไรสาหรบั เราผเู้ ป็นมนุษย์
เดนิ ดนิ ทไ่ี มอ่ าจเลอื กสรา้ งปาฏหิ ารยิ ไ์ ด้ เช่นเดยี วกบั ตอนท่ีมารปรากฏอกี ครงั้ ตรงหน้าไมก้ างเขน (27:40-44) ใน
ดา้ นทว่ี ่าพระเยซูเจา้ ทรงเป็นตวั อย่างสาหรบั ชาวครสิ ต์ทงั้ หลาย ขอ้ ความตอนน้ีอาจสอนเราว่าการเป็น “ลูกของ
พระเจา้ ” (ตาแหน่งทน่ี กั บญุ มทั ธวิ กาหนดใหก้ บั ชาวครสิ ต์ ดู 5:9; เทยี บ 28:10) หมายถงึ การมคี วามสมั พนั ธท์ เ่ี ชอ่ื และไวว้ างใจพระ
เป็นเจา้ ไม่ขอใหใ้ หม้ ปี าฏหิ ารยิ ม์ าทาใหเ้ ราไดร้ บั การยกเวน้ จากขอ้ จากดั ของชวี ติ มนุษยท์ แ่ี ทจ้ รงิ

มทั ธิว 4:12-17 การเร่ิมต้นภารกิจการเทศนาสงั่ สอน

106

ภาพรวม
นักบุญมัทธิวกล่าวสนั้ ๆ ถึงการเรม่ิ ต้นภารกิจเปิดเผยสู่สาธารณะชนของพระเยซูเจ้าตามมาทันที

หลังเร่ีองปี ศาจประจญพระองค์ ในบริบทน้ี นักบุญมัทธิวนาเสนอว่ากาลิลีเป็ น “แคว้นกาลิลีแห่งบรรดา
ประชาชาต”ิ (มธ. 4: 15) คอื เป็นสถานท่ซี ่งึ บรรดาประกาศก (อสย. 8: 23, 9: 1) ได้กล่าวพยากรณ์ล่วงหน้าไว้แล้วว่า
“แสงสวา่ งยงิ่ ใหญ่” (เทยี บ มธ. 4: 15) จะสอ่ งขน้ึ มาจากทน่ี นั่ เชน่ น้ีเอง นกั บุญมทั ธวิ กใ็ หค้ าตอบต่อความประหลาดใจ
นนั้ ว่า พระผไู้ ถ่กูม้ ใิ ช่มาจากกรุงเยรซู าเลม็ หรอื จากแควน้ ยเู ดยี แต่มาจากดนิ แดนนนั้ ทถ่ี อื กนั ว่ามชี นต่างศาสนา
อย่ถู งึ ครง่ึ หน่ึงทเี ดยี ว สงิ่ สาคญั ตามสายตาของคนสว่ นใหญ่บอกวา่ เป็นสง่ิ ทข่ี ดั แยง้ กบั พนั ธกจิ แบบพระเมสสยิ าห์
ของพระเยซูเจา้ คอื ขอ้ เทจ็ จรงิ ทว่ี ่าพระองคม์ าจากเมอื งนาซาเรธ็ แควน้ กาลลิ นี ัน่ เป็นขอ้ พสิ จู น์ในความเป็นจรงิ
ถึงพนั ธกิจของพระเป็นเจ้าของพระองค์จากการเรม่ิ ต้นพระวรสารของท่าน นักบุญมทั ธวิ อ้างพระคมั ภีร์พนั ธ
สญั ญาเดมิ ทบ่ี ่งถงึ พระเยซูเจา้ แมจ้ ะปรากฏเป็นรายละเอยี ดเพยี งเลก็ น้อยกต็ าม.. ทา่ นไดช้ ใ้ี หเ้ หน็ รายละเอยี ดทุก
เรอ่ื งถงึ เสน้ ทางเดนิ (ประกาศขา่ วดแี หง่ พระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ )ของพระเยซูเจา้

มสี ่วนประกอบ 3 ประการในบทสรุปแรกถงึ กจิ การของพระเยซูเจา้ (เทยี บ มธ. 4: 12-25) ประการแรก
คอื การบ่งชข้ี องนกั บญุ มทั ธวิ ถงึ สาระพน้ื ฐานแห่งการเทศน์สอนของพระเยซูเจา้ โดยสรุปสาระคาสอนทงั้ หมดของ
พระองคว์ า่ “จงกลบั ใจเถดิ เพราะอาณาจกั รสวรรคอ์ ยใู่ กลแ้ ลว้ ” (มธ. 4: 17) ประการทส่ี อง คอื การทพ่ี ระเยซูเจา้
ทรงเรยี กอคั รสาวก 12 คน ซง่ึ เป็นทงั้ การกระทาแบบเป็นสญั ลกั ษณ์ และเป็นกจิ การทก่ี ระทาจรงิ ทพ่ี ระเยซูเจา้
ทรงประกาศ และทรงรเิ รมิ่ ฟ้ืนฟู 12 เผ่าของชนอิสราเอลข้นึ มาใหม่ เป็นชุมชนใหม่แห่งประชากรอิสราเอล
ประการสุดทา้ ย คอื ขอ้ ความตอนน้ีแสดงใหเ้ หน็ ชดั วา่ พระเยซูเจา้ มใิ ช่ทรงเป็นเพยี งอาจารยเ์ ท่านนั้ แต่พระองค์
ทรงเป็นองคผ์ ไู้ ถก่ ขู้ องบุคคลมนุษยท์ งั้ ครบดว้ ย กลา่ วคอื พระเยซูเจา้ ผทู้ รงสงั่ สอน ในเวลาเดยี วกนั กท็ รงเป็นพระ
เยซูเจา้ ผชู้ ว่ ยใหร้ อดดว้ ย... ทรงเป็นโมเสสใหม่ (โยเซฟ รตั ซงิ เกอร,์ เบเนดกิ ต์ ท่ี 16 พระสนั ตะปาปา, อา้ งแลว้ หน้า 136-138)

พระเยซูเจ้าเสดจ็ กลบั แควน้ กาลิลี
12 เมอ่ื พระเยซูเจา้ ทรงทราบวา่ ยอหน์ ถูกจองจา จงึ เสดจ็ ไปยงั แควน้ กาลลิ ี 13 ทรงออกจากเมอื งนาซาเรธ็ มาประทบั อยทู่ เ่ี มอื ง
คาเปอรนาอมุ บนฝัง่ ทะเลสาบ ในดนิ แดนเผา่ เศบูลุนและนฟั ทาลี 14 ทงั้ น้ี เพอ่ื ใหพ้ ระดารสั ทต่ี รสั ไวท้ างประกาศกอสิ ยาห์ เป็น
ความจรงิ วา่

15 ดินแดนเศบลู นุ และนัฟทำลี
เส้นทำงไปส่ทู ะเล ฟำกโน้นของแม่น้ำจอรแ์ ดน
แควน้ กำลิลีแห่งบรรดำประชำชำติ

16 ประชำชนทีจ่ มอย่ใู นควำมมืด
ได้เหน็ ควำมสว่ำงยิง่ ใหญ่
ผทู้ ีอ่ ำศยั อยใู่ นดินแดนและในเงำแห่งควำมตำย
แสงได้ส่องข้ึนมำเหนือพวกเขำแล้ว
17 นบั แต่นนั้ มา พระเยซเู จา้ ทรงเรมิ่ ประกาศเทศนาวา่ “จงกลบั ใจเถดิ เพราะอาณาจกั รสวรรค5์ อยใู่ กลแ้ ลว้ ”

107

ข้อศึกษาวิพากษ์
4:12 พระวรสารนักบุญมทั ธิวไม่ได้ระบุวนั ท่ีของเร่ืองโดยอิงปฏิทินทางโลก แต่ระบุโดยสมั พนั ธ์กบั

เหตุการณ์สาคญั ๆ ในประวตั ศิ าสตรก์ ารไถ่กูใ้ หร้ อดพน้ ดงั นัน้ จงึ ไม่มกี ารบ่งช้วี ่าเวลาไดผ้ ่านไปนานเท่าไหร่แต่
อย่างใด อาจเป็นสปั ดาห์ เป็นเดอื น หรอื แมก้ ระทงั่ เป็นปี พระวรสารนักบุญมทั ธวิ ยดึ ตามพระวรสารนกั บุญมาระ
โกในการบนั ทกึ ว่าพระราชกจิ ของพระเยซูเจ้าทรงเรม่ิ ข้นึ หลงั จากนักบุญยอห์น ผู้ทาพธิ ลี ้างถูกจบั ซ่ึงต่างกบั
พระวรสารฉบบั ท่ี4 ท่ีภารกิจของพระเยซูเจ้ากบั พนั ธกิจของนักบุญยอห์น ผู้ทาพิธลี ้าง เหล่อื มซ้อนกนั คาท่ี
แปลว่า “Put In Prison” (จาคุก) (ฉบบั NIV และ NRSV แปลว่า Arrested หรอื ถูกจบั กุม) เป็นรูปกรรมวาจกของ Paradidomi
ซง่ึ แปลวา่ “สง่ มอบตวั ” “ทรยศ” “สง่ มอบ” คาคาเดยี วกนั น้มี กี ารใชซ้ ้ากนั ทงั้ ในการกระทาทรยศของยดู าสและการ
กระทาของพระเป็นเจา้ ในการทรงส่งมอบพระเยซูเจา้ เพ่อื ชดเชยบาปของมนุษย์ เป็นคาทส่ี ะทอ้ นภาพผูร้ บั ใชผ้ ู้
ทนทุกข์ ซง่ึ “พระเป็นเจา้ ทรงวางลงบนท่านซง่ึ ความบาปผดิ ของเราทุกคน” (อสย. 53:6 LXX, แปลโดยผเู้ ขยี น) ในทอ่ี ่นื ๆ
ในพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ การกล่าวถงึ การกระทาของพระเป็นเจา้ ในการทรงสง่ มอบพระเยซูเจา้ จะใชก้ รรมวาจก
เสมอ การใชก้ รรมวาจก ณ ทน่ี ้ีกล่าวถงึ นกั บุญยอหน์ ผู้ทาพธิ ลี า้ ง โดยดดั แปลงมาจาก มก. 1:14 เป็นอกี ตวั อย่าง
หน่ึงของการทาใหน้ ักบุญยอห์นกบั พระเยซูเจา้ คู่ขนานกนั โดยนักบุญมทั ธวิ และเป็นเคร่อื งย้าเตอื นอกี ประการ
หน่งึ วา่ เรอ่ื งน้ยี งั คงอยใู่ นหน่วยทางวรรณกรรมวา่ ดว้ ยนกั บญุ ยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ ง (ดคู านาและขา้ งบน ใต้ 4:1-11)

คาว่า “Withdrew” ในฉบับ NRSV สามารถจบั ความหมายของคาว่า Anachoreo ซ่ึงเป็นคากิรยิ าใน
ภาษากรกี ทม่ี กี ารใชใ้ นพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ 10 ครงั้ และในทอ่ี ่นื ในพระวรสารทงั้ หมดเพยี งสองครงั้ แทบกล่าว
ไดว้ ่านักบุญมทั ธวิ ใชค้ าน้ีเฉพาะกบั วธิ ที ่พี ระเยซูเจา้ ทรงตอบสนองต่อการคุกคาม (ดู 12:15; 14:13) ทพ่ี ระองคท์ รง
ถอยนัน้ กไ็ ม่ใช่ดว้ ยความขลาด การเอาตวั รอด หรอื เป็นกลวธิ ี แต่เป็นการแสดงถงึ ทศั นะเร่อื งความเป็นกษตั รยิ ์
แบบต่างออกไปของพระเยซูเจา้ ซง่ึ ไม่ใชค้ วามรุนแรงและไม่มกี ารโตต้ อบแกแ้ คน้ การถอยออกไปยงั สะทอ้ นถงึ
ประสบการณ์ช่วงหลงั ปัสกาของศษิ ยข์ องพระองคด์ ว้ ย นกั บุญมทั ธวิ ใหภ้ าพพระเยซูเจา้ เป็นผทู้ ต่ี อบสนองการรุก
ดว้ ยการถอยโดยไม่มกี ารตอบโต้ (5:38-42; 26:53-56) ทา่ นไดพ้ ฒั นาภาพน้ีขน้ึ มา จากการใชเ้ พยี งครงั้ เดยี วในพระวร
สารนกั บญุ มาระโก (3:7 ซง่ึ เป็นการตอบสนองต่อภยั คุกคามใน 3:6 เช่นกนั ) และทาใหภ้ าพน้ีเป็นภาพแมบ่ ทของพระวรสารของ
ทา่ น (2:14, 19-22; 4:12; 10:23; 12:14-21; 14:13; 15:21; ดเู ทยี บกบั 2:12-13 โดยนบั โหราจารยเ์ ป็นศษิ ยล์ ว่ งหน้า)

4.13. เมอ่ื พระเยซูเจา้ เสดจ็ ไปจากเมอื งนาซาเรธ็ ทซ่ี ง่ึ พระองคไ์ ดท้ รงเตบิ โตเจรญิ วยั ขน้ึ พระองคท์ รงเขา้
มาตงั้ ถน่ิ ฐานในเมอื งคาเปอรน์ าอมุ ซง่ึ เป็นถน่ิ ฐานของนกั บุญเปโตรและนกั บญุ อนั ดรวู ์ (8:5, 14) ต่อมาไดก้ ลายเป็น
“เมอื งของพระองค์” (9:1) ทงั้ สองเมอื งอยู่ในแคว้นกาลลิ ี ซ่ึงเป็นภูมลิ าเนาของพระเยซูเจ้า ระหว่างท่ที รงอยู่ใน
สภาพพลดั ถ่ิน (2:19-21; 9:1; 13:54) แคว้นกาลลิ มี บี ทบาทไปในทางเทววทิ ยาเชงิ สญั ลกั ษณ์ แต่ไม่ใช่ว่าผู้เขยี นจะ
นาเสนอภาพแบบเพอ้ ฝัน ราวกบั ว่าชาวกาลลิ ดี ไี ปหมดทุกคนและชาวยดู าหเ์ ลวไปหมดทุกคน (11:20-24; 13:53-58)
ไม่มี “ฤดูใบไมผ้ ลทิ ่ีแควน้ กาลลิ ”ี หรอื ยุคกาลลิ ที ง่ี ดงามแบบชนบทสาหรบั นักบุญมทั ธวิ เป็นเพราะแควน้ กาลลิ ี
เป็นสถานทส่ี มั พนั ธก์ บั คนต่างชาตนิ นั่ เอง นกั บุญมทั ธวิ จงึ เน้นความสาคญั ของแควน้ น้ีในแงท่ เ่ี ป็นฉากเหตุการณ์
แหง่ ภารกจิ ของพระเยซูเจา้ ดงั นนั้ เน้อื หาสว่ นทค่ี ดั เลอื กมาน้ี เมอ่ื พจิ ารณาโดยผวิ เผนิ แลว้ ดจู ะเป็นหมายเหตุทาง
ชวี ประวตั ชิ นั้ รอง แทจ้ รงิ แลว้ ไมไ่ ดเ้ ป็นชวี ประวตั เิ ลย หากแต่เป็นบนั ทกึ เรอ่ื งเล่าทป่ี ระกอบไปดว้ ยเทววทิ ยาของ
นกั บุญมทั ธวิ อย่างสมบรู ณ์ – ซง่ึ รองมา เป็นบนั ทกึ ทอ่ี า้ งองิ ใชข้ อ้ ความสนบั สนุนจากพระคมั ภรี ์

108

4:14-16. คอื คาอา้ งองิ ทเ่ี ป็นสตู รประการทห่ี า้ ของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ (เช่นเดยี วกบั 2:6, 23) ทาหน้าทใ่ี ห้
ความสมเหตุสมผลแก่ขอ้ เท็จจรงิ ซ่ึงไม่ได้คาดหวงั ถึงการเสด็จมาของพระเมสสยิ าห์ ท่ีว่าดนิ แดนกาลลิ เี ป็น
สถานทห่ี ลกั ในการประกอบพระราชกจิ ของพระเยซูเจา้ (ดูบทเสรมิ เรอื่ ง “มทั ธวิ ในฐานะผตู้ คี วามพระคมั ภรี ์”) อสย. 9:1-2 พดู
ถงึ การพลกิ กลบั อนั ใหญ่หลวงท่จี ะเกดิ ขน้ึ ในยุคสุดทา้ ย เม่อื ความมดื ทางจติ วญิ ญาณของดนิ แดนกาลลิ จี ะถูกรุ่ง
อรุณแห่งยุคใหม่ปัดเป่าไป เม่อื กษตั รยิ ผ์ เู้ ป็นอุดมคตปิ รากฏขน้ึ การทน่ี ักบุญมทั ธวิ รูส้ กึ ว่าตวั บทน้ีน่าสนใจมใิ ช่
เป็นเพียงเพราะความเช่ือมโยงในเร่อื งความเป็นไปได้ของการเป็นพระเมสสิยาห์ และการเป็นเช้ือสายของ
กษตั รยิ ์ดาวดิ เท่านัน้ (ดูเทยี บกบั อสย. 9:3-7) แต่เป็นเพราะสารน้ีแสดงอย่างเหมาะสมถงึ การหนั มาหาคนต่างชาตทิ ่ี
ท่านเหน็ ว่าไดเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ ในประวตั ศิ าสตรข์ องพระศาสนจกั ร ดนิ แดนแควน้ กาลลิ ี เช่นเดยี วกบั ในพ้นื ทห่ี ลายๆ
แห่งในปาเลสไตน์ ในสมยั เฮเลนนสิ ตกิ มลี กั ษณะของการผสมผสานกนั ระหวา่ งวฒั นธรรมยวิ กบั วฒั นธรรมของคน
ตา่ งชาติ ชาวยวิ เป็นชนกลุ่มน้อย แต่นกั บุญมทั ธวิ กม็ องวา่ แควน้ กาลลิ เี ป็นแดนของ “คนต่างชาต”ิ โดยองิ ตวั บทน้ี
ไม่ใช่องิ สถติ ปิ ระชากรซง่ึ เป็นขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษ์ เมอื งนาซาเรธ็ อย่ใู นอาณาบรเิ วณของเผ่าเศบูลุนในพนั ธสญั ญา
เดมิ เมอื งคาเปอรน์ าอุมอย่ใู นอาณาบรเิ วณของเผ่านัฟทาลี ทงั้ สองเมอื งอย่ใู นแควน้ กาลลิ ี ซ่งึ เป็นอาณาบรเิ วณ
ภายใตก้ ารปกครองของกษตั รยิ เ์ ฮโรด อนั ทพิ าส

4:17. เป็นขอ้ ความแสดงตาแหน่งของจุดเปลย่ี นในโครงเรอ่ื ง (ดูคาอธบิ ายโดยภาพรวม) บทสรุปของขอ้ ความน้ี
เป็นคาสงั่ “จงกลบั ใจ(เสยี )ใหม่” ซ่งึ ใชร้ ปู กรยิ าบอกเล่า “อาณาจกั รสวรรคม์ าใกลแ้ ลว้ ” แมว้ ่านักบุญมทั ธวิ จะเอา
คาสงั่ ทเ่ี รยี กใหเ้ กดิ การตอบสนองของมนุษยไ์ วใ้ นสว่ นแรกซง่ึ ทาหน้าทเ่ี น้นย้า ฐานของคาน้ีกเ็ ป็นคาบอกเล่าทบ่ี ่ง
บอกการกระทาของพระเป็นเจ้าซ่ึงในเชงิ ตรรกศาสตร์แล้วเป็นสง่ิ ท่มี าก่อน “อาณาจกั รสวรรค์” เหมอื นกนั กบั
“อาณาจกั รพระเป็นเจา้ ” (ดูบทเสรมิ เรอื่ ง “แผ่นดนิ สวรรคใ์ นพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ”) “อาณาจกั ร” หมายถงึ การปกครองของพระ
เจ้าท่ดี าเนินไป “Has Come Near” (มาใกล้แล้ว) (NRSV) ดกี ว่า “Is Near” (อยู่ใกล้ๆ) (NIV) “Is At Hand” (อยู่ใกล้แค่เอ้ือม)
(RSV) ในแงท่ เ่ี ป็นการบรรยายเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ไมใ่ ชส่ ภาวะทเ่ี ป็นอยแู่ ลว้ คาวา่ “มาใกลแ้ ลว้ ” เป็นขอ้ ความทบ่ี ่ง
บอกเวลา ไมใ่ ชส่ ถานท่ี หมายถงึ แผน่ ดนิ ณ กาลสน้ิ โลกทไ่ี ดเ้ ขา้ มาแลว้ ดว้ ยการปรากฏของพระเยซูเจา้ พระองค์
ทรงประกาศวา่ ไดม้ บี างสง่ิ เกดิ ขน้ึ (การเสดจ็ มาของพระเมสสยิ าห)์ และสง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ น้ไี ดท้ าใหก้ ารเสดจ็ มาครงั้ สุดทา้ ยแหง่
การปกครองของพระเป็นเจ้า ณ กาลส้นิ โลกใกล้เขา้ มา บทสรุปน้ีบอกล่วงหน้าถงึ การประกาศสารของศาสนา
ครสิ ต์เก่ยี วกบั พระเยซูเจา้ ซง่ึ ฝากไวก้ บั ศษิ ยใ์ นถอ้ ยคาเหล่าน้ีเอง (10:7) บทสรุปน้ียงั เช่อื มโยงสารของพระศาสน
จกั รและพระเยซูเจา้ เขา้ กบั สารของนกั บุญยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ งอกี ดว้ ย (ดู 3:2)

สภาพความเป็นจรงิ แห่งอนั ตกาลน้ี เป็นฐานของการเรยี กใหก้ ลบั ใจของพระเยซูเจา้ (เช่นเดยี วกบั ในกรณีของ
นักบุญยอห์น ซ่งึ มาก่อนและในกรณีของศษิ ย์ ผู้ซ่งึ จะตามมาในภายหลงั ) “จงกลบั ใจเสยี ใหม่” (ภาษากรกี Metanoeo) ในภาษากรกี ท่ี
นกั บุญมทั ธวิ ใชแ้ ปลตรงตวั ไดว้ ่า “เปลย่ี นใจ” แต่เตม็ ไปดว้ ยนยั ของค่เู ทยี บในภาษาฮบี รู คอื “หนั ” “กลบั มา” (Bwv
Sûb) การกลบั ใจไม่ไดเ้ ป็นสงิ่ ทน่ี ักบุญยอหน์ เป็นผรู้ เิ รมิ่ หรอื พระเยซูเจา้ เป็นผทู้ รงรเิ รมิ่ บอกใหท้ า แต่เป็นวธิ กี าร
แบบมาตรฐานในการพยากรณ์และในวฒั นธรรมของชาวยวิ ในการกลบั คนื ดกี บั พระเป็นเจา้ คาๆ น้ีไม่ไดท้ าให้
เห็นภาพความเศร้าหรอื ความสานึกผดิ แต่ทาให้เห็นภาพของความเปล่ยี นแปลงทิศทางการดาเนินชวี ติ “จง
กาหนดทิศทางการใช้ชีวติ ของท่านใหม่แล้วทาตามนัน้ ” ได้ความโดยนัยทงั้ ภาษากรกี และฮีบรู การกาหนด
ทศิ ทางใหมน่ ้เี ป็นการตอบสนองการ “มาใกล”้ แลว้ ของพระอาณาจกั ร

109

ข้อคิดไตรต่ รอง
ณ ตอนน้ี นักบุญมทั ธวิ ไม่ไดเ้ รยี กสารของพระเยซูเจา้ ว่า “ขา่ วดเี ร่อื งอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ” เช่นใน

บทค่ขู นานในพระวรสารนกั บุญมาระโก คอื มก. 1:14 แต่ในขอ้ พระคมั ภรี ท์ ม่ี เี น้ือหาสรุปในตอนตน้ และตอนทา้ ย
ของเน้ือหาส่วนหน่ึง คอื 4:23//9:35 นักบุญมทั ธวิ ใชว้ ลนี ้ี ซ่งึ เป็นคาบรรยายเดยี วกนั ถงึ สารทางครสิ ตศาสนาท่ี
บรรดาสาวกเทศนาหลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี (24:14; ดเู ทยี บกบั 13:19) จรงิ ๆ ซง่ึ หมายความวา่ นกั บญุ มทั ธวิ รบั รอง
ความต่อเน่ืองกนั ของสารของพระเยซูเจา้ ในช่วงเวลาทพ่ี ระองคท์ รงกระทาพระราชกจิ ในโลกกบั สารของพระศา
สนจกั รเกย่ี วกบั พระองค์ ท่านหลกี เลย่ี งช่องว่างทางอรรถปรวิ รรตศาสตร์ ซง่ึ อาจจะก่อใหเ้ กดิ ปัญหาทว่ี ่าพระเยซู
เจ้าในฐานะ “ผู้ประกาศ” ถึงพระอาณาจกั ร กบั พระเยซูเจ้าในฐานะผู้ท่พี ระศาสนาจกั ร “ประกาศ” ว่าเป็นพระ
ครสิ ตใ์ น 2 ทาง

1. นกั บุญมทั ธวิ ทาใหเ้ ร่อื งเล่าช่วงก่อนปัสกาของพระเยซูเจา้ มคี วามชดั เจนในแงท่ ส่ี มั พนั ธก์ บั สถานการณ์
ช่วงหลงั ปัสกา โดยนาความใส่ใจและการตอบสนองของพระศาสนจกั รหลงั ช่วงปัสกา เขา้ มาใส่ไวใ้ นเร่อื งท่เี ล่า
เพ่อื ใหเ้ ร่อื งราวของพระเยซูเจา้ และศษิ ยข์ องพระองคท์ ก่ี าลงั ดาเนินไป ทน่ี นั่ -และ-ตอนนนั้ ปรบั เปลย่ี นมาเป็นสงิ่
ทก่ี ล่าวต่อพระศาสนจกั ร ทน่ี ่ี-และ-ตอนน้ี ท่านทาเช่นน้ีโดยการวางโครงเร่อื ง ไม่ใช่โดยการเล่าก่อนว่าไดม้ อี ะไร
เกดิ ขน้ึ ตอนนัน้ แลว้ จงึ นาเหตุการณ์ทเ่ี ล่านัน้ มาพูดถงึ ปัจจุบนั นักบุญมทั ธวิ นาเร่อื งเล่าของภารกจิ การช่วยกู้ให้
รอดของพระเป็นเจ้าในพระครสิ ต์มาเล่าใหม่ในแบบเรยี งไปตามเหตุการณ์และวนั เวลา(ท่ีเส้นขอบฟ้า)ระหว่าง
เหตุการณ์ในอดตี และประสบการณ์ในปัจจุบนั รวมกนั เขา้ มาเป็นเร่อื งเดยี วกนั การนาพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ มา
สอนและเทศนาสามารถกระทาโดยเอาอยา่ งผเู้ ขยี นและใชร้ ปู แบบเดยี วกนั ได้

2. นกั บุญมทั ธวิ ทาใหก้ ารประกาศถงึ พระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ เป็นลกั ษณะรว่ มของการเทศนาของพระเยซู
เจ้ากบั การเทศนาของพระศาสนจกั ร กล่าวคอื ทงั้ สองกรณีมีพระเป็นเจ้าเป็นศูนย์กลาง เม่อื พระศาสนจกั ร
ประกาศถงึ ภารกจิ ของพระเป็นเจา้ ในพระเยซูเจา้ พระศาสนจกั รกส็ บื สานการเทศนาของพระเยซูเจา้ เองเกย่ี วกบั
พระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ดว้ ย สาหรบั นกั บุญมทั ธวิ พระอาณาจกั รพระเจา้ ไมใ่ ช่อุดมคติ หลกั การ หรอื นามธรรม
แต่เป็นสงิ่ ทเ่ี ปิดเผยออกมาและมคี วามเป็นรปู ธรรมอย่างแน่แทใ้ นชวี ติ และภารกจิ ของพระเยซูเจา้ ดว้ ยเหตุน้ีเอง
ภาษาทใ่ี ชใ้ นการกล่าวถงึ “ความเป็นกษตั รยิ ”์ จงึ มคี วามสาคญั มากตลอดทงั้ พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ตงั้ แต่ฉาก
เปิดท่ีกษัตรยิ ์ท่ีเพ่ิงประสูติเป็นภัยคุกคามต่ออาณาจกั รของโลกน้ี (2:1-23) ไปจนถึงฉากปิด ท่ี “กษัตริย์ของ
อสิ ราเอล” ผถู้ ูกตรงึ กางเขนเป็นผูท้ อ่ี ุทศิ พระชนมช์ พี ของพระองคเ์ องใหแ้ ก่ผอู้ ่นื (สงั เกตภาษาทใ่ี ชใ้ นการกล่าวถงึ ความเป็น
กษตั รยิ ใ์ น 27:11-54)แลว้ ไดร้ บั การพสิ จู น์วา่ ไม่มคี วามผดิ และไดร้ บั “ฤทธานุภาพทงั้ สน้ิ ” (28:16-20)

มทั ธิว 4:18-22 การเรียกศิษย์

ทรงเรียกศิษยช์ ุดแรกสี่คน
18 ขณะทท่ี รงดาเนินไปตามชายฝัง่ ทะเลสาบกาลลิ ี พระองคท์ อดพระเนตรเหน็ พน่ี ้องสองคนคอื ซโี มนทเ่ี รยี กว่าเปโตรกบั อนั -

ดรวู น์ ้องชายกาลงั ทอดแห เขาเป็นชาวประมง 19 พระองคต์ รสั สงั่ วา่ “จงตามเรามาเถดิ เราจะทาใหท้ ่านเป็นชาวประมงหามนุษย”์
20 เปโตรกบั อนั ดรวู ก์ ท็ ง้ิ แหไว้ แลว้ ตามพระองคไ์ ปทนั ที

110

21 เม่อื ทรงดาเนินไปจากท่นี ัน่ พระองค์ทอดพระเนตรเหน็ พ่นี ้องอกี สองคนคอื ยากอบบุตรของเศเบดแี ละยอห์นน้องชาย
กาลงั ซ่อมแหอยใู่ นเรอื กบั เศเบดผี บู้ ดิ า พระองคท์ รงเรยี กเขา 22 ทนั ใดนนั้ เขากล็ ะทง้ิ เรอื และบดิ า แลว้ ตดิ ตามพระองคไ์ ป

ข้อศึกษาวิพากษ์
แมว้ า่ เน้ือหาตอนน้ีจะสนั้ แต่เป็นสว่ นยอ่ ยทส่ี าคญั ของโครงสรา้ งของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ (ดเู ทยี บกบั คา

นา) การเรยี กศษิ ย์กลุ่มแรกเป็นจุดเรมิ่ ต้นชุมชนของพระเมสสยิ าห์ คอื พระศาสนจกั ร การรบั พิธลี ้างและการ
ทดลองของพระเยซูเจ้าไม่ได้เป็นเพียงแค่ประสบการณ์ทางศาสนาเฉพาะของ “มหาบุรุษ” แต่เป็นการสรุป
ทบทวนซ้าถงึ การเกดิ เป็นชนชาตอิ สิ ราเอลในทะเลแดงและการทดลองในถนิ่ ทุรกนั ดาร ประสบการณ์ดงั กล่าวน้ี
นาไปสู่การก่อตวั ข้นึ ของชุมชนใหม่ คอื “ประชากร” ของพระเมสสยิ าห์ (1:21) เร่อื งเล่าน้ีไม่ใช่การรายงานแบบ
ตรงไปตรงมา แต่สอ่ื ถงึ การเรยี กสานุศษิ ยใ์ นพระศาสนจกั รของนกั บุญมทั ธวิ

นกั บุญมทั ธวิ คดั ลอกเร่อื งน้ีมาจาก มก. 1:16-20 โดยเปลย่ี นแปลงคาทใ่ี ชเ้ พยี งเลก็ น้อย(แตส่ าคญั ) เป็นการ
ทบทวนตคี วามใหม่ผ่านโครงสรา้ งทางวรรณกรรมทท่ี ่านเพม่ิ บางขอ้ ความ ท่านไม่ไดเ้ ขยี นขน้ึ ใหม่ แต่นามาจาก
เร่อื งเล่าแบบมุขปาฐะ (Oral Tradition) สบื ต่อกนั มาตงั้ แต่ก่อนสมยั พระวรสารนักบุญมาระโก ซง่ึ มลี กั ษณะเป็น
เกรด็ เร่อื งเล่า (Chreia) (เทยี บ คานา) บรรยายสนั้ ๆ เน้นความสาคญั กบั คาทพ่ี ระเยซูเจา้ ตรสั สอน พระองคท์ รงเรยี ก
สานุศษิ ย์ แลว้ พวกเขาไดส้ ละทง้ิ ทุกสง่ิ และตดิ ตามพระอาจารยไ์ ป เป็นเรอ่ื งเล่าทพ่ี บไดใ้ นวรรณกรรมสมยั เฮเลน
นิสตกิ และเลา่ ในลกั ษณะเหมอื นกบั เหตุการณ์ท่ปี ระกาศกเอลยี าเรยี กประกาศกเอลชี าใน 1พกษ. 19:19-21 และ
เร่อื งการเรยี กประกาศกทวั่ ไป (เทยี บ อมส. 7:15) ซง่ึ มลี กั ษณะเร่อื งเหมอื นกบั พระยาเวห์ทรงเรยี กบรรดาประกาศก
จากคนท่ีมีวถิ ีชีวติ ธรรมดา พระเยซูเจ้าก็ทรงเรมิ่ ต้นพระภารกิจด้วยการเรยี กบุคคลธรรมดามาเป็นศิษย์ใน
ลกั ษณะเดยี วกนั

4:18. ตามปกตบิ รรดารบั บไี ม่ไดแ้ สวงหาศษิ ย์ แต่คดั เลอื กศษิ ยจ์ ากคนทม่ี าสมคั ร แต่ในกรณีของพระเยซู
เจา้ พระองคเ์ ป็นผทู้ รงรเิ รม่ิ โดยพระองคท์ รงเป็นผกู้ ระทาการตงั้ แต่แรก ผเู้ ล่าเร่อื งนาพาผอู้ ่านไปกบั พระเยซูเจา้
เดนิ ไปตามชายทะเล จนกระทงั ่ ซโี มนกบั อนั ดรูว์ปรากฏขน้ึ ในสายตา (อนั ท่จี รงิ แล้วจะเล่าเร่อื งโดยใหผ้ ู้เล่าและผู้อ่าน อยู่ท่ี
ชายทะเลกบั ชาวประมงแลว้ ตอนทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงปรากฏขน้ึ กไ็ ด้ แต่ถา้ ทาอย่างนัน้ ผลกจ็ ะไม่เหมอื นกนั ) พระเยซูเจา้ ทรงมาหาซโี มนกบั
อนั ดรูว์ ไม่ใช่พวกเขามาหาพระองค์ พระองค์ทรงเหน็ พวกเขา ไม่ใช่พวกเขาเหน็ พระองค์ พระองค์ตรสั ไม่ใช่
พวกเขาพดู

4:19. การเรยี กของพระเยซูเจา้ เป็นคาบญั ชาและเป็นคาสญั ญา น่ีเป็นอกี ครงั้ ทพ่ี ระวรสารใชร้ ปู แบบคาสงั่
มาก่อนรูปแบบกรยิ าบอกเล่า แต่องิ ลกั ษณะบอกเล่า (ดูคาอธบิ าย 4:17 ขา้ งบน) “จงตามเรามาเถดิ ” เป็นคาบญั ชาให้
พวกเขามาเป็นศษิ ย์ ความหมายของคาสญั ญาวา่ “เราจะตงั้ ท่านให้หาผคู้ นดงั่ หาปลา” ไม่ไดช้ ดั เจนนัก คาอุปมา

111

เปรยี บการจบั ปลาแสดงถงึ การกระทาท่มี ปี ระวตั อิ นั ยาวนานในศาสนาและธรรมประเพณีของคนต่างชาตแิ ละ
ชาวยวิ พวกเขายงั เขา้ ใจถงึ การตคี วามการประมงแบบสมยั ใหม่ไม่ได้ สาระจะไม่ตรงกนั อย่างแน่นอนหากจะคดิ
วา่ พระเยซูเจา้ ทรงใชส้ ถานการณ์น้มี าสรา้ งเรอ่ื งอุปมาสาหรบั กรณนี ้ีโดยเฉพาะ มกี ารใชภ้ าพน้ีมากมายหลายทาง
ในธรรมประเพณีของคนต่างชาตแิ ละชาวยวิ โดยมกั จะเป็นภาพทแ่ี สดงถงึ กจิ การของเทพเจา้ ในประวตั ศิ าสตรท์ ่ี
เรยี กคนมาส่ชู วี ติ ใหม่ เพ่อื จะมสี ่วนร่วมในภารกจิ กอบกู้โลกของเทพเจา้ ณ ทน่ี ้ี เป็นภาพกจิ การตดั สนิ /การช่วย
ให้รอดพ้นของพระเป็นเจ้าโดยองค์พระเยซูเจ้า ผู้ทรงเรยี กศิษย์ให้มามีส่วนร่วมในพระภารกิจศักดิส์ ิทธิต์ ่อ
มนุษยชาติ ฉากเร่อื งเล่าน้ีจงึ เป็นภารกจิ ดา้ นเทววทิ ยาอย่างชดั แจง้ ไม่เพยี งแต่ทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงเรยี กชาวกาลลิ ี
บางคนชว่ งก่อนปัสกาเทา่ นนั้ แต่ยงั หมายถงึ สถานการณ์ชว่ งหลงั ปัสกาทพ่ี ระครสิ ตท์ ไ่ี ดท้ รงเรยี กศษิ ยแ์ ละสง่ พวก
เขาออกไปประกาศข่าวดี ในเร่อื งเล่าไม่มอี ะไรบ่งบอกว่าการเรยี กศษิ ยม์ คี วามหมายพเิ ศษ แต่เป็นการนาเสนอ
ทศั นะทางเทววทิ ยาเก่ยี วกบั ลกั ษณะของผูต้ ดิ ตามมาในการเป็นศษิ ย์ ดงั นัน้ เร่อื งเล่าฉากน้ีจงึ สอดรบั กบั 9:36-
11:1 ซง่ึ เป็นตอนสรปุ ปิดของฉากเรอ่ื งเลา่ สว่ นน้อี ยา่ งเหมาะสม (ดคู านา)

4:20 โดยไม่มกี ารสอบถาม ชาวประมงไดล้ ะทง้ิ อวนของพวกเขาและตดิ ตามพระเยซูเจา้ ไป ต่างกบั เรอ่ื ง
เล่าใน 1พกษ. 19:19-21 พวกเขาถงึ กบั ละท้งิ พ่อแม่ในทนั ที (เทยี บ 8:18-22; 10:21-22, 32-37; 19:16-30) ส่วนเร่อื งเล่าใน
พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ คนเหล่าน้ีไมเ่ คยเหน็ พระเยซูเจา้ มากอ่ น ไม่เคยเหน็ การอศั จรรย์ ไมเ่ คยไดฟ้ ังคาสอน ไม่
เคยได้รบั คาอธบิ ายใดๆ ไม่มีใครบอกพวกเขาว่าทาไมต้องติดตามพระเยซูเจ้า ติดตามพระองค์แล้วจะเป็น
อย่างไร หรอื เสน้ ทางนัน้ จะนาพวกเขาไปไหน ณ ท่นี ้ีเราได้เห็นการอศั จรรย์ครงั้ แรกของพระเยซูเจ้า คอื เป็น
อศั จรรยแ์ ห่งถอ้ ยคาอนั ทรงพลงั ของพระองคท์ ท่ี าใหเ้ กดิ การตดิ ตาม ทาใหเ้ กดิ สานุศษิ ย์ พระเยซูเจา้ ผทู้ รงเป็น
ผเู้ รยี กทรงรบั ผดิ ชอบในการทาใหพ้ วกเขากลายมาเป็นชาวประมงหาผคู้ น ดงั ทพ่ี ระองคท์ รงประกาศในภายหลงั
ว่าพระองคจ์ ะทรงสรา้ งพระศาสนจกั รของพระองค์ (16:18) ดงั น้ี ตงั้ แต่ต้นในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ มาถงึ ตอนน้ี
พระเยซูเจา้ ตรสั แตเ่ พยี งคาบญั ชาสนั้ ๆ แต่ละคาบญั ชาตรสั ดว้ ยสทิ ธอิ านาจ (3:15; 4:1-11; 4:17) ความหมายของสาระ
เน้ือหาของตัวบทจะหายไป หากอ่านในแง่ชีวประวตั ิหรอื จิตวทิ ยา ซ่ึงเป็นประเด็นความรู้จกั สมั พนั ธ์ติดต่อ
เก่ยี วขอ้ งกนั แต่เดมิ ระหว่างพระเยซูเจา้ กบั ชาวประมงเหล่าน้ี เม่อื พยายามนา ยน. 1:35-51 เขา้ มาประกอบใน
การพจิ ารณาตวั บทน้หี รอื ใหค้ าอธบิ ายแบบ “มเี หตุผล” แกก่ ารอศั จรรยน์ ้ไี ม่ทางใดกท็ างหน่งึ ชุมชนแหง่ พระเมสสิ
ยาห์ พระศาสนจกั รไดเ้ กดิ ขน้ึ มาจากการตอบรบั (เชอ่ื และยอมรบั )พระวาจาของพระครสิ ตน์ นั่ เอง

ผูท้ ่มี าเป็นศษิ ยค์ นแรกคอื ซโี มน “เปโตร” ผูซ้ ง่ี เป็นคนสาคญั คนแรกสาหรบั นักบุญมทั ธวิ (10:2; สาหรบั การ
อภปิ รายเก่ยี วกบั ช่อื และบทบาทของท่านนักบุญเปโตรในหมู่คณะศษิ ย์ ดูคาอธบิ าย 16:16-18) นักบุญเปโตรและน้องชายของท่านเป็น
ชาวประมง ทก่ี าลลิ ใี นศตวรรษทห่ี น่ึง อาชพี น้ีอาจมสี ถานะเป็น 3 แบบตอ่ ไปน้ี (1) คนเกบ็ ภาษที ม่ี ธี ุรกจิ สมั ปทาน
การประมงและขายสทิ ธใิ ์ นการทาประมงใหแ้ ก่นกั ธุรกจิ ในทอ้ งถน่ิ (2) คนทม่ี เี รอื หรอื ใหเ้ ช่าเรอื และว่าจา้ งคนงาน
ภาคกลางวนั (3) เป็นคนงานภาคกลางวนั ตามฤดกู าลนนั้ สองประเภทแรกแสดงถงึ ความเป็นชนชนั้ สงู และชนชนั้
กลางตามลาดบั ซง่ึ ปกตจิ ะมกี ารศกึ ษาดพี อประมาณ รวมทงั้ รภู้ าษากรกี เช่น ธรรมาจารยแ์ ละอาจารยช์ าวยวิ ท่ี
ทาธุรกจิ ประมง แบบท่นี ักบุญเปาโลเป็นช่างทาเตน็ ท์/ช่างหนัง ส่วนชนั้ ท่สี าม ส่วนมากเป็นคนยากจนและไม่รู้
หนังสอื ขอ้ มูลแยกแยะน้ีมปี ระโยชน์ต่อการระบุสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมของพระเยซูเจา้ และศษิ ยข์ องพระองค์
ในฐานะบุคคลในประวตั ศิ าสตร์ แต่ไม่มคี วามสาคญั ต่อการตคี วามตวั บทพระวรสาร ซโี มน เปโตร ในฐานะบุคคล
ในประวตั ศิ าสตรอ์ าจจะเป็นชนชนั้ กลาง แต่นักบุญมทั ธวิ ใส่ใจชวี ประวตั นิ ้อยมาก ไม่ใหร้ ายละเอยี ดภาพลกั ษณ์

112

ของท่านมากพอท่จี ะบอกได้ว่าเป็นอย่างไร กล่าวคอื นักบุญมทั ธวิ ไม่ได้บนั ทกึ รายละเอยี ดเหมอื นท่พี ระวรสาร
นกั บญุ มาระโกระบุไวว้ า่ ซโี มน เปโตรและอนั ดรวู ์ มลี กู จา้ งชว่ ยทางาน (มก. 1:20)

ข้อคิดไตรต่ รอง
ประชาชนจะมาเป็นศษิ ย์ของพระเยซูครสิ ต์ได้อย่างไร? เม่อื มกี ารเล่าเร่อื งน้ีใหม่ในชุมชนของนักบุญ

มทั ธวิ น่ีเป็นคาท่นี กั บุญมทั ธวิ ถาม ไม่ใช่คาถามทางประวตั ศิ าสตรห์ รอื ชวี ประวตั ขิ องเหตุการณ์ทไ่ี ดผ้ ่านไปแลว้
พระเยซูเจา้ แห่งนาซาเรธ็ ในฐานะบุคคลในประวตั ศิ าสตรไ์ ดท้ รงเรยี กคนทม่ี อี ยู่จรงิ ใหม้ าเป็นศษิ ยข์ องพระองค์
แต่การเน้นความสาคญั ของเร่อื งน้ี มจี ุดหมายเพ่อื การตีความความหมายของขอ้ เท็จจรงิ ท่สี มั พนั ธ์กบั สงั คม
ปัจจุบันของผู้อ่าน ดังนัน้ ในการจะตีความ จุดสนใจจึงต้องอยู่ท่ีตัวบทพระวารสารนักบุญมัทธิว โดยไม่
เปรยี บเทยี บกบั พระวรสารฉบบั อ่นื ๆ และมโนทศั น์สมยั ใหมไ่ ม่วา่ จะเป็นในเรอ่ื งการตกปลาหรอื การมาเป็นศษิ ย์

1. ผู้อ่านสมยั ใหม่อาจมีแนวโน้มท่ีจะอยากเอาภาพแห่งการเป็นศิษย์ในพระคมั ภีร์มาแปลงใหม่ให้เป็น
หมวดหมู่ทเ่ี ขา้ กนั กบั อุดมการณ์และอุดมคตขิ องตนเองมากขน้ึ เช่น การเป็นศษิ ย์หมายถงึ การรบั หลกั การของ
พระเยซูเจา้ เกย่ี วกบั การใชช้ วี ติ การตคี วามใหม่แบบน้ีมสี ว่ นจรงิ อย่เู หมอื นกนั แต่เราไม่อาจลดทอนความเขา้ ใจ
ของนกั บุญมทั ธวิ ในเรอ่ื งการเป็นศษิ ยล์ งมาเป็นแนวคดิ เหตุผลนิยมและอุดมคตนิ ิยมสมยั ใหม่ ในตวั บทน้ีพระเยซู
เจา้ ทรงปรากฏขน้ึ มาท่ามกลางประชาชน ซง่ึ เป็นการแยกเราออกจากชวี ติ เดมิ และทรงเรยี กเราไม่ใช่เพอ่ื ช่นื ชม
พระองคห์ รอื ยอมรบั หลกั การของพระองค์ ไม่ใชเ่ พอ่ื ยอมรบั พระองคเ์ ป็นพระผไู้ ถ่กชู้ วี ติ สว่ นตวั ใหร้ อดพน้ แต่เพอ่ื
ตดิ ตามพระองค์ ตอ้ งตอบรบั อยา่ งเขา้ ถงึ เหตผุ ลต่อพระบญั ชาของพระองคท์ ว่ี า่ “จงตามเรามาเถดิ ” นนั่ คอื คาถาม
ว่า “พระองคจ์ ะเสดจ็ ไปทไ่ี หน?” บรรดาชาวประมงยงั ไม่รจู้ ดุ หมาย จงึ เป็นสง่ิ ทพ่ี วกเขาตอ้ งเรยี นรู้และหาคาตอบ
ในการตดิ ตามพระองค์ (เทยี บ 10:5-42; 16:13-28) แมว้ ่านักบุญมทั ธวิ จะไม่ไดใ้ ชค้ าว่า “เชอ่ื ” และ “ศรทั ธา” ในเรอ่ื งเล่า
น้ี แต่ ณ ทน่ี ้ีท่านใหภ้ าพลกั ษณ์ของความศรทั ธา ซ่งึ เป็นหวั ใจสาคญั ของการเป็นศษิ ย์ (เทยี บ ฮบ. 11:8) ความเช่อื
อย่างน้มี าจากไหน?

2. การอภปิ รายแบบหมู่คณะของชาวครสิ ต์ท่สี ุ่มตวั อย่างในประเดน็ ท่วี ่า “คุณมาเช่อื ได้อย่างไร” ทาใหไ้ ด้
คาตอบทน่ี ่าสนใจและขยายความไดอ้ ยา่ งหลากหลาย บางเร่อื งเป็นสงิ่ เกดิ ขน้ึ แบบฉบั พลนั เหมอื นละคร บางเร่อื ง
เป็นการคลาหาและการดน้ิ รนอยา่ งเชอ่ื งชา้ ลาบากยากเยน็ และเจบ็ ปวด บางเร่อื งแทบไมเ่ กย่ี วกบั คาถามเลย แต่
จะไม่มเี ร่อื งใดทม่ี คี วามทรงจาตอนทผ่ี เู้ ล่าเป็น “ผไู้ ม่เช่อื ” ท่านนักบุญมทั ธวิ อาจรเู้ ร่อื งราวอนั หลากหลายเหล่าน้ี
ทา่ นกลา้ เล่าเรอ่ื งเหล่าน้ี ภายใตช้ อ่ื เดยี วกนั และนาเสนอในภาพเดยี วน้ี คอื ผคู้ นมารบั เช่อื โดยฤทธอิ ์ านาจของพระ
วาจาของพระเยซูเจา้ พวกเขาตดิ ตามพระองค์เพราะพระองค์ได้ตรสั กบั พวกเขา และพระวาจาของพระองค์ได้
ก่อใหเ้ กดิ ความเช่อื สาหรบั นกั บุญมทั ธวิ ถอื วา่ การเรยี กของพระเยซูเจา้ ใหม้ าเป็นศษิ ยไ์ มไ่ ดเ้ ป็นสง่ิ ทพ่ี ระองคต์ รสั
กับศิษย์ไม่ก่ีคนในกาลิลี ในศตวรรษท่ีหน่ึง แต่ทรงตรัสกับพระศาสนจักร(ประชาชนทัง้ หมด)ตลอดทัว่
ประวตั ิศาสตร์ (28:20) พระเยซูเจ้าทรงเป็นผู้หว่านพระวาจาท่ีเกิดผลดี (13:3, 18, 24, 37) พระองค์ทรงเป็นผู้สร้าง
พระศาสนจกั ร (16:18) มพี ลงั บนั ดาลใจในคาพูดและผ่านทางคาพูดและการกระทาแบบนักเทศน์ ผู้เผยแพร่ ครู
ครอบครวั มติ รสหาย และผู้รบั ใชช้ าวครสิ ต์อ่นื ๆ ท่ไี ม่มชี ่อื เรยี ก พระสุรเสยี งของบุตรมนุษยย์ งั คงตรสั และทรง
กอ่ ใหเ้ กดิ ความเชอ่ื ต่อไป ขณะทเ่ี ราอาจจะชม้ี าทต่ี วั เองหรอื ปัจจยั อ่นื ๆ ทร่ี องลงมาวา่ เป็นแหลง่ ทม่ี าของความเชอ่ื
นกั บญุ มทั ธวิ ไดช้ ไ้ี ปทบ่ี ุคคลผหู้ น่งึ ผซู้ ง่ึ คาตรสั เรยี กของพระองคไ์ ดท้ าใหเ้ รามาเป็นศษิ ย์

113

3. คากล่าวว่า “จงตามเรามาเถดิ ” อยใู่ นรปู คาสงั่ แต่เป็นลกั ษณะพน้ื ฐานในตวั เป็นรปู ประโยคบอกเล่าแสดง
ถงึ การรเิ รมิ่ อนั ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ขอ้ เทจ็ จรงิ คอื บรรดาชาวประมงเหล่าน้ีมงี านทาทเ่ี ป็นประโยชน์และสาคญั อย่แู ลว้ พวก
เขาไมไ่ ดก้ าลงั มองหาชวี ติ ใหม่ การทรงเรยี กของพระเยซูเจา้ ไมไ่ ดม้ าเตมิ ความวา่ งเปลา่ ทเ่ี หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนหรอื
สนองความตอ้ งการทเ่ี หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนในชวี ติ ของพวกเขา แต่ เชน่ เดยี วกนั กบั การเรยี กประกาศกในพระคมั ภรี ์
ภาษาฮบี รู การเรยี กของพระเยซูเจา้ มลี กั ษณะของการแทรกเขา้ มาและก่อใหเ้ กดิ การแยกออกมา เรยี กพวกเขา
ออกมาจากงานอาชพี และชวี ติ ครอบครวั การปกครองของพระเป็นเจา้ ไดแ้ ผ่คลุมเขา้ มาในชวี ติ เป็นการเรยี กให้
เกดิ การตอบรบั ของมนุษยท์ ว่ี า่ “เราไม่ไดแ้ สวงหาท่าน ถา้ ท่านไม่ไดพ้ บเราแต่แรกแลว้ ” “การเป็นศษิ ยไ์ ม่ไดเ้ ป็น
ขอ้ เสนอทม่ี นุษยเ์ สนอต่อพระครสิ ต์ แต่เป็นการทรงเรยี กทท่ี าใหส้ ถานการณ์น้ีเกดิ ขน้ึ ” ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ยน. 15:
16 “มใิ ช่ท่านทงั้ หลายไดเ้ ลอื กเรา แต่เราไดเ้ ลอื กท่าน มอบภารกจิ ใหท้ ่านไปทาจนเกดิ ผล และผลของท่านจะคง
อย”ู่

มทั ธิว 4:23 – 9:35 อานาจของพระเมสสิยาห์

มทั ธิว 4:23-7:29 คาเทศน์สอนบนภเู ขา

ภาพรวม
นักบุญมทั ธวิ ได้สรุปสารแห่งอาณาจกั รสวรรค์จากพระเยซูเจ้าไปเรยี บรอ้ ยแล้ว (4:17) แต่ยงั ไม่ได้เล่าเร่อื ง

นาเสนอคาสอนหรอื ปาฏหิ ารยิ ใ์ ดๆ ของพระองค์ ในวรรค 17 ท่านนกั บุญมทั ธวิ ไดเ้ ตรยี มนาเสนอการเทศนาครงั้
แรกและครงั้ สาคญั ของพระเยซูเจา้ (บทเทศนาบนภูเขา 5:3 – 7:29) และงานอนั ยง่ิ ใหญ่ของพระองค์ ซง่ึ รวมถงึ การเรยี ก
และฝึกสอนเตรยี มความพร้อมให้กบั บรรดาศิษย์ (8:1; 9:34) สาหรบั นักบุญมทั ธวิ “พระวาจาของพระเป็นเจ้า”
จะตอ้ งมาก่อน “ภารกจิ การงาน” เน่ืองจากท่านเหน็ ว่าการสอนควรเกดิ ขน้ึ ก่อนและทาใหป้ าฏหิ ารยิ ์มเี หตุมผี ลฟัง
ขน้ึ ไม่ใช่ในทางกลบั กนั “ปาฏหิ ารยิ ไ์ มไ่ ดร้ บั รองความถูกตอ้ งของคาสอน แต่มนั กลบั กนั ต่างหาก!” เน้ือหาหน่วย
ใหญ่น้ไี ดร้ บั จดั เป็นกลุ่มขอ้ ความอย่างเป็นเอกลกั ษณ์ชดั เจน (4:23; 9:35) ดงั นนั้ 4:23-5:2 จงึ ไมใ่ ชบ่ ทสรุปชวี ประวตั ิ
แต่เป็นบทสรุปย่อท่นี ักบุญมทั ธวิ ได้ไตร่ตรองคดั สรรอย่างดใี ส่ใจเตรยี มเป็นบทนาท่เี ป็นแกนสาคญั ของผลงาน
สรา้ งสรรคภ์ าคแรกของทา่ น (ดู “บทนา”)

บทคาเทศน์สอนบนภูเขาเป็นคาปราศรยั แรกทม่ี สี าระต่อเน่อื งและยาวทส่ี ดุ (ไมม่ เี รอ่ื งอน่ื ขนั้ เลย) และมกี ารจดั วาง
โครงสรา้ ง(ผกู เป็นกลบท กลวธิ ใี นการประพนั ธ์)อย่างตงั้ ใจทส่ี ุด ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ท่านนักบุญมทั ธวิ และพระศา
สนจกั รของท่านรจู้ กั คุน้ เคยกบั คาเทศนาอนั ยง่ิ ใหญ่ (Great Sermon) ในเอกสารแหล่ง Q เป็นอย่างดมี านานแลว้
ซง่ึ คาสอนทเ่ี รม่ิ ตน้ ดว้ ยมหาบุญลาภ (The Beatitudes) ต่อดว้ ยคาสอนเร่อื งความรกั กฎทอง เจตคตทิ ม่ี ตี ่อผอู้ ่นื
และสรุปจบดว้ ยคาเตอื นเก่ยี วกบั “ผล” (Fruit) ทางจรยิ ธรรมสองประเภทและเร่อื งราวเก่ียวกบั ช่างก่อสรา้ งสอง

114

คน การพจิ ารณาเน้อื หาทค่ี ขู่ นานแสดงใหเ้ หน็ ว่านกั บญุ มทั ธวิ นาเน้อื หาทงั้ หมดจากบทเทศนาในเอกสารแหล่ง Q
มาใช้ โดยส่วนท่แี ทรก (Intervening Material) นัน้ เกบ็ เอาไวต้ ามลาดบั เดมิ ทุกอย่าง ยกเวน้ แต่ในส่วนท่เี ป็นคา
กล่าว มกี ารจดั เรยี งใหม่ (Saying) ในเอกสารแหล่ง Q เร่อื ง “การรกั ศตั รขู องตน” (ซง่ึ มกี ารคงรกั ษาไวใ้ น ลก. 6:27-36; ดู
รปู ภาพท่ี 4 โครงสรา้ งของคาเทศนาบนภูเขา) นกั บญุ มทั ธวิ สกดั เอา 5: 38 - 42 มาจากบรบิ ทของเอกสารแหล่ง Q และสรา้ ง
หน่วยเน้ือหาแยกออกมาต่างหาก โดยนาวรรคเหล่าน้ีมาจดั ระบบใหม่ใหเ้ ป็นขอ้ ความทม่ี คี วามหมายตรงขา้ มกนั
สองคู่ (เทยี บ ลก. 6:27-30 และรปู ภาพท่ี 4) นอกจากน้ีท่านยงั เปลย่ี นตาแหน่งเน้ือหาจากเอกสารแหล่ง Q ทพ่ี บใน ลก. 6:
31 ใหเ้ ป็นบทสรุปของแก่นคาสอนทค่ี รอบคลุมกวา้ งขวางของคาเทศน์ใน มธ. 7:12 ในขณะเดยี วกนั ท่านไดเ้ ตมิ
วลที ไ่ี ดจ้ ากการทบทวนการตคี วามใหม่ใหเ้ ป็นไปตามลกั ษณะทถ่ี นัดของท่าน คอื “ธรรมบญั ญตั แิ ละประกาศก”
เพ่อื ผูกรวมเขา้ ไปกบั 5:17 ซ่งึ เป็นส่วนเรม่ิ ต้นของเน้ือหาหลกั ของคาเทศนา ดงั นัน้ ท่านนักบุญมทั ธวิ จงึ รกั ษา
โครงสรา้ งพน้ื ฐานแบบสามสว่ นของเอกสารแหลง่ Q เอาไว้ แต่ใสเ่ น้อื หาเพมิ่ เตมิ ตามธรรมประเพณที พ่ี บจากสว่ น
อ่นื ของเอกสารแหล่ง Q, เอกสารแหล่ง M, สงิ่ ทท่ี า่ นเขยี นขน้ึ เอง รวมถงึ รายละเอยี ดเสรมิ อกี เลก็ น้อยเป็นบางครงั้
จากพระวรสารนักบุญมาระโก และดว้ ยการใชว้ ธิ กี ารท่ีท่านถนัดและโปรดปรานคอื การประพนั ธแ์ บบตรลี กั ษณ์
(Triads) ในลกั ษณะการใส่วงเลบ็ เชงิ วรรณกรรม นักบุญมทั ธวิ จงึ ได้สรา้ งวาทกรรมท่จี ดั นิพนธ์ดว้ ยโครงสรา้ ง
ใหมท่ ส่ี อดคลอ้ งมากยงิ่ ขน้ึ กบั ลกั ษณะทางเทวศาสตรต์ ามความเชย่ี วชาญและความสนใจของทา่ น

ลกั ษณะตอ่ ไปน้เี ป็นประเดน็ ต่างๆ ทน่ี ่าสงั เกตเกย่ี วกบั โครงสรา้ งดงั กล่าวขา้ งตน้ น้ี
(1) บทเทศนาน้ีไม่ใช่ผลการสุ่มเลือกจากการรวบรวมคากล่าว(Sayings)ต่างๆ แต่เป็นผลงานนิพนธ์ท่ีได้

ประพนั ธแ์ ละจดั วางโครงสรา้ งทไ่ี ดไ้ ตรต่ รองอยา่ งแยบยลแลว้
(2) มธ. 5:17 “ธรรมบัญญัติหรอื ประกาศก” เป็นเน้ือหาท่ีสอดคล้องกบั 7:12 “ธรรมบัญญัติและประกาศก”

สามารถผนวกเขา้ ด้วยกนั และวงเขา้ เป็นคาสอนเดยี วกบั แกนกลางของบทเทศนา คากล่าวใน 7:12 ได้ถูก
ปรบั ยา้ ยตาแหน่ง และวลี “ธรรมบญั ญตั แิ ละประกาศก” ไดถ้ ูกปรบั เพมิ่ เขา้ มา เพ่อื ใหเ้ กดิ การผสานเน้ือหา
ภายในเป็นเน้ือเดียวกนั ดงั นัน้ เราจงึ มีเหตุผลอนั เหมาะสมท่ีจะมองเห็นส่วนเน้ือหาสาระแยกส่วนเป็น
องคป์ ระกอบพน้ื ฐานของโครงสรา้ งพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ กล่าวคอื มกี ารแยกสว่ นคาสอนรวมเป็นกลมุ่ แกน
หลกั สาคญั ออกจากสว่ นทเ่ี ป็นการประกาศนาเรอ่ื ง และมสี ว่ นสรุปจบทเ่ี ป็นคาเตอื น ทาใหเ้ ขา้ ใจกลุ่มเน้อื หา
สามสว่ นหลกั และสาระแต่ละสว่ นตามประเภททป่ี ระกอบกนั อยใู่ นบทเทศน์สอน
(3) นกั บุญมทั ธวิ ไดต้ ่อเตมิ โครงสรา้ งพน้ื ฐานของการประพนั ธแ์ บบตรลี กั ษณ์ทม่ี อี ย่แู ลว้ ในเอกสารแหล่ง Q ดว้ ย
การสรา้ งหน่วยรองๆ หลายตอนของเร่อื งใหม้ ลี กั ษณะเป็นตรลี กั ษณ์เช่นกนั แกนหลกั ของบทเทศน์สอนน้ีมี
ลกั ษณะสอดคลอ้ งกบั รปู แบบของคากล่าวโดยรบั บีในศาสนายวิ (Rabbinic Saying) ทร่ี จู้ กั คนุ้ เคยกนั อยา่ งดี
ซง่ึ น่าจะเป็นคากล่าวของซมี อนผเู้ ทย่ี งธรรม (Simeon the Just1) ทว่ี า่ “สามสงิ่ ทผ่ี ดงุ รกั ษาโลกของเรา: ดว้ ย
ธรรมบญั ญัติ ด้วยศาสนกจิ /พธิ กี รรมในพระวหิ าร และด้วยกิจเมตตาเอ้อื อาทร” การนา “เสาหลกั ทงั้ สาม
อย่างของศาสนายูดาย” มาปรบั โครงสร้างใหม่โดยชาวครสิ ต์ในบทเทศนาน่าจะสงั เกตรบั รู้ได้โดยผู้คนท่ี
คุน้ เคยกบั รูปแบบเช่นน้ีในใจอยู่แล้ว เน่ืองจาก 5:17-48 เก่ยี วกบั เร่อื งธรรมบญั ญตั ิ 6:1-18 เก่ยี วกบั เร่อื ง

1 Simeon(Simon) the Righteous or the Just (Hebrew: ‫ שמעון הצדיק‬Shimon HaTzaddik) ซีเมออน(ซีมอน) ผู้ขอบธรรมเป็นมหาสมณะ
ชาวยวิ ระหวา่ งช่วงพระมหาวหิ าร ท่ี 2 ท่านเป็นทร่ี จู้ กั และกล่าวถงึ ในพระคมั ภรี ม์ ชิ นาห์ ทา่ นเป็นสมาชกิ ในกลุ่มสุดทา้ ยของสภาสงู คนหน่ึง (Avot 1:1).
แนวคดิ และคาสอนของท่านมอี ย่ใู นบนั ทกึ ของหนังสอื มชิ นาห์ และเป็นปราชญ์(Tanna)คนหน่ึงในหม่รู บั บี อน่ึง ผทู้ อ่ี า้ งถงึ น้ี น่าจะเป็น ซมี อน ผชู้ อบ
ธรรม ท่ี 2 (219-199 กคศ.) ในจานวน 6 คนทน่ี กั ประวตั ศิ าสตรอ์ า้ งถงึ แปลจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Simeon_the_Just

115

การบูชาและพิธีกรรมทางศาสนา และ 6:19 – 7:12 เก่ียวกับความเช่ือและการรับใช้พระเป็ นเจ้าใน
ความสมั พนั ธท์ างสงั คมและการกระทา
(4) แก่นกลางสาคญั ของบทเทศน์สอนน้ีคอื บทภาวนาขา้ แต่พระบดิ า (the Lord’s Prayer) ซ่งึ มลี กั ษณะแก่น
กลางเป็นแบบตรลี กั ษณ์ใน(ท่ามกลาง)โครงสรา้ งประกอบทเ่ี ป็นแบบตรลี กั ษณ์ ดงั นนั้ นักบุญมทั ธวิ ไดท้ าใหบ้ ท
เทศน์สอนน้ีมจี ุดแกนกลางใหม่และบอกแนวโน้มทิศทางของสาระคาสอน (Point of Orientation) ซ่ึงบท
เทศน์สอนในเอกสารแหล่ง Q ไมม่ บี ทภาวนาน้ี
(5) ภาพรวมของโครงสรา้ งแบบสามสว่ น (Tripartite Structure) ทาใหเ้ ออ้ื ต่อความเขา้ ใจคาอธบิ ายอยา่ งละเอยี ด
ของนักบุญมทั ธวิ เก่ียวกบั หวั ข้อทางเทวศาสตร์ท่ีเก่ียวข้องกนั ตอนท่ีหน่ึง เรมิ่ ต้นด้วยภาษาเชิงปฏิบัติ
(Performative Language) ในรูปแบบบอกเล่าบ่งช้ี (Indicative Mode) แสดงลักษณะเฉพาะของชุมชน
อนั ตกาลและประกาศตนว่าพน้ื ฐานชวี ติ ชุมชนคอื การกระทากจิ แห่งพระเมตตาของพระเป็นเจา้ ตอนทส่ี อง
เป็นแกนหลกั คาสอนของบทเทศน์สอน ซ่ึงเขยี นข้นึ ในรูปแบบคาสงั่ (Imperative Mode) โดยหลกั ๆ แล้ว
เป็นคาสอนสาหรบั ชวี ติ แห่งชุมชนอนั ตกาล ในตอนท่สี าม ภาษาท่เี ป็นเชงิ คาสงั่ ลดน้อยลงไป และแทนท่ี
ดว้ ยคาเตอื นบอกทบ่ี ง่ ชเ้ี กย่ี วกบั การตดั สนิ พพิ ากษาแห่งอวสานตกาล
(6) จากทงั้ หมดน้ี ทาใหท้ ราบแน่ชดั วา่ บทเทศน์สอนบนภูเขาเป็นการประพนั ธข์ องนกั บุญมทั ธวิ ผนู้ ิพนธพ์ ระวร
สารไดร้ วบรวมคาพดู สอนจากบทเทศน์สอนของพระเยซูเจา้ ในประวตั ศิ าสตร์ ซงึ่ ท่านนกั บุญมทั ธวิ ไดน้ ิพนธ์
ข้นึ จากแหล่งขอ้ มูลเอกสารหลกั สองแหล่งกบั การทบทวนตคี วามใหม่ของท่านอย่างมีเป้าประสงค์ทางเทว
วทิ ยาหรอื ครสิ ตศาสตรก์ บั พนั ธสญั ญาเดมิ จากภาวะแบบหวนระลกึ ความทรงจาต่อเหตุการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ จาก
ขอ้ เทจ็ จรงิ ในอดตี หรอื ประวตั ศิ าสตรท์ ผี่ ่านมา ผนวกกบั ภาวะของชาวอสิ ราเอลทกี่ าลงั รอคอยการเสดจ็ มา
ของพระเมสสยิ าห์ (ผเู้ รยี บเรยี ง) ไมใ่ ช่เอกสารรายงานบนั ทกึ คาพดู ทงั้ หมด สว่ นจอหน์ คาลวนิ (John Calvin2)
เหน็ ว่าบทเทศน์สอนบนภูเขาเป็นผลงาน “การรวบรวมหวั ขอ้ ใหญ่ๆ ของคาสอนพระเยซูเจา้ เป็นบทความ
เดยี ว ซ่ึงเป็นงานประพนั ธ์ของผู้นิพนธ์พระวรสาร โดยเน้นกฎของพระเป็นเจ้าและการดาเนินชวี ติ อย่าง
ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์

รปู ภาพ 4 : โครงสรา้ งบทเทศน์สอนบนภเู ขา 4: 23 – 5: 2 มก. 1: 39; 3: 7-13
5: 3-12 ลก. 6: 12, 17-20ก
บทนา การจดั เตรยี มบทเทศน์สอน
ลก. 6: 20ข-23
I. ขอ้ วนิ ิจฉยั ตรลี กั ษณ์ทส่ี าคญั หลอ่ หลอมผเู้ ป็นศษิ ย์ ทม่ี คี ณุ ลกั ษณะเป็น

ชุมชนแบบอนั ตกาล (Eschatological Community), 5: 3-16
ก. ความสุขแทจ้ รงิ : คณุ ลกั ษณะและจดุ หมายชวี ติ ของบรรดาศษิ ย์
ข. ศษิ ยเ์ ป็นดงั่ เกลอื

2 จอหน์ คาลวิน (องั กฤษ:John Calvin) หรอื ฌอ็ ง กาลแวง็ (ฝรงั่ เศส: Jean Calvin) (ค.ศ. 1509-1564) เป็นนกั เทววทิ ยาศาสนาครสิ ต์และศษิ ยาภิ
บาลชาวฝรงั่ เศสสมยั การปฏริ ูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ แนวคดิ ทางเทววทิ ยาทก่ี าลแวง็ พฒั นาขน้ึ เรยี กว่าลทั ธคิ าลวนิ เทววทิ ยาปฏริ ูป(Reformed
Tradition) เน้นหลกั ความเช่อื เรอ่ื งเทวลขิ ติ เรอ่ื งพระเป็นเจา้ ทรงมอี ธปิ ไตยสมบรู ณ์ในการประทานความรอดจากความตายใหแ้ ก่วญิ ญาณของมนุษย์
และการลงโทษนริ นั ดร์ จาก https://th.wikipedia.org/wiki

116

ค. ศษิ ยเ์ ป็นดงั่ แสงสวา่ งและเมอื งบนภเู ขา 5: 13 ลก. 14: 34-35
5: 14-16 มก. 9: 49-50
ลก. 8: 19; 11: 33
II. คาสอนสามส่วนบนหนทางชวี ติ ในชุมชนแบบอนั ตกาล 5: 17 – 7: 12 5: 17-48 มก. 4: 21
5: 17-20
ก. ตอน 1: บญั ญตั ิ (The Law) ลก. 16: 16-17
1) บญั ญตั แิ ละ “ความชอบธรรมทย่ี งิ่ ใหญ่กวา่ ” 5: 21-26
2) บาปขดั แยง้ ต่อความชอบธรรมทย่ี ง่ิ ใหญ่กวา่ , 5: 21-32 ลก. 12: 57-59
มก. 11: 25
(1) ความโกรธ มก. 9: 43
ลก. 16: 18
(2) ความหลง 5: 27-30 มก. 10: 3-4; 11: 12
(3) การหยา่ รา้ ง 5: 31-32
M
3) คุณลกั ษณะขดั แยง้ กบั คณุ ลกั ษณะของผเู้ ป็นศษิ ย์ 5: 33-48 5: 33-37 ลก. 6: 29-30
(1) คาสาบาน 5: 38-42 ลก. 6: 27-28, 32-36
(2) การตอบโตผ้ อู้ น่ื 5: 43-48
(3) ความรกั M
6: 1-4
ข. ตอน 2 การปฏบิ ตั ศิ าสนกจิ : กจิ การแหง่ ความชอบธรรม 3 ประการต่อ M
พระเจา้ , 6: 1-18 6: 5-8 ลก. 11: 2-4
6: 9-13 มก. 11: 25(-26)
1) การใหท้ าน 6: 14-15 M
2) การภาวนา, 6: 5-15 6: 16-18
ลก. 12: 33-34, 11: 34-
(1) ไมท่ าแบบคนหน้าซ่อื ใจคดหรอื คนตา่ งศาสนา 6: 19-24 36; 16: 13
(2) บทภาวนา ขา้ แต่พระบดิ า ลก. 12: 22-32
(3) เงอ่ื นไขของการใหอ้ ภยั ลก. 6: 37-42
3) การอดอาหาร มก. 4: 24-25
M
ค. ตอน 3: กจิ เมตตารกั ลก. 11: 9-13
คาสอนเพมิ่ ต่อความชอบธรรมแทจ้ รงิ ลก. 6: 31
1) การรบั ใชพ้ ระเป็นเจา้ หรอื เงนิ ทอง
ลก. 13: 23-24
2) ความกระวนกระวาย 6: 25-34 ลก. 6: 43-46; 13: 25-27
3) การตดั สนิ 7: 1-5 ลก. 6: 47-49

4) ไขม่ กุ เบอ้ื งหน้าสุกร 7: 6
5) การขอและการรบั 7: 7-11
6) บทสรปุ รวม: กฎทอง 7: 12

III. คาเตอื นอนั ตกาล 3 ประการ, 7: 13-27 7: 13-14
7: 15-23
ก. ทางสองแพรง่ 7: 24-27
ข. ประกาศกเทยี ม(เกบ็ เกย่ี ว 2 แบบ)
ค. ชา่ งกอ่ สรา้ งบา้ น 2 ประเภท (ศษิ ยแ์ ท?้ )

117

บทสรุปของบทเทศน์สอน 7: 28-29 มก. 1: 22

มทั ธิว 4:23 – 5:2 ฉากท้องเรอ่ื งของคาเทศนา

พระเยซูเจ้าทรงประกาศข่าวดี และทรงรกั ษาผเู้ จบ็ ป่ วย
23 พระองคเ์ สดจ็ ไปทวั่ แควน้ กาลลิ ี ทรงสงั่ สอนในศาลาธรรม ทรงประกาศขา่ วดเี รอ่ื งพระอาณาจกั ร ทรงรกั ษาโรคและความ

เจบ็ ไขท้ กุ ชนิดของประชาชน
24 กติ ตศิ พั ท์เก่ยี วกบั พระองค์เล่อื งลอื ไปทวั่ แคว้นซเี รยี ประชาชนจงึ นาผู้เจ็บป่ วยด้วยโรคต่างๆ ผู้ท่ถี ูกความทุกข์เบียด

เบยี น ผูถ้ ูกปีศาจสงิ ผูเ้ ป็นลมบา้ หมู และผูท้ เ่ี ป็นงอ่ ยมาเฝ้าพระองค์ พระองคท์ รงรกั ษาคนเหล่านัน้ ใหห้ ายจากโรคและความเจบ็
ไข้ 25 ประชาชนมากมายจากแควน้ กาลลิ ี จากทศบุรี จากกรุงเยรูซาเลม็ จากแควน้ ยูเดยี และจากฟากโน้นของแม่น้าจอรแ์ ดน
ต่างตดิ ตามพระองค์

ข. บทเทศน์บนภเู ขา
ความสขุ แท้จริง

1 พระเยซูเจา้ ทอดพระเนตรเหน็ ประชาชนมากมาย จงึ เสดจ็ ขน้ึ บนภูเขา เม่อื ประทบั แล้ว บรรดาศษิ ย์เขา้ มาหอ้ มล้อมพระ
องค์ 2 พระองคท์ รงเรม่ิ ตรสั สอนวา่

(สถานทป่ี ัจจุบนั )

ข้อศึกษาวิพากษ์
นกั บุญมทั ธวิ จดั เตรยี มวางตอนสาคญั แกนกลางอนั ยง่ิ ใหญ่ซง่ึ เป็นเร่อื งคาพดู สอนและการกระทาของพระ

เมสสยิ าห์ ใหเ้ ป็นแกนกลางของงานประพนั ธ์ภาคแรกของท่าน (ดู “ภาพรวม” และ “บทนา”) ท่านประพนั ธ์เน้ือหาตอนน้ี
อย่างมเี ป้าหมายเชงิ วรรณกรรมและเทวศาสตร์ โดยท่านไดป้ รบั เปลย่ี นและแต่งเตมิ เน้ือหาบางส่วนจากพระวร
สารนักบุญมาระโก (มธ. 4:23; มก. 1:39; มธ. 4:24-25; มก. 3:7-12 แมแ้ ต่ภูเขาใน มธ. 5:1 จาก มก. 3:13) และอ้างองิ จากเอกสาร
แหล่ง Q เร่อื งบรรดาสาวกใน 5:1 (เทียบ ลก. 6:20) แต่การประพนั ธ์แบบวงกลมท่ีมีศูนย์กลางร่วม (Concentric
Circle) แสดงถงึ พระเยซูเจา้ /ศษิ ย/์ ฝงู ชน เป็นการจดั แตง่ รปู แบบประพนั ธอ์ ยา่ งมเี ป้าหมายของทา่ นนกั บญุ มทั ธวิ

4:23-35 “คาสอน” และ “การเทศน์” (ฉบบั NIV) หรอื “การประกาศ” (ฉบบั NRSV) เกย่ี วขอ้ งกนั อยา่ งแนบแน่น
ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ (4:23; 9:35; 11:1) การเทศน์จะมี “ขา่ วดเี รอ่ื งพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ” เป็นประเดน็
หลกั เสมอ ตรงขา้ ม ไม่มเี น้ือหาคาสอนระบุไวต้ รงน้ีหรอื ส่วนอ่นื ของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ไม่มกี ารสรุปเน้ือหา
คาสอนของพระเยซูเจา้ เป็นขอ้ ความหรอื วลเี ดยี ว แต่ไดอ้ ธบิ ายเป็นวาทกรรมอนั ยง่ิ ใหญ่ทงั้ หา้ ของพระเยซูเจา้
(Five Great Discourses) โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในบทเทศน์สอนบนภูเขา ก่อนท่พี ระเยซูเจ้าจะทรงกลบั คนื พระ
ชนมช์ พี บรรดาศษิ ยไ์ ม่ไดส้ อนประชาชน เป็นพระเยซูเจา้ เป็นครูสอนทถ่ี ูกตอ้ งแต่เพยี งผเู้ ดยี วเท่านนั้ (เทยี บ 23:8)

118

ศาลาธรรม “ของพวกเขา” แสดงถงึ ว่ามคี วามตงึ เครยี ดและการแยกพวกระหว่างชุมชน3ของนักบุญมทั ธวิ และ
ศาลาธรรม4ของชาวยิว แต่ยงั ไม่ได้แก้ปัญหาด้านความสมั พนั ธ์ท่ีชดั เจนระหว่างทงั้ สองฝ่ าย (ดู “บทนา”) นัก
บุญมทั ธวิ เปลย่ี นจาก “ไทรแ์ ละไซดอน” (Tyre and Sydon) ซ่งึ อยู่ในพระวรสารนักบุญมาระโกเป็น “ซเี รยี ” (อาจ
เป็นการสะท้อนถงึ อาณาเขตบ้านเกดิ ของผูป้ ระพนั ธ์และพระศาสนจกั รของเขา; ดู “บทนา”) และทศบุรี (the Decapolis) ซ่ึงหมายถึง
กลุ่มเมอื งจานวนสบิ เมอื งทป่ี ระชาชนพดู ภาษากรกี และมกี ารปกครองอย่างเป็นอสิ ระ สว่ นใหญ่อย่ทู างตะวนั ออก
ของจอรแ์ ดนและสอ่ื โดยนยั หมายถงึ ชนตา่ งศาสนา

เรอ่ื งการรกั ษาคนป่วย เป็นกจิ การทเ่ี ล่าตอ่ กนั มา ไมใ่ ช่แต่เพยี งโอกาสทฝ่ี งู ชนหลากหลายจานวนมากมา
ฟังคาเทศน์สอนบนภูเขา แต่ไดเ้ ล่าในโอกาสอ่นื ทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงประกาศขา่ วดถี งึ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้
และได้กระทากจิ เมตตาแก่ประชาชน ซ่งึ เป็นเคร่อื งหมายแสดงถงึ พระพลงั อานาจและธรรมชาติแห่งการรกั ษา
เยยี วยาท่ีประชาชนได้รบั โดยไม่ต้องมเี ง่อื นไขคุณสมบตั ิใดๆ และไม่ต้องประกาศความเช่อื ทงั้ หมดเป็นการ
ตดั สนิ ใจอนั เป่ียมดว้ ยพระเมตตาและเป็นพระหรรษทานของพระองคใ์ นฐานะพระเมสสยิ าห์ ผูเ้ ป็นตวั แทนของ
พระอาณาจกั รพระเป็นเจา้

5:1-2 คาเทศน์สอนอนั ยงิ่ ใหญ่ (the Great Sermon) ในพระวรสารนักบุญลูกา การเทศน์สอนน้ีเกดิ ข้นึ
บนพ้ืนท่ีราบ (ลก. 6:17) เป็นการบ่งถึงอานาจปกครองสูงสุดและการแผ่อานาจย่ิงใหญ่ของพระองค์ไปทัว่ มี
ขอบข่ายกวา้ งไกลถงึ ผูค้ นทงั้ หลายทพ่ี ระองค์ทรงมุ่งหวงั ใหฟ้ ังพระองค์ เป็นวธิ กี ารนาเสนอทม่ี เี ป้าประสงคแ์ ละ
กลุ่มเป้าหมายทแ่ี ตกต่างจากพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ดงั นนั้ การทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงขน้ึ ไปเทศนาบนภูเขาในพระวร
สารนกั บุญมทั ธวิ จงึ มเี ป้าประสงคแ์ ละกลุ่มเป้าหมายอยา่ งชดั เจนในเทวศาสตรแ์ ละการทบทวนตคี วามพระคมั ภรี ์
ของทา่ น ไมใ่ ชบ่ นั ทกึ เล่าเรอ่ื งเหตุการณ์ กจิ การเชงิ ชวี ประวตั หิ รอื จติ วทิ ยาวา่ พระองคเ์ หน็ ฝงู ชนมากมายจงึ จะขน้ึ
ภูเขาเพอ่ื พยายามอย่หู า่ งจากผคู้ น แต่ท่านไดแ้ สดงความเขา้ ใจว่ากจิ การทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงกระทาน้ีเป็นสว่ นหน่ึง
ของสญั ลกั ษณ์ถงึ ท่านโมเสสและการกระทาใหธ้ รรมบญั ญตั ทิ โ่ี มเสสมอบให้แก่ประชากรอสิ ราเอลนัน้ ครบถ้วน
สมบูรณ์(เป็นธรรมบญั ญตั ใิ หม่ New Torah) นับตงั้ แต่เรม่ิ ต้น นักบุญมทั ธวิ พยายามเช่อื มโยงเร่อื งของพระเยซู
เจา้ ในรปู แบบทก่ี ระตุน้ ใหน้ ึกถงึ ภาพของโมเสสทงั้ ในพระคมั ภรี แ์ ละในธรรมประเพณีของชาวยวิ ในความฝัน ทตู
สวรรคป์ ระกาศการถอื กาเนิดของโมเสสโดยบอกวา่ ท่านจะสรา้ งปาฏหิ ารยิ แ์ ละชว่ ยประชาชนของท่านใหร้ อดพน้
ในทานองเดยี วกนั การประสตู ขิ องพระเยซูเจา้ มคี วามมหศั จรรย์ (ดู 1:18-25) พระองคถ์ ูกคุกคามทารา้ ยโดยกษตั รยิ ์
ผชู้ วั่ รา้ ย ตงั้ แต่แรกเกดิ และในช่วงแรกของพระองค์ถูกประชาชนของพระองคป์ ฏเิ สธ จากนัน้ พระองคเ์ ดนิ ทาง
ออกจากอยี ปิ ต์ ผ่านน้าทะเล และได้รบั การทดลองในถิน่ ทุรกนั ดาร พระองค์เสดจ็ ขน้ึ ไปบนภูเขาและทรงตรสั
บญั ชาอย่างทรงอานาจ พระองคท์ รงกระทากจิ การ 10 ประการอนั ยง่ิ ใหญ่เพอ่ื ปลดปล่อยประชาชนของพระองค์
เอง (8:1- 9:34 มขี อ้ ความทค่ี ่ขู นานไปกบั เร่อื งของโมเสส เพม่ิ เตมิ ท่ี 9:36; 17:1-9) วลที ก่ี ล่าวว่า “ขน้ึ ไปบนภูเขา” เป็นวลที พ่ี บบ่อย

3 ชุมชนของชาวครสิ ต์ ในภาษากรกี ใช้คาศพั ท์เดิมว่า "ecclesia" (ἐκκλησία, ekklesía, แปลว่า ท่ีประชุม "assembly", การอยู่เป็นหมู่คณะ

"congregation", หรอื สถานทท่ี ป่ี ระชาชนมารวมตวั กนั ) ทงั้ ในความหมายวา่ วดั สถานทน่ี มสั การและภาวนา และ พระศาสนจกั รโดยรวมของประชา
สตั บุรุษ (the "Church"). ภาษาละตนิ ใชค้ าเดยี วกนั ภาษาฝรงั่ เศส ใช้ eglise, ภาษาอติ าเลยี น chiesa, ภาษาเสปญ iglesia, ภาษาโปรตุเกส igreja),
ในภาษาเซลตกิ เชน่ ภาษาเวลส์ eglwys, ภาษาไอรชิ eaglais, ภาษาฝรงั่ เศส บรติ านี iliz, ภาษาตุรกี kilise).

4 ศาลาธรรมชาวยิว ใช้ A synagogue, (จากภาษากรีก συναγωγή, synagogē, แปลว่า "assembly" หรือ Gathering; ภาษาฮีบรู: ‫בית‬
‫ כנסת‬Beyth Kenesset, หมายความว่า "บ้านท่ีพบปะ สมาคม"; ‫ בית תפילה‬Beyth Tefila, หมายความว่า "บ้านแห่งการภาวนา"; ‫שול‬
shul; ‫ אסנוגה‬esnoga; ‫ קהל‬kahal), คอื เป็น บา้ นแหง่ การภาวนาของชาวยวิ .

119

ในพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาเดมิ และเกอื บจะเรยี กวา่ เกย่ี วขอ้ งกบั โมเสสโดยเฉพาะ แมก้ ระทงั่ ตอนทก่ี ล่าวว่าพระเยซู
เจ้า “ทรงนัง่ ลง” ขณะท่ีเทศนาสงั่ สอนอาจสะท้อนถึงท่านโมเสสท่ีอยู่บนภูเขาด้วย เน่ืองจากการตีความของ
ชาวยวิ บางกลุ่มมองวา่ ฉธบ. 9:9 เป็นการแสดงภาพของโมเสสกาลงั นงั่ อย่บู นภูเขาไซนายโดยเฉพาะ และเรอ่ื งน้ี
ไดก้ ลายมาเป็นหวั ขอ้ อภปิ รายในหม่รู บั บี นกั บุญมทั ธวิ เขา้ ใจว่าการเสดจ็ มาส่โู ลกของพระเยซูเจา้ ไดน้ ามาซ่งึ สง่ิ
ใหม่ในเชงิ คุณสมบตั ิ (ดู 9:17) แต่สง่ิ สาคญั คอื ท่านนักบุญมทั ธวิ ไม่ได้ระบุตาแหน่งให้พระเยซูอย่างเจาะจงว่า
พระองคค์ อื โมเสสคนใหม่ หรอื คาสอนของพระองคค์ อื หนงั สอื คาสอนชุดใหม่ และทรงหลกี เลย่ี งทจ่ี ะเรยี กพระศา
สนจกั รว่าอสิ ราเอลใหม่ดว้ ย อย่างไรกต็ าม ภาพของโมเสสนัน้ ปรากฏอยู่ลางๆ ในเบ้อื งหลงั เสมอ และคาเทศน์
สอนบนภูเขานัน้ เม่อื ได้ยนิ แล้วเราไม่อาจปฏเิ สธได้ว่าคาสอนอนั ทรงอานาจของพระเยซูเจ้าบนภูเขาเช่อื มโยง
เกย่ี วขอ้ งกบั หนงั สอื ปัญจบรรพ (Torah) ทพ่ี ระเป็นเจา้ ไดป้ ระทานใหบ้ นภูเขาไซนาย ประเดน็ น้ีเป็นขอ้ พจิ ารณา
กล่าวถึงกนั ในชุมชนของนักบุญมทั ธวิ แม้ว่ามภี ูเขาในเมอื งกาลลิ มี ากกว่าหน่ึงแห่งท่ไี ด้รบั การระบุโดยธรรม
ประเพณีชาวครสิ ต์ (และการท่องเทย่ี ว) ว่าเป็น “ภูเขาแห่งมหาบุญลาภ(ความสขุ แท)้ ทงั้ แปด” แต่สถานทใ่ี นคาเทศน์สอน
บนภูเขานัน้ ไม่ได้แสดงความหมายทางภูมศิ าสตร์ แต่เน้นความหมายทางเทวศาสตร์ ในฐานะภูเขาแห่งการ
เปิดเผยแสดงของพระผู้เป็นเจ้า ซ่งึ สอดคล้องกนั ทงั้ ภูเขาไซนายและภูเขาท่รี ะบุไวใ้ น มธ. 28:16 (เทยี บ ดู 15:29;

17:1; 24:3 ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ การใชภ้ ูเขาเป็นทเ่ี ผยแสดงของพระผเู้ ป็นเจา้ )

เมอ่ื ทบทวนตคี วามพระคมั ภรี ต์ อนน้ี ควรจะไดเ้ ขา้ ถงึ ความชดั เจนในตอนน้ีแลว้ ว่า บทเทศน์บนภูเขาคอื
ธรรมบญั ญตั ใิ หม่ (New Torah) ทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงนามามอบให้ เป็นกจิ การทท่ี าใหภ้ ารกจิ ของท่านโมเสสสาเรจ็
สมบูรณ์ กล่าวคอื โมเสสสามารถมอบธรรมบญั ญตั นิ ัน้ ไดโ้ ดยเขา้ ไปส่คู วามมดื ของพระเป็นเจา้ บนภูเขานัน้ ท่าน
อยู่ทน่ี ัน่ กบั พระเป็นเจา้ เป็นเวลา 40 วนั 40 คนื และจารกึ ถอ้ ยคาแห่งพระบญั ญตั ิ 10 ประการสาหรบั ประชากร
อสิ ราเอล ส่วนบทบญั ญตั ขิ องพระเยซูเจา้ กเ็ ป็นเช่นเดยี วกนั คอื บ่งบอกล่วงหน้าว่าพระองคต์ ้องทรงเขา้ ไปสนิท
สมั พนั ธก์ บั พระบดิ าเจา้ ก่อน(เป็นเวลา 40 วนั 40 คนื เช่นเดยี วกนั ในถนิ่ ทุรกนั ดารบนภูเขา) กล่าวคอื พระองคท์ รงขน้ึ ไปภายใน
ชวี ติ ของพระบดิ าเจา้ แลว้ จากนัน้ กเ็ สดจ็ ลงมามคี วามสนิทสมั พนั ธก์ บั ชวี ติ และความทุกขท์ รมานของมนุษย์ (อา้ ง
แลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ พระสนั ตะปาปาเบเนดกิ ต์ ท่ี 16, พระเยซูเจา้ แหง่ นาซาเรธ็ หน้า 142) และในกจิ การต่อไปในภารกจิ แหง่ การไถ่กู้
หรอื การประกาศขา่ วดแี หง่ พระอาณาจกั รพระเป็นเจา้

ใน 13:1 และ 24:3 พระเยซูเจา้ ผทู้ รงเป็นอาจารยน์ งั ่ อย่ใู นขณะทส่ี อน(ทรงประทบั สอนอย่ใู นเรอื ทร่ี มิ ฝัง่ ทะเลสาบ
และทบ่ี นภูเขามะกอกเทศ เม่อื บรรดาศษิ ยม์ าเฝ้าพระองค)์ ซง่ึ เป็นกริ ยิ าท่าทางของธรรมาจารยช์ าวยวิ ทน่ี ่าเคารพนับถอื (เทยี บ
ลก 6:17 พระเยซูเจา้ ทรงยนื สอนอย่ใู นพ้นื ทร่ี าบ) นักบุญมทั ธวิ แสดงภาพการเทศน์ครงั้ น้ีว่าเป็นการสอนบรรดาศษิ ยซ์ ่งึ เป็น
กลุ่มเป้าหมายแรกและทรงสอนประชาชนดว้ ย พวกเขาคอื กลุ่มชุมชนชาวครสิ ตห์ ลงั เหตุการณ์กลบั คนื พระชนม์
ชพี คาว่า “ศษิ ย์” ในท่นี ้ี นักบุญมทั ธวิ ไม่ไดห้ มายถงึ “อคั รสาวกทงั้ สบิ สอง” เพราะในขณะนัน้ มผี ูท้ ่พี ระเยซูเจ้า
ทรงเรยี กใหต้ ดิ ตามเพยี งแค่สค่ี น (4:18-22; เทยี บ 9:9; 10:1-4) บรรดาศษิ ย์ในทน่ี ้ีหมายถงึ พระศาสนจกั รทงั้ หมด ไม่ใช่
เพยี งสบิ สองคน และหว้ งกรอบแดนเวลาระหวา่ งเหตุการณ์กอ่ นและหลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี ไดส้ น้ิ สดุ ไปแลว้
ในด้านการวจิ ารณ์เชิงวรรณกรรม ผู้ฟังท่ีแท้จรงิ ของการเทศน์ครงั้ นัน้ คอื ผู้อ่านพระวรสารของนักบุญมทั ธิว
บนั ทกึ “รายงาน” เกย่ี วกบั คาเทศน์สอน หว้ งระหวา่ งการกระทาพนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ ไดก้ ลายมาเป็นสง่ิ ทพ่ี ระ
เป็นเจา้ ตรสั กบั พระศาสนจกั รของพระองคใ์ นปัจจุบนั และจะยงั คงเป็นเช่นนัน้ จนถงึ ทุกวนั น้ี (1:23; 18:18-20; 28:20)
ในตอนทา้ ยของคาเทศน์สอน เหน็ ไดช้ ดั ว่า “ฝงู ชน” ทแ่ี ต่เดมิ หมายถงึ กลุ่มคนทอ่ี ยู่ในสถานทซ่ี ่งึ มกี ารเทศน์นัน้

120

(ในตอนน้ขี องเรอื่ งหมายถงึ ผทู้ จี่ ะมาเป็นสาวกในอนาคต) กย็ งั “ไดย้ นิ อยา่ งทวั่ ถงึ ” (Overheard It) ดว้ ยเช่นกนั (ดู

7:28-29)

121

จงแล่นเรอื ออกไปทล่ี กึ ... ลงอวนจบั ปลาเถดิ
เรอ่ื งผหู้ วา่ น.... แกะทห่ี ลงหายไป ตวั หน่งึ จากฝงู 100 ตวั .... เพอ่ื นมนุษยค์ อื คนทแ่ี สดงความเมตตาตอ่ เขา

122


Click to View FlipBook Version