The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจงานแปลมัทธิว 5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by P. Tads, 2021-06-05 00:25:21

7. มัทธิว 5:3-16

ตรวจงานแปลมัทธิว 5

มทั ธิว 5:3-16 ศิษยใ์ นฐานะของชุมชนผเู้ ชื่อในวนั พิพากษาโลก

มทั ธิว 5: 3-12 ความสขุ แท้

3 “ผมู้ ใี จยากจน ยอ่ มเป็นสขุ เพราะอาณาจกั รสวรรคเ์ ป็นของเขา
4 ผเู้ ป็นทกุ ขโ์ ศกเศรา้ ยอ่ มเป็นสขุ เพราะเขาจะไดร้ บั การปลอบโยน
5 ผมู้ ใี จอ่อนโยน ยอ่ มเป็นสุข เพราะเขาจะไดร้ บั แผน่ ดนิ เป็นมรดก
6 ผหู้ วิ กระหายความชอบธรรม ยอ่ มเป็นสุข เพราะเขาจะอม่ิ
7 ผมู้ ใี จเมตตา ยอ่ มเป็นสขุ เพราะเขาจะไดร้ บั พระเมตตา
8 ผมู้ ใี จบรสิ ทุ ธิ์ ยอ่ มเป็นสุข เพราะเขาจะไดเ้ หน็ พระเจา้
9 ผสู้ รา้ งสนั ติ ย่อมเป็นสุข เพราะเขาจะไดช้ อ่ื วา่ เป็นบุตรของพระเจา้
10 ผถู้ ูกเบยี ดเบยี นขม่ เหงเพราะความชอบธรรม ยอ่ มเป็นสขุ เพราะอาณาจกั รสวรรคเ์ ป็นของเขา 11 “ท่านทงั้ หลายยอ่ มเป็นสขุ
เมอ่ื ถกู ดหู มน่ิ ขม่ เหงและใส่รา้ ยตา่ งๆ นานาเพราะเรา 12 จงชน่ื ชมยนิ ดเี ถดิ เพราะบาเหน็จรางวลั ของท่านในสวรรคน์ นั้ ยงิ่ ใหญ่นกั
เขาไดเ้ บยี ดเบยี นบรรดาประกาศกทอ่ี ยกู่ อ่ นท่านดงั น้ีดว้ ยเชน่ เดยี วกนั

ข้อศึกษาวิพากษ์
นักพระคมั ภรี ์ส่วนใหญ่เหน็ พอ้ งกนั ว่าแก่นคาสอนหลกั เร่อื ง “ความสุขแท”้ มาจากพระเยซูเจา้ ผูท้ รงมี

ชวี ติ อยใู่ นประวตั ศิ าสตรจ์ รงิ ๆ พระองคท์ รงเปลย่ี นทุกอย่างในระบบของการใหค้ ุณค่าทซ่ี ่อนอยภู่ ายใน หรอื แบบ
ตรงกนั ขา้ มจากมุมมองภายนอก โดยทรงประกาศสอนว่าพระเป็นเจา้ ประทานพระพรแก่คนยากจน คนหวิ โหย
และคนทร่ี อ้ งไหค้ ร่าครวญ (รปู แบบตามเอกสารแหล่ง Q ของ 5:3-4, 6 = ลก. 6:20ข -21) แต่ไม่มหี ลกั ฐานแน่ชดั ว่าท่านนักบุญ
มทั ธวิ เป็นผนู้ ิพนธ์ขน้ึ เอง หรอื คดั ลอกปรบั ปรุงมาจากเอกสารแหล่ง Q หรอื มผี ปู้ ระพนั ธจ์ ากเอกสารรวบรวมคา
กล่าวของพระเยซูเจา้ ในเอกสารแหล่ง Q เชน่ ความสุขแท้ ขอ้ 4 ผกู ความหมายรวมกบั มธ. 5:11-12/ ลก. 6:22-
23 และความสุขแท้ ขอ้ 8 (มธ. 5:10) ท่านนักบุญมทั ธวิ อาจเป็นผแู้ ต่งเอง และมคี วามคดิ เหน็ ไม่ตรงกนั วา่ ความสุข
แท้ 4 ขอ้ ทเ่ี หลอื ซง่ึ เป็นลกั ษณะเฉพาะของนกั บญุ มทั ธวิ แต่สนั นิษฐานวา่ ไม่ไดม้ าจากเอกสารแหล่ง Q (มธ. 5:5, 7-
9) นนั้ ทา่ นนกั บุญมทั ธวิ ไดป้ ระพนั ธข์ น้ึ หรอื วา่ ทา่ นไดร้ บั มาในฉบบั ขยายความของ QMt. (ฉบบั คุมราน)

คาว่า “ความสุขแท้” (Beatitude ในภาษาละติน makarism ในภาษากรกี ) เป็นประโยคบอกเล่า (Indicative
Mood) ท่เี รมิ่ ต้นด้วยคาขยายหรอื คาคุณศพั ท์ “makarios” ซ่ึงประกาศว่าบุคคลหน่ึงอยู่ในสถานการณ์ท่มี สี ทิ ธิ
พเิ ศษหรอื โชคดี ในภาษากรกี คาคุณศพั ท์ makarios หมายถงึ “โชคด”ี “มคี วามสุข” “อย่ใู นสถานการณ์ทไ่ี ดร้ บั
สทิ ธพิ เิ ศษ” หรอื “ร่ารวย” ในบรบิ ททางศาสนา คาว่า makarios หมายถงึ “ไดร้ บั พร” (จากพระเป็นเจา้ ) ในพระคมั ภรี ์

123

ฉบบั เจ็ดสิบ (LXX) แปลคาว่า “asr” (yrva) ซ่ึงพบได้ทวั่ ไปว่า “ได้รบั พร” หรอื “มคี วามสุข” นอกจากน้ียงั ส่อื
โดยนัยถงึ คาว่า “การช่วยใหร้ อด” (Heil/Salvation) ในภาษาเยอรมนั และกรกี สอ่ื ถงึ คาว่า “สนั ตสิ ุข” และ“อย่ดู มี ี
สุข” ในภาษาฮบี รู รวมถงึ คาว่า “โอเค” ในภาษาพูดของภาษาองั กฤษ โดยปกตแิ ลว้ ความสุขแท้จะอย่ใู นรปู ของ
บคุ คลทส่ี าม แตบ่ างครงั้ ไดพ้ บในรปู แบบการกล่าวโดยตรงกบั บุคคลทส่ี องดว้ ย

พระสนั ตะปาปาเบเนดกิ ต์ ที่ 16 ได้ทรงไตร่ตรองทบทวนการตคี วามใหม่เหน็ ว่าบทเทศน์บนภูเขาคอื
ธรรมบญั ญตั ใิ หม่ (New Torah) ทพี่ ระเยซูเจา้ ทรงนามามอบให้ โมเสสสามารถมอบธรรมบญั ญตั นิ นั้ ไดก้ โ็ ดยการ
เขา้ ไปสคู่ วามมดื ของพระเป็นเจา้ บนภูเขานนั้ บทบญั ญตั ขิ องพระเยซูเจา้ กเ็ ป็นเชน่ เดยี วกนั คอื บ่งบอกลว่ งหน้าวา่
พระองคจ์ ะตอ้ งทรงเขา้ ไปสนิทสมั พนั ธก์ บั พระบดิ าก่อน กล่าวคอื พระองคท์ รงขน้ึ ไปในภายในชวี ติ ของพระองค์
แลว้ จากนนั้ กเ็ สดจ็ ลงมามคี วามสนิทสมั พนั ธก์ บั ชวี ติ และความทกุ ขท์ รมานของมนุษย์

บ่อยครงั้ ทเี ดยี วทบี่ ทเทศน์เรอื่ งความสุขแทจ้ ริงมกั จะถูกนาเสนอควบค่ไู ปกบั บทบญั ญตั สิ บิ ประการของ
พระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาเดมิ เป็นคาสอนของพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาใหม่ เป็นแบบอยา่ งจรยิ ธรรมแบบครสิ ตท์ ถี่ อื กนั
ว่าเหนือกว่าบทบญั ญตั ติ ่างๆ ของพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาเดมิ การมคี วามเขา้ ใจพระวาจาเหล่าน้ีของพระเยซูเจา้
ผดิ เพ้ยี นไปโดยส้นิ เชงิ พระเยซูเจา้ ทรงถอื วา่ บทบญั ญตั สิ บิ ประการของพระเป็นเจา้ นนั้ ถูกตอ้ งดอี ยแู่ ลว้ (ดู ต.ย. อาทิ
มก. 10: 19; ลก. 16: 17) ในบทเทศน์บนภเู ขา พระเยซเู จา้ ทรงเน้นย้าและใหค้ วามหมายลกึ ซ้งึ เพมิ่ ขน้ึ แกบ่ ทบญั ญตั เิ อก
ประการทสี่ อง แต่มไิ ดท้ รงลบล้างบทบญั ญตั เิ หล่านัน้ (เทยี บ มธ. 5: 21-48) การทาเช่นน้ีไม่ว่าในกรณีใดอาจขดั แย้ง
โดยตรงกบั หลกั เกณฑ์พ้นื ฐานทสี่ นับสนุนคาตรสั ของพระองค์เรอื่ งบทบญั ญตั สิ บิ ประการนัน้ ทวี่ ่า “จงอย่าคดิ ว่า
เรามาเพอื่ ลบล้างธรรมบญั ญัตหิ รอื คาสอนของบรรดาประกาศก เรามไิ ด้มาเพอื่ ลบล้าง แต่มาเพอื่ ปรบั ปรุงให้
สมบูรณ์ เราบอกความจรงิ แกท่ า่ นทงั้ หลายวา่ ตราบใดทฟี่ ้าและดนิ ยงั ไมส่ ญู ส้นิ ไป แมแ้ ต่ตวั อกั ษรหรอื จุดเดยี วจะ
ไม่หดหายไปจากธรรมบญั ญตั จิ นกวา่ ทกุ อยา่ งจะสาเรจ็ ไป” (มธ. 5: 17-18)

แตท่ วา่ ความสขุ แทจ้ รงิ เหล่าน้ีคอื อะไรเล่า? ประการแรกสุด ความสขุ แทจ้ รงิ เหลา่ น้มี ใี นธรรมประเพณีอนั
ยาวนานของคาสอนพระคมั ภีร์พนั ธสญั ญาเดมิ อยู่แล้ว อาทิ ทเี่ ราพบในบทเพลงสดุดที ี่ 1 และในขอ้ ความพระ
คมั ภีร์คู่ขนานกนั ในหนังสอื ประกาศกเยเรมหี ์ 17: 7-8 ทวี่ ่า คนทวี่ างใจในพระเป็นเจ้าย่อมเป็นสุข เหล่าน้ีเป็น
ถอ้ ยคาแหง่ คาสญั ญา ในเวลาเดยี วกนั ความสุขแทจ้ รงิ เหล่าน้ีกเ็ ป็นมาตรการช้วี ดั การวนิ ิจฉยั จติ ต่างๆ และดงั นนั้
ความสุขแท้จรงิ เหล่าน้ีกพ็ สิ ูจน์ตวั เองว่าเป็นขอ้ แนะนาสาหรบั การคน้ หาหนทางทถี่ ูกต้อง นักบุญลูกาวางโครง
เรอื่ งบทเทศน์บนภูเขา โดยช้ใี ห้เห็นว่าพระเยซูเจ้าตรสั เรอื่ งความสุขแท้จรงิ น้ีแก่ผู้ใด “พระองค์ทอดพระเนตร
บรรดาศษิ ย์” (ลก. 6: 20) ความสุขแท้จรงิ แต่ละประการเป็นผลจากการทีพ่ ระองค์ทอดพระเนตรบรรดาศิษย์
เหล่านนั้ ความสุขแทจ้ รงิ เหล่าน้ีบรรยายถงึ สงิ่ ทอี่ าจเรยี กไดว้ ่าเป็นเงอื่ นไขสาคญั ของผเู้ ป็นศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้
กล่าวคอื พวกเขาเป็นผยู้ ากจน ผทู้ หี่ วิ โหย ผทู้ รี่ อ้ งไห้ พวกเขาถูกเกลยี ดชงั และถูกเบยี ดเบยี นขม่ เหง (เทยี บ ลก.
6: 20 ต่อเนือ่ ง) คายนื ยนั น้ีมุ่งใหร้ ายชอื่ คุณลกั ษณะแบบเป็นจรงิ แต่กเ็ ป็นแบบเทววทิ ยาของผเู้ ป็นศษิ ยข์ องพระ
เยซเู จา้ ดว้ ย คอื ผทู้ ไี่ ดอ้ อกเดนิ ทางตดิ ตามพระเยซเู จา้ และกลายมาเป็นครอบครวั ของพระองค์

...ความสุขแทจ้ รงิ เป็นทงั้ สงิ่ ทขี่ ดั แยง้ กนั อย่ใู นตวั (Paradoxes) นัน่ คอื มาตรฐานต่างๆ ของโลกถูกพลกิ
กลบั ทนั ทที ีส่ งิ่ ต่างๆ นัน้ ถูกมองในมุมมองทีถ่ ูกต้อง กล่าวคอื ตามคุณค่าของพระเป็นเจ้า ซึง่ แตกต่างไปจาก
คุณค่าทงั้ หลายของโลกน้ี...ความสุขแท้จรงิ เป็นคาสญั ญาอนั เรอื งรองไปด้วยภาพลกั ษณ์ใหม่ของโลกและของ
มนุษย์ ทเี่ รมิ่ ตน้ ข้นึ แลว้ โดยพระเยซูเจา้ จากการทพี่ ระองคท์ รง “ปรบั เปลยี่ นคุณค่าทงั้ หลายใหม่” ความสุขแทจ้ รงิ
เหล่าน้ีเป็นคาสัญญาแบบอันตกาล (Eschatological Promises) ....และบางสิง่ ทีเ่ ป็นของภาวะอันตกาล

124

(Eschaton) คอื เป็นความจรงิ ทจี่ ะมาถงึ นนั้ กเ็ ป็นปัจจุบนั อยแู่ ลว้ (อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ สมเดจ็ พระสนั ตะปาปาเบเนดกิ ต์ ที่

16, พระเยซูเจา้ แหง่ นาซาเรธ็ หน้า 142-148)

พระเยซูเจา้ และนกั บุญมทั ธวิ ทรงนารปู แบบของความสุขแทจ้ รงิ ซง่ึ พบอย่ใู นพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญา
เก่าและในวรรณกรรมของชาวยวิ และชนนอกศาสนามาใชส้ อน ถงึ การใชเ้ ร่อื งความสุขแทจ้ รงิ ตามธรรมประเพณี
ของชาวยิวในศาสนาครสิ ต์ยุคแรก คือในบรบิ ทลกั ษณะเก่ียวกบั ปรชี าญาณและคาพยากรณ์ (Wisdom and
Prophecy) ซง่ึ ทาใหบ้ ทสอนเรอ่ื งความสขุ แทจ้ รงิ มบี ทบาทหน้าทแ่ี ละความหมายทโ่ี ดดเดน่ ในธรรมประเพณีของ
ปรชี าญาณ การใชค้ าสอนเรอ่ื ง “ความสขุ ” (Makarisms) ตามขอ้ สงั เกตและประสบการณ์ เป็นการประกาศถงึ พระ
พรของบุคคลทอ่ี ยใู่ นสถานการณ์ทโ่ี ชคดี (ตวั อยา่ งเช่น บสร. 25:7-9) และประกาศรางวลั และความสุขในขณะนนั้ สว่ น
ในหนังสอื ประกาศก ความสุขแท้ประกาศถงึ การได้รบั พระพรทงั้ ในปัจจุบนั และอนาคตสาหรบั ผู้ท่กี าลงั อยู่ใน
สถานการณ์เลวรา้ ย แต่จะได้รบั การกอบกู้ พสิ ูจน์ใหเ้ หน็ จรงิ เม่อื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ มาถงึ ในอวสาน
ตกาล (อสย. 30:18; 32:20; ดนล. 12:12) ส่วนในพนั ธสญั ญาใหม่ นอกระบบพระวรสารสหทรรศน์ เร่อื งความสุขแทจ้ รงิ
สว่ นใหญ่จะพบไดใ้ นหนงั สอื ประกาศกประเภทววิ รณ์ (1:3; 14:13; 16:15; 19:9; 20:6; 22:7, 14)

ความสุขแทจ้ รงิ ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ศาสนาครสิ ต์ในยุคแรกเรมิ่ ใชใ้ นรปู แบบหนงั สอื ปรชี าญาณตงั้
เดมิ ซง่ึ ไดร้ บั การปรบั แต่งเตมิ เน้ือหาแบบคาพยากรณ์แหง่ อนั ตกาล ไม่ใช่คาแนะนาเชงิ ปฏบิ ตั สิ าหรบั การใชช้ วี ติ
อย่างประสบความสาเรจ็ แต่เป็นการประกาศคาพยากรณ์เก่ยี วกบั ความมนั่ ใจถงึ พระอาณาจกั รพระเป็นเจ้าท่ี
กาลงั จะมาถงึ และทป่ี รากฏอยบู่ นโลกน้ีแลว้ มมุ มองดงั กล่าวนาไปสผู่ ลทเ่ี กดิ ขน้ึ ในการตคี วาม ดงั ต่อไปน้ี
(1) ความสุขแทจ้ รงิ ประกาศถงึ ความเป็นจรงิ เชงิ วตั ถุวสิ ยั ทเ่ี ป็นผลมาจากการกระทาของพระเป็นเจา้ ไม่ใช่แค่

ความรูส้ กึ ส่วนบุคคล ดงั นัน้ จงึ ควรแปลโดยใชค้ าท่เี ป็นรูปธรรมคอื “ไดร้ บั พร” มากกว่าคาทเ่ี ป็นความรูส้ กึ
อย่าง “มคี วามสขุ ” คาทต่ี รงขา้ มกบั คาวา่ “ไดร้ บั พร” ไมใ่ ชค่ าวา่ “ไรค้ วามสขุ แต่เป็นคาวา่ “ถูกสาปแช่ง”
(2) เราควรให้ความสาคญั อย่างจรงิ จงั กบั ความเป็นประโยคบอกเล่าของขอ้ ความเหล่าน้ี ไม่ควรเปล่ยี นเป็น
ประโยคคาสงั่ หรอื ประโยคชกั ชวนแนะนา ความสุขแท้จรงิ ของธรรมประเพณีแห่งปรชี าญาณเป็นรูปแบบ
บอกเล่า (Indicative) และเป็นเชงิ คาสงั่ (Imperative) ในรปู แบบของคาตกั เตอื นสอนทางจรยิ ธรรมเก่ยี วกบั
อดุ มคตทิ แ่ี สดงออกมาในความสุขแทจ้ รงิ สาหรบั หนังสอื ประกาศก โดยหลกั ๆ แลว้ ความสขุ แทจ้ รงิ คอื การ
ประกาศสถานะภาพแห่งพระพรท่จี ะไดร้ บั ของกลุ่มบุคคลทม่ี ุ่งมนั่ สู่ความเป็นจรงิ ในอนาคตแห่งอาณาจกั ร
พระเป็นเจา้ โดยมคี าสงั่ ทางออ้ มเชงิ จรยิ ธรรม แต่ทรงอานาจแฝงไวใ้ นการเรยี กใหผ้ ูค้ นตดั สนิ ใจ โดยไม่มี
การแสดงคาสงั่ ตรงๆ ว่าใหก้ ลบั ใจ แต่เป็นการประกาศ Notae Ecclesiae หรอื ขอ้ บญั ญตั แิ ห่งพระศาสนจกั ร
(Marks of the Church)
(3) อย่างไรกต็ าม มมี ติ ดิ า้ นศลี ธรรมอย่ใู นบทความสขุ แทจ้ รงิ ดว้ ย ชุมชนทร่ี บั รวู้ า่ ตนไดร้ บั พรจากพระผเู้ ป็นเจา้
จะตอ้ งไม่อย่ใู นภาวะเฉ่ือยชา แต่ตอ้ งกระทาสงิ่ ต่างๆ ใหส้ อดคลอ้ งกบั พระอาณาจกั รทก่ี าลงั จะมาถงึ และมี
คาอธบิ ายขยายความเก่ยี วกบั ชวี ติ ของผูท้ ่ไี ด้รบั พระพรอยู่ในส่วนท่สี องของบทเทศน์สอนบนภูเขา แสดง
คาสงั่ ใหป้ ฏบิ ตั ใิ น 5:17 – 7:12
(4) ความสุขแท้เป็ นคาสอนท่ีเขียนข้ึนด้วยภาษาท่ีบ่งบอกการกระทาแบบไม่มีเง่ือนไข (Unconditional
Performative Language) พวกเขา(ผูน้ ิพนธ์)ไม่เพยี งแต่อธบิ ายถงึ สงิ่ ท่ีเป็นอยู่แล้ว แต่ยงั นาพาใหเ้ ป็นจรงิ
ตามทพ่ี วกเขาประกาศยนื ยนั ไม่ใช่ในรปู แบบของประโยค “ถา้ คุณจะ x แลว้ ก็ y” หรอื “ใครๆ (ทา) x แลว้ ก็
ทา y” แต่เป็นการประกาศอย่างไม่มเี ง่อื นไขว่า ผูเ้ ป็น x จะกลายเป็น y เช่นเดยี วกบั คากล่าวอวยพรจาก

125

บดิ าหรอื พระสงฆ์และคาพยากรณ์ในพระคมั ภรี ์ ความสุขแทจ้ รงิ ทาใหส้ ง่ิ ทก่ี ล่าวนัน้ ส่งผลและทาใหส้ งิ่ ทไ่ี ด้
แถลงไวป้ รากฏขน้ึ ในฐานะของคาอวยพรแบบอนั ตกาล ความสุขแท้ ไม่ใช“่ ขอ้ กาหนดทผ่ี า่ นเขา้ มา”สาหรบั
คนภายนอก แต่เป็นคาประกาศแสดงถงึ สงิ่ ภายใน(จติ ใจ)ของศษิ ย์ ไม่ใช่บทนาหรอื คานาสู่หวั ใจของบท
เทศน์ ความสุขแท้เป็นรากฐานท่ีนาพาเร่อื งบอกเล่าสู่ภาวะกากบั เชงิ คาสงั่ สาระเป็นข่าวดี (the Gospel)
ไม่ใชก่ ฎขอ้ บงั คบั เป็นพน้ื ฐานคาแนะสอนถงึ แกน่ ธรรมของบทเทศน์(บนภเู ขา)
(5) เป็นทเ่ี ขา้ ใจวา่ บทเทศน์สอนบนภเู ขาเป็นคาประกาศพยากรณ์ ความจรงิ ทอ่ี า้ งถงึ ของความสขุ แทไ้ ม่อาจเป็น
จรงิ ในตวั เอง แต่ขน้ึ อย่กู บั ผพู้ ูด ในธรรมประเพณีแห่งการพยากรณ์ ถ้อยคาทป่ี ระกาศกกล่าวขน้ึ อย่กู บั ว่าผู้
พดู นนั้ เป็นตวั แทนจากพระผเู้ ป็นเจา้ หรอื ไม่ เพราะพระองคค์ อื อานาจทก่ี ระทาการอยเู่ บอ้ื งหลงั การประกาศ
นนั้ ในบทความสุขแทไ้ ดอ้ า้ งองิ ถงึ อสย. 61: 1-11 อย่างมาก ซง่ึ ทาใหเ้ ป็นการเชอ่ื มโยงกบั คาพยากรณ์ของ
ประกาศก และในทางออ้ มทาใหพ้ ระเยซูเจา้ ทรงไดร้ บั บทบาท “ผไู้ ดร้ บั การเจมิ ” ใน อสย. 61:1 ในบรบิ ทการ
เลา่ เรอ่ื งคาเทศน์สอนบนภเู ขา ผพู้ ดู เป็นมากกวา่ ประกาศก คอื พระองคเ์ ป็นพระบุตรของพระเป็นเจา้ และเป็น
เจา้ นายปกครองพระศาสนจกั ร ซง่ึ เป็นมุมมองของผคู้ นในสมยั หลงั การฟ้ืนคนื พระชนมช์ พี ดงั นัน้ ความสุข
แทจ้ งึ ไม่ใช่ขอ้ สงั เกตความเป็นจรงิ ทค่ี นวสิ ยั ทศั น์สนั้ กว่าอาจมองขา้ มไป เช่น คนมคี วามคดิ เชงิ คณิตศาสตร์
หรอื ตรรกะ แต่เป็นความจรงิ อนั มพี ้นื ฐานจากความมอี านาจของผู้พูด ดงั นัน้ บทความสุขแท้ท่พี ระเยซูเจ้า
ทรงสอนจงึ เก่ยี วขอ้ งกบั แนวคดิ เร่อื ง “อานาจ” (Authority) ของพระเยซูเจ้า (ดู 7:29; 8:9; 9:6; 21:23; 28:18) คา
แรกๆ ในบทเทศน์สอนบนภูเขาไม่ใช่ขอ้ ความท่คี รอบคลุมแบบกวา้ งๆ ทวั่ ไป ไม่ใช่สจั ธรรมท่เี ราสามารถ
นามาวเิ คราะหพ์ จิ ารณาเองไดด้ ้วยเกณฑข์ องเราเอง แต่เป็นคายนื ยนั โดยนัยทางครสิ ตศาสตร์ ทเ่ี หมอื นมี
ม่านมาปิดคลุมไว้ เรยี กรอ้ งใหเ้ รายนื หยดั เช่นนัน้ เพราะความเช่อื มนั่ ในผพู้ ูด ไม่ใช่แค่เช่อื ในเน้ือหาของคา
ปราศรยั ของพระองค์
(6) บทความสขุ แทไ้ มไ่ ดม้ คี วามหมายเกย่ี วขอ้ งกบั ประวตั ศิ าสตร์ แตเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ความเชอ่ื แบบอนั ตกาล เพราะ
การไดร้ บั พระพร (Blessedness) ตามบทความสขุ แทข้ องศาสนายดู ายและความเชอ่ื ของชาวกรกี โบราณนนั้
ชดั เจนในตัวเอง จึงไม่ใช่เร่อื งปกติท่ีเราต้องหาเหตุผลอธิบายคาประกาศนัน้ แต่องค์ประกอบท่ีทาใ ห้
ความสุขแท้ในพระวรสารโดดเด่นกว่าท่ีอ่ืน เพราะแต่ละประโยคนัน้ ยึดไว้ด้วยวลีท่ีสอง ซ่ึงข้นึ ต้นด้วย
“เพราะวา่ ” หรอื “เพราะ” และแต่ละวลชี ถ้ี งึ อนาคตทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การมาถงึ ของพระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ใน
อวสานตกาล (ดูบทแทรก “พระอาณาจกั รสวรรคใ์ นพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ”) ประโยคแรกและประโยคสุดทา้ ยในขอ้ ความท่ี
มคี วามคลา้ ยคลงึ กนั อย่างเป็นทางการของ 5: 3-10 สอ่ื โดยตรงถงึ พระอาณาจกั รทก่ี าลงั มาถงึ และประโยค
อน่ื ๆ กช็ ใ้ี หเ้ หน็ ถงึ แงม่ มุ ทเ่ี กย่ี วกบั อวสานตกาลเชน่ กนั คาวา่ “การปลอบโยน” ใน 5:4 สอ่ื ถงึ การช่วยใหร้ อด
ท่ที ุกคนคาดหวงั คอื “ความรอดพ้นสาหรบั อสิ ราเอล” (the Consolation Israel) (เทยี บ ลก. 2:25) “การได้รบั
แผ่นดินโลกเป็นมรดก” ใน 5:5 เป็นภาพแบบอนั ตกาลโดยมีรากฐานมาจากดินแดนแห่งพระสญั ญาใน
เรอ่ื งราวของผนู้ าโยชวู า(Joshua) คาวา่ “อมิ่ หนา” (Being Filled) ใน 5:6 เป็นภาพของการอวยพรในอวสาน
ตกาลทก่ี ล่าวใหก้ บั ชนสมยั นัน้ และยงั คงกล่าวอย่ทู ุกวนั น้ีในโลกซง่ึ มคี วามอดอยากหวิ โหยอยู่ในความเป็น
จรงิ “การไดร้ บั พระเมตตา” (5:7) “การไดเ้ หน็ พระเป็นเจา้ ” (5:8 cf. 1 คร. 13:12; วว. 22:4) และ “ไดร้ บั การเรยี กว่า
บุตรของพระเป็นเจา้ ” (5:9 เทยี บ ฮชย. 9:6) ไม่ใช่ความเป็นจรงิ ในเชงิ ปฏบิ ตั ขิ องโลกน้ี แต่เป็นองคป์ ระกอบของ
ความหวงั แห่งอนั ตกาลของชาวอสิ ราเอล

126

(7) คากลา่ วทงั้ แปด1ประโยคน้ไี มใ่ ชใ่ ช่เน้ือหาเกย่ี วกบั คุณธรรมความดขี องมนุษยโ์ ดยทวั่ ไป และสว่ นใหญ่จะตรง
ขา้ มกบั ปรชี าญาณทพ่ี บบ่อยๆ เป็นการอวยพรใหก้ บั สาวกแทจ้ รงิ ในชุมชนชาวครสิ ต์มากกว่า ความสุขแท้
ทงั้ หมดดจู ะมไี วส้ าหรบั คนกลุ่มหน่ึง คอื ชาวครสิ ตท์ แ่ี ทจ้ รงิ ในชุมชนของนักบุญมทั ธวิ ไม่ใช่เป็นการอธบิ าย
ถงึ คนดแี ปดประเภททจ่ี ะไดไ้ ปสวรรค์ แต่เป็นการประกาศพระพรแปดประการ ซง่ึ ทงั้ หมดดูตรงกนั ขา้ มกบั
ภาพลกั ษณ์ภายนอก สาหรบั ชุมชนแห่งอนั ตกาลและใช้ชีวติ อยู่เพ่อื รอคอยวนั ท่ีพระเป็นเจ้าจะเสด็จมา
ปกครองโลก เช่นเดียวกบั สาระอ่นื ๆ ในพระวรสารนักบุญมทั ธิว ท่ีเป็นคาสอนท่ีมุ่งเน้นไปท่ีการใช้ชีวติ
รวมกนั ในชุมชนของการเป็นศษิ ย์ ไมใ่ ชจ่ รยิ ธรรมสว่ นบคุ คล
การพจิ ารณาทบทวนตคี วามใหม่จากประสบการณ์ชวี ติ ของนักบุญเปาโลเรอื่ งไมก้ างเขนและการกลบั คนื

พระชนมชพี “เราเสยี่ งกบั ความตายอย่เู สมอ....เพอื่ ใหช้ วี ติ ของพระเยซูเจา้ ปรากฏชดั ในธรรมชาตทิ ตี่ ายได้ของ
เรา” (2คร. 4: 11) พระครสิ ตเจ้าเองยงั ทรงทนทุกข์ทรมาน ยงั ทรงตรงึ บนไม้กางเขนอยู่ในบรรดาผู้นาสารของ
พระองค์ ถงี กระนนั้ พระองคก์ ท็ รงกลบั คนื พระชนมชพี แลว้ อยา่ งรุ่งโรจน์ ถงึ แมว้ ่าผนู้ าสารของพระเยซูเจา้ ในโลกน้ี
ยงั คงกาลงั เจรญิ ชวี ติ ในความทุกขท์ รมานของพระองคอ์ ย่กู ต็ าม แต่ความรุ่งโรจน์แห่งการกลบั คนื พระชนมชพี ก็
ฉายแสงไปทวั่ และนาความชนื่ ชมยนิ ดี นา “การเป็นผูม้ คี วามสุขแท้” (Blessedness) มาให้เขา ซงึ่ ยงิ่ ใหญ่กว่า
ความสุขทเี่ ขาสามารถพบไดก้ ่อนหน้าน้ีบนเสน้ ทางในโลกน้ี และนักบุญยอหน์ ทา”ไมก้ างเขน”ใหเ้ ป็นกจิ การแห่ง
“การอพยพ” เป็นกจิ การแหง่ ความรกั ทบี่ รรลจุ ุดหมายสงู สดุ คอื รกั “จนถงึ ทสี่ ดุ ” (ยน. 13: 1)... ไดแ้ สดงใหเ้ ราเหน็ สอง
สงิ่ สงิ่ แรกคอื ความสุขแท้จรงิ ใหค้ วามหมายถงึ เรอื่ งของการเป็นศษิ ย์ ยงิ่ ผูเ้ ป็นศษิ ย์อุทศิ ตนเองอย่างครบถ้วน
มากข้นึ เพยี งไรในการรบั ใชใ้ นแบบทแี่ สดงใหเ้ หน็ ชดั ในชวี ติ ของนักบุญเปาโล ความสุขแท้จรงิ กย็ งิ่ กลายเป็นสงิ่
จรงิ ทจี่ บั ตอ้ งไดม้ ากยงิ่ ขน้ึ ในชวี ติ ของเขาเพยี งนัน้ สงิ่ ทคี่ วามสุขแทจ้ รงิ หมายถงึ นัน้ ไม่สามารถแสดงออกมาเป็น
ถอ้ ยคาแบบทฤษฎลี ว้ นๆ ได้ แต่ถูกประกาศออกมาเป็นชวี ติ และการทนทุกขท์ รมาน และเป็นความชนื่ ชมยนิ ดอี นั
เรน้ ลบั ของผเู้ ป็นศษิ ยท์ มี่ อบตนเองโดยส้นิ เชงิ เพอื่ ตดิ ตามพระสวามเี จา้ สงิ่ น้ีนาไปส่สู งิ่ ทสี่ อง นนั่ คอื คุณลกั ษณะ
แบบครสิ ตศาสตรข์ องความสุขแทจ้ รงิ เหล่าน้ี ผเู้ ป็นศษิ ยถ์ ูกผกู พนั เขา้ กบั พระธรรมล้าลกึ ของพระครสิ ตเจา้ ชวี ติ
ของเขาถูกฝังลกึ อยู่ในความสนิทสมั พนั ธ์กบั พระครสิ ตเจ้า “ขา้ พเจ้ามชี วี ติ อยู่มใิ ช่ตวั ขา้ พเจ้าอกี ต่อไป แต่พระ
ครสิ ตเจา้ ทรงดารงชวี ติ อย่ใู นตวั ขา้ พเจา้ ” (กท. 2:20) ความสุขแทจ้ รงิ เหล่าน้ีเปลยี่ นไมก้ างเขนและการกลบั คนื พระ
ชนมชพี ใหก้ ลายเป็นการเป็นศษิ ยข์ องพระครสิ ตเจา้ แต่ไมก้ างเขนและการกลบั คนื ชพี นนั้ นามาประยุกตก์ บั ผเู้ ป็น
ศษิ ย์ กเ็ พราะพระครสิ ตเจา้ เองไดเ้ จรญิ ชวี ติ บนไมก้ างเขนและการกลบั คนื พระชนมชพี นัน้ เป็นแบบอย่างแก่เรา
แลว้ ...พระองคผ์ ทู้ รงสามารถตรสั ว่า “จงมาหาเราเถดิ ...เพราะเรามใี จสุภาพอ่อนโยนและถ่อมตน” (เทยี บ มธ. 11: 28-

29) (อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ หน้า 150-152)

ก่อนหน้าน้ีนกั บุญมทั ธวิ ไดแ้ สดงภาพของพระเยซูเจา้ ผทู้ รงประกาศว่าพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ นัน้
อยู่ใกล้แล้วและทรงเรยี กคนมาเป็นศิษย์ ในบทความสุขแท้ ท่านนักบุญมทั ธิวเรม่ิ เติมเน้ือหาเก่ียวกบั “พระ
อาณาจกั ร” และ “ความเป็นศษิ ย”์ ซง่ึ ทงั้ สองอย่างนนั้ ไมใ่ ชส่ ง่ิ ทป่ี รชี าญานแหง่ โลกน้คี าดคดิ เลย

5:3 คาว่า “ยากจน” (Poor) ในคาประกาศพระพรดงั้ เดมิ ของพระเยซูเจ้าซ่งึ ได้รบั การรกั ษาไวใ้ นเอกสาร
แหล่ง Q และพระวรสารนกั บุญลกู า ไม่ไดห้ มายถงึ ความยากจนตรงตามตวั อกั ษรเท่านนั้ แต่ยงั ส่อื เป็นนัยถงึ การ
ไม่มจี ติ หยงิ่ ยะโสและสมั ผสั แหง่ ความตอ้ งการของตนเอง ความสขุ แทใ้ นพระวรสารนกั บุญลกู าใหค้ วามสาคญั กบั

1 ความสขุ แท้ มี 8 ประการ สว่ น 5; 11 เป็นข้อสรุป บางคนอาจนบั เป็นอีกประการหนง่ึ หรือมี 9 ประการ

127

ความหมายในมติ ทิ เ่ี ป็นเชงิ เศรษฐกจิ ตามตวั อกั ษรมากกว่า เม่อื นกั บุญมทั ธวิ เตมิ คาว่า “ในใจ(จติ วญิ ญาณ)” ลง
ไป สาระทม่ี ุ่งเน้นจงึ เปลย่ี นไป แต่ใชว่ า่ จะยกเลกิ ความหมายตามตวั อกั ษรของคาวา่ ความยากจน (เทยี บ เช่นเดยี วกบั
การเตมิ “ความชอบธรรม” ลงไปใน “ความกระหาย” ใน 5:6) เราไม่ควรด่วนสรุปว่าการเปลย่ี นแปลงเหล่าน้ีคอื “การทาใหเ้ ป็น
เร่อื งทางจติ วญิ ญาณ” (Spiritualization) โดยนักบุญมทั ธวิ เอง ราวกบั ว่าท่านไม่สนใจคนยากจนท่แี ท้จรงิ (เทยี บ
11:5; 25:31-46) ตงั้ แต่สมยั การประพนั ธเ์ พลงสดุดี เป็นทเ่ี ขา้ ใจกนั อย่แู ลว้ ว่า “ความยากจน” คอื ลกั ษณะของบุคคลท่ี
พระเป็นเจา้ สง่ มาอยา่ งแทจ้ รงิ บุคคลทร่ี วู้ า่ ชวี ติ ของตนนนั้ ไม่ไดอ้ ยภู่ ายใตก้ ารควบคุมของตนเองและพวกเขาตอ้ ง
พง่ึ พาพระเป็นเจา้ “ผทู้ ย่ี ากจนทางจติ วญิ ญาณ” ทาให้สาระน้ีชดั เจนยง่ิ ขน้ึ ไปอกี ผคู้ นทไ่ี ดร้ บั การอวยพรจากพระ
เป็นเจา้ ไม่ใช่พวกทม่ี อี ตั ตายง่ิ ใหญ่และรสู้ กึ ภาคภูมใิ จในตนเองสงู แต่คอื พวกทอ่ี ตั ลกั ษณ์ตวั ตนและความมนั่ คง
ปลอดภยั ของเขาอยู่ท่พี ระเป็นเจ้าเท่านัน้ อตั ลกั ษณ์ของพวกเขาเป็นใครไม่ได้อยู่ในสง่ิ ท่เี ขารู้ แต่ในการมจี ติ
วญิ ญาณลกั ษณะ(ยากจน)ทแ่ี น่ชดั วลที ก่ี ล่าว “ยากจนในจติ ใจ(ใจยากจน)” นนั้ ไม่เคยพบอย่ใู นเอกสารใดๆ ของ
ชาวยวิ เลยจนกระทงั่ พบว่าปรากฏอย่ใู นมว้ นเอกสารจากทะเลตาย(Dead Sea)ของชุมชนชาวคุมราน (1 QM 14:7)
ซ่งึ เขา้ ใจว่าตนเองเป็นพวกกลุ่มทห่ี ลงเหลอื อยู่(จากการถูกเนรเทศ) เป็นคนของพระเป็นเจ้าท่แี ทจ้ รงิ ท่ตี ่อต้าน
ลาดบั ชนชนั้ ในเยรูซาเล็ม สาระท่อี ยู่ในภาวะเส่ยี งในวลนี ้ี ทงั้ สาหรบั ชาวคุมรานและนักบุญมทั ธวิ ไม่ใช่เร่อื ง
เศรษฐกจิ หรอื จติ ตารมณ์ (Spirituality) แต่เป็นอตั ลกั ษณ์ของประชากรของพระเป็นเจา้ ซง่ึ เป็นหวั ขอ้ ของพระวร
สารนกั บญุ มทั ธวิ (1:21)

“เพราะอาณาจกั รสวรรคจ์ ะเป็นของเขา” เมอ่ื มาถงึ คาปราศรยั น้ี พระเยซูเจา้ ไดร้ บั การนาเสนอในฐานะของ
กษตั รยิ ใ์ นปัจจุบนั และของพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ในอนาคตดว้ ย โดยทรงเป็นบคุ คลทส่ี มบรู ณ์ทส่ี ดุ ทท่ี าให้
พระบญั ญตั ขิ องพระเป็นเจา้ ปรากฏออกมาอยา่ งชดั เจนแจม่ แจง้ พระอาณาจกั รถูกนาเสนอในฐานะขอ้ สรุปและจุด
มุ่งเน้นของคาสอนของพระเยซูเจา้ แต่ไม่มเี น้ือหาสว่ นใดทอ่ี ธบิ ายแนวคดิ เร่อื งน้ี ในบทเทศน์สอนบนภูเขา พระ
เยซูเจา้ ทรงนาเสนอธรรมชาตขิ องชวี ติ ในพระอาณาจกั รทพ่ี ระองคท์ รงประกาศและทรงเป็นตวั แทน โดยได้พลกิ
กลบั แนวคดิ เรอ่ื งความเป็นกษตั รยิ ์ และมนุษยท์ ุกคนทเ่ี ป็นของพระอาณาจกั รแห่งน้ีจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั การพลกิ
กลบั ความหมายแห่งอวสานตกาลน้ี เม่อื กษตั รยิ ท์ รงอ่อนโยน(ถ่อมตน)และยากจนทางจติ วญิ ญาณ (เทยี บ 5:5)
ดงั นัน้ ผู้ท่ีอยู่ในพระอาณาจกั รของพระองค์ต้องเป็นเช่นเดยี วกนั ด้วย (จงึ เป็นท่ปี รากฏว่า) ไม่ว่าในท่ีน้ีและท่อี ่ืนๆ
ครสิ ตศาสตรแ์ ละความเป็นศษิ ยเ์ ป็นสาระทผ่ี กู พนั เชอ่ื มโยงกนั สาหรบั พระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ

อกี มมุ มองหนงึ่ คาวา่ “ผมู้ ใี จยากจน” (the Poor in Spirit) คาๆ น้ใี นมว้ นหนงั สอื ทคี่ ุมรานใหภ้ าพเป็นคาทใี่ ช้
บ่งบอกถงึ ตนเองของผเู้ ลอื่ มใสศรทั ธาเหล่านนั้ (the Pious) พวกเขายงั เรยี กตวั เองดว้ ยว่า “ผยู้ ากจนแห่งพระพร”
“ผยู้ ากจนแห่งการไถ่กูข้ องพระองค”์ หรอื เรยี กเพยี งสนั้ ๆ ว่า “ผยู้ ากจน” (Gnilka, Matthausevangelium, I, p. 121) โดยการ
เรยี กตวั เองเช่นน้ี พวกเขากแ็ สดงถงึ ความสานึกของตนในการเป็นชาวอสิ ราเอลแท้ ทปี่ ระกาศถงึ ธรรมประเพณี
ทงั้ หลายอนั ฝังรากลกึ อยใู่ นความเชอื่ ของชนอสิ ราเอล ในสมยั ทบี่ าบโิ ลนเขา้ มาครอบครองยเู ดยี ชาวยเู ดีย เกา้ สบิ
ในรอ้ ยคนนับไดว้ ่าเป็นผู้ยากจน นโยบายเกบ็ ภาษีของพวกเปอรเ์ ซยี เกดิ ผลในอกี สถานการณ์หนึง่ ทกี่ ่อให้เกดิ
ความยากแคน้ แสนสาหสั ขน้ึ หลงั จากการเนรเทศนนั้ เป็นไปไมไ่ ดอ้ กี ตอ่ ไปทจี่ ะยงั คงมองเหน็ ภาพแบบแต่กอ่ นนนั้
ได้ ทผี่ ชู้ อบธรรมนนั้ รุ่งเรอื งอยู่ และความยากจนอนั เป็นผลเกดิ จากการเจรญิ ชวี ติ เลวทรามของตน ทเี่ รยี กกนั ว่า
สอดคล้องกบั วธิ ดี าเนินชวี ติ เวลาน้ีชนอิสราเอลรบั รู้ว่าความยากจนของตนนัน้ เป็นสงิ่ ทีน่ าพวกเขาให้เขา้ มา
ใกล้ชดิ กบั พระเป็นเจา้ โดยแท้ ชนอสิ ราเอลรบั รูว้ ่าผูย้ ากจน ในความตา่ ต้อยของตน เป็นผูท้ อี่ ยู่ใกล้ชดิ ทสี่ ุดกบั

128

พระทยั ของพระเป็นเจา้ ในขณะทสี่ งิ่ ตรงกนั ขา้ มกเ็ ป็นความจรงิ ดว้ ยเชน่ กนั สาหรบั ความหยงิ่ ยโสของคนรา่ รวยที่
ไวว้ างใจพงึ่ พาตนเอง

ความเลอื่ มใสศรทั ธาของผยู้ ากจนซงึ่ เตบิ โตมาจากความสานึกทวี่ า่ น้ี แสดงออกอยใู่ นบทเพลงสดุดตี ่างๆ ผู้
ยากจนรบั รวู้ ่าตนเป็นชาวอสิ ราเอลแท.้ .. และความภกั ดลี กึ ซ้งึ ต่อความดงี ามของพระเป็นเจา้ ในความดแี ละความ
ตา่ ต้อยแบบมนุษยท์ เี่ ตบิ โตจากความเลอื่ มใสศรทั ธานัน้ ในฐานะผเู้ ฝ้ารอคอยความรกั ทชี่ ่วยใหร้ อดของพระเป็น
เจา้ สงิ่ น้ีจงึ พฒั นามาเป็นการมใี จกวา้ งเปิดรบั พระครสิ ตเจา้ พระนางมารยี ก์ บั นักบุญโยเซฟ ท่านสเิ มโอนกบั นาง
อนั นา ท่านเศคารยิ าห์กบั นางเอลซิ าเบธ็ พวกคนเล้ยี งแกะแห่งเบธเลเฮม็ และอคั รสาวก 12 องค์ ทพี่ ระเยซูเจา้
ทรงเรยี กมาเป็นศษิ ยใ์ กลช้ ดิ พระองคท์ ุกคนเป็นส่วนหนึง่ ของกระแสทวี่ ่าน้ี ซงึ่ ตรงกนั ขา้ มกบั พวกฟารสิ แี ละพวก
สะดูสี แต่ไม่เหมอื นกบั พวกทคี่ ุมรานดว้ ย แมจ้ ะมสี ่วนคลา้ ยคลงึ กนั ทางดา้ นชวี ติ จติ อยบู่ า้ งกต็ าม พระคมั ภรี พ์ นั ธ
สญั ญาใหม่เรมิ่ ตน้ ขน้ึ มาในหม่คู นพวกน้ี ดว้ ยการตระหนกั เตม็ ทถี่ งึ ความเป็นหนึง่ เดยี วของพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญา
ใหมก่ บั ความเชอื่ ของอสิ ราเอลทเี่ ตบิ โตจนบรสิ ุทธย์ิ งิ่ ขน้ึ นนั้ ดว้ ย...เป็นความดงี าม..ทพี่ รอ้ มเสมอทจี่ ะรบั ใชท้ ุกคน

(อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ หน้า 153-155)

5:4 การเป็นทุกขโ์ ศกเศรา้ เป็นภาวะท่บี ุคคลจะไดร้ บั พระพรแห่งอนั ตกาล นักบุญมทั ธวิ ใชป้ ระโยชน์จาก
ธรรมประเพณีของพระคมั ภรี ใ์ นระดบั ลกึ ว่าลกั ษณะอย่างหน่ึงของประชากรพระผูเ้ ป็นเจ้าคอื การโศกเศรา้ กบั
สภาพของประชาชนของพระองคใ์ นปัจจุบนั และสภาพชวี ติ ทป่ี ระทานแก่โลกปัจจุบนั (ดู หนังสอื เพลงคร่าครวญ และบท
เพลงสดดุ กี ารคร่าครวญ เป็นตน้ ) ในอสิ ยาห์ 61:1-11 เป็นรากฐานใหก้ บั บทความสขุ แท้ ชุมชนแหง่ นนั้ เศรา้ โศกเสยี ใจกบั
เมอื งศกั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ่ถี ูกทอดท้งิ น่ีเป็นชุมชนทไ่ี ม่ยอมย่อทอ้ ใหก้ บั สภาพปัจจุบนั ของโลกว่าถงึ จุดสน้ิ สุด แต่พวกเขา
เสยี ใจกบั ความจรงิ ท่วี ่าพระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้ายงั คงมาไม่ถงึ และพระประสงค์ของพระองค์ยงั ไม่เสรจ็
สมบูรณ์ (6:10) รปู แบบทางไวยากรณ์ของคากรยิ า “จะไดร้ บั การปลอบโยน” (shall be comforted) เป็นประโยค
แบบกรรมวาจกอนาคตกาล (Future Passive) บางครงั้ ชาวยวิ ใชป้ ระโยคแบบกรรมวาจกเพ่อื หลกี เลย่ี งการเอ่ย
นามของพระผเู้ ป็นเจา้ (Divine Passive) ดงั นนั้ เน้อื หาสว่ นน้ีจงึ บง่ ชถ้ี งึ อนาคตเกย่ี วกบั อวสานตกาล (เชน่ เดยี วกบั ใน
ว. 6, 7, 9) “พระเป็นเจา้ จะทรงเตมิ เตม็ ความปรารถนาอนั ยาวนานของเขาดว้ ยการใหเ้ ขาเหน็ และมสี ว่ นรว่ มกบั การ
เฉลมิ ฉลองแห่งอวสานตกาล” สาหรบั ความขดั แย้งระหว่าง “ความทุกข์โศกเศร้าคร่าครวญ” ในท่ีน้ีและการ
ปฏเิ สธความโศกเศรา้ ในฐานะลกั ษณะของศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ ใน 9:15 ใหอ้ ่านขอ้ คดิ เพอ่ื การใคร่ครวญเกย่ี วกบั
5:16

เรอื่ งความสุขแท้จรงิ ประการที่ 2 ทวี่ ่า “ผู้รอ้ งไห้ครา่ ครวญหรอื เป็นทุกขโ์ ศกเศรา้ ก็เป็นสุข เพราะเขาจะ
ไดร้ บั ความบรรเทาหรอื ปลอบโยน” เป็นสงิ่ ดหี รอื ทจี่ ะรอ้ งไหค้ รา่ ครวญ แลว้ บอกว่าการรอ้ งไหน้ ัน้ เป็นความสุข มี
การรอ้ งไห้ครา่ ครวญอยู่ 2 ชนิด ชนิดแรกเป็นการร้องไห้เพราะหมดหวงั กลายเป็นการหมดความไวว้ างใจใน
ความรกั และความจรงิ แลว้ จงึ เกาะกนิ ใจมนุษยแ์ ละทาลายมนุษยจ์ ากภายใน แต่กย็ งั มกี ารรอ้ งไหอ้ ย่อู กี ชนิดหนึง่
ทเี่ กดิ จากการกระตุ้นเราใหเ้ ผชญิ หน้ากบั ความจรงิ ซงึ่ นามนุษยใ์ หต้ ้องกลบั ใจและต่อต้านความชวั่ การรอ้ งไ ห้
ครา่ ครวญชนิดหลงั น้ีช่วยรกั ษา เพราะมนั สอนมนุษยใ์ หม้ คี วามหวงั และความรกั ข้นึ ใหม่ ยูดาสเป็นตวั อย่างการ
รอ้ งไหค้ รา่ ครวญชนิดแรก กล่าวคอื เมอื่ ยดู าสรสู้ กึ หวาดหวนั่ ต่อการทาผดิ พลาดของตน เขากไ็ มก่ ลา้ มคี วามหวงั
อกี ตอ่ ไป เขาจงึ ไปแขวนคอตายดว้ ยความส้นิ หวงั สว่ นนกั บุญเปโตรเป็นตวั อยา่ งของการรอ้ งไหช้ นิดทสี่ อง ทา่ นรู้
สกี เป็นทุกข์สะเทอื นใจกบั การมองของพระเยซูเจ้า ท่านถงึ กบั ร้องไห้หลงั่ น้าตาและน้าตาแห่งความเป็นทุกข์
เสยี ใจโศกเศรา้ น้ี ทาใหท้ า่ นไดร้ บั การฟ้ืนฟูใหม่และเรมิ่ ตน้ ใหม่

129

อสค. 9: 4 นาเสนอประจกั ษ์พยานเด่นชดั แก่เราถงึ วธิ ที กี่ ารรอ้ งไหแ้ บบดา้ นบวกน้ีสามารถต่อสกู้ บั การเขา้
มาครอบครองของความชวั่ บุรุษ 6 คนไดร้ บั มอบหมายจากพระเป็นเจา้ ใหท้ าการลงโทษกรุงเยรซู าเลม็ คอื ลงโทษ
แผ่นดนิ ทเี่ ตม็ ไปดว้ ยโลหติ และความอยุตธิ รรมซงึ่ มอี ย่ทู วั่ ไปมากมายอย่ทู ุกแห่งเตม็ นคร (เทยี บ อสค.9:9) อย่างไรก็
ตาม ก่อนทพี่ วกเขาจะลงมอื บุรุษผหู้ นึง่ สวมชุดผา้ ลนิ ินตอ้ งทาเครอื่ งหมายอกั ษรฮบี รู tau (เหมอื นลกั ษณะเครอื่ งหมาย
กางเขน) ทหี่ น้าผากของประชาชน “ทถี่ อนหายใจและครา่ ครวญเพราะความลามกทกี่ ระทากนั ในเมอื ง” (อสค. 9:4) ผทู้ ี่
มเี ครอื่ งหมายน้ีไดร้ บั การยกเวน้ ไม่ตอ้ งถูกลงโทษ พวกเขาเป็นประชากรทไี่ ม่ทาตามสญั ญานัน้ ผปู้ ฏเิ สธไม่ยอม
รว่ มมอื กบั ความอยตุ ธิ รรมต่างๆ ทมี่ อี ยนู่ ้ีเกดิ ขน้ึ ในแผน่ ดนิ อยา่ งรวดเรว็ กลายเป็นเหมอื นโรครา้ ยระบาดไปทวั่ จะ
เป็นผู้ทีย่ อมทนทุกข์ความอยุติธรรมเหล่านัน้ แทน ถึงแม้ว่ามิใช่อยู่ในอานาจของพวกเขาทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง
สถานการณ์ทงั้ หมดนัน้ ไดก้ ต็ าม พวกเขากย็ งั ต้องเผชญิ กบั การครอบงาของความชวั่ โดยทางการต่อต้านแบบ
ยอมรบั ทนความทุกข์ยากลาบากต่างๆ ของพวกเขา คอื โดยทางการรอ้ งไห้ครา่ ครวญทใี่ ชบ้ งั คบั ควบคุมพลงั
อานาจของความชวั ่

ธรรมประเพณียงั ไดใ้ หอ้ กี ภาพหนึง่ ของการรอ้ งไหค้ รา่ ครวญทนี่ าความรอดพน้ มาให้ นนั่ คอื พระนางมารยี ์
ผทู้ รงยนื อย่ขู า้ งไมก้ างเขนของพระเยซเู จา้ กบั น้องสาวของพระนาง มารยี ภ์ รรยาของเคลโอปัส มารยี ช์ าวมกั ดาลา
และยอหน์ (ยน. 19: 25 ต่อเนือ่ ง) อกี ครงั้ หนึง่ ดงั ในภาพนิมติ ของประกาศกเอเสเคยี ลนนั้ ณ ทนี่ ้ี เราพบคนกลุ่มเลก็ ทมี่ ี
เพยี งไม่กคี่ น ทยี่ งั คงเป็นผซู้ อื่ สตั ยอ์ ยใู่ นโลกทเี่ ตม็ ไปดว้ ยความโหดรา้ ยทารุณ และการดถู ูกดหู มนิ่ หรอื แมก้ ระทงั่
การคลอ้ ยตามกนั อย่างน่าหวาดหวนั่ พวกเขาไมอ่ าจเปลยี่ นแปลงความหายนะนนั้ ได้ เวน้ เสยี แต่ว่า โดย “การทน
ทุกขร์ ่วมกบั ” ผทู้ ถี่ ูกประณาม (โดยการมี “ความเหน็ อกเหน็ ใจ” [Compassion]) พวกเขาวางตวั เองอย่ขู า้ งฝ่ ายผถู้ ูกประณาม
และโดย “การมคี วามรกั ให”้ คนทถี่ ูกประณาม พวกเขากอ็ ย่ขู า้ งฝ่ายความรกั ของพระเป็นเจา้ ผทู้ รงเป็นความรกั
“ความเหน็ อกเหน็ ใจ” น้ีเตอื นเราใหร้ ะลกึ ถงึ คากล่าวทมี่ ชี อื่ เสยี งยงิ่ ของนกั บุญแบรน์ ารด์ แหง่ แครโ์ วซ์ (St. Bernard of
Clairvaux) ในอรรถาธบิ ายหนังสอื พระคมั ภรี ์ เพลงซาโลมอน (The Song of Songs 26: 5) ทวี่ ่า “พระเป็นเจา้ ไม่สามารถ
เป็นทุกขไ์ ด้ แต่พระองคส์ ามารถ ‘ร่วมเป็นทุกขด์ ว้ ย’ ได”้ (Impassibilis est Deus, Sed non incompassibilis) แทบเชงิ กางเขน
ของพระเยซูเจา้ นนั้ เอง ทเี่ ราเขา้ ใจดกี วา่ ทอี่ นื่ ใดถงึ ความหมายของถอ้ ยคานนั้ ทวี่ ่า “ผทู้ รี่ อ้ งไหค้ รา่ ครวญกเ็ ป็นสุข
เพราะเขาจะได้รบั ความบรรเทา” ผู้ทไี่ ม่ทาใจแขง็ ต่อความเจบ็ ปวดและความต้องการของผู้อื่นผู้ทไี่ ม่ปล่อยให้
ความชวั่ เขา้ ครอบงาวญิ ญาณของตน แต่ยอมทนทุกขภ์ ายใต้อานาจของมนั และรบั รคู้ วามจรงิ ของพระเป็นเจ้า
เขาก็เป็นผูเ้ ปิดหน้าต่างของโลกให้แสงสว่างส่องเขา้ มาขา้ งใน ผู้ทรี่ อ้ งไหค้ รา่ ครวญตามความหมายน้ีเอง ทไี่ ด้
รบั คาสญั ญาว่าเขาจะไดร้ บั ความบรรเทา ความสุขแท้จรงิ ประการทสี่ องน้ีจงึ เกยี่ วพนั ใกลช้ ดิ กบั ความสุขแทจ้ รงิ
ประการทแี่ ปดนนั้ ทวี่ ่า “ผทู้ ถี่ กู เบยี ดเบยี นขม่ เหงเพราะความชอบธรรม ย่อมเป็นสุข เพราะอาณาจกั รสวรรคเ์ ป็น
ของเขา” (มธ. 5: 10)

การร้องไห้ครา่ ครวญทีพ่ ระเยซูเจ้าตรสั ถึงน้ี คือการไม่ยอมคล้อยตามความชัว่ เป็นวิธีของรูปแบบ
พฤตกิ รรมต่อตา้ นอย่างหนึง่ ทปี่ ัจเจกบุคคลถูกบบี บงั คบั ใหต้ ้องยอมรบั เพราะว่า “ทุกคนกท็ าเช่นน้ี” โลกไม่อาจ
ทนรบั การต่อตา้ นแบบน้ีได้ โลกเรยี กรอ้ งการคลอ้ ยตามกนั โลกถอื วา่ การร้องไหค้ รา่ ครวญเป็นการกล่าวโทษทมี่ ุ่ง
เพอื่ จะปิดปากมโนธรรมใหเ้ งยี บ แล้วมนั กเ็ ป็นเช่นว่านัน้ ดว้ ย นัน่ จงึ เป็นเหตุผลว่าทาไมผทู้ รี่ อ้ งไหค้ รา่ ครวญจงึ
ต้องทนทุกข์กบั การเบยี ดเบยี นข่มเหงเพราะเหน็ แก่ความชอบธรรม ผู้ทรี่ อ้ งไห้ครา่ ครวญได้รบั คาสญั ญาว่าจะ
ได้รบั ความบรรเทา ผู้ทถี่ ูกเบียดเบยี นข่มเหงได้รบั คาสญั ญาเช่นเดยี วกนั กบั ทกี่ ระทากบั ผู้มใี จยากจนนัน้ คา
สญั ญาทงั้ สองเกยี่ วพนั กนั อยา่ งใกลช้ ดิ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ คอื การอย่ภู ายใตก้ ารปกป้องคุม้ ครองของ

130

พระเป็นเจา้ มนั ่ คงปลอดภยั อย่ใู นความรกั ของพระองค์ นีแ่ หละคอื ความบรรเทาทแี่ ท้จรงิ (อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์

หน้า 171-175)

5:5 เม่อื นา สดด. 37:9, 11 มาปรบั โครงสรา้ งใหม่เป็นความสุขแท้และได้นาเสนอในฐานะคาพูดของพระ
เยซูเจา้ เน่ืองจากคาว่า “ถ่อมตน” “อ่อนโยน” (ภาษากรกี คอื prau?v praus) เป็นคาสาคญั ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ
ซง่ึ แสดงลกั ษณะการพลกิ กลบั ความคดิ ทางโลกเร่อื งความเป็นกษตั รยิ ์ (11:29; 12:18-21; 21:5) นกั บุญมทั ธวิ อาจเป็น
ผอู้ อกแบบโครงสรา้ งของคากลา่ วน้เี อง คาวา่ “ความอ่อนโยน” (Meekness) ในทน่ี ้มี คี วามหมายเดยี วกนั กบั คาว่า
“ใจยากจน” (ว. 3) ซง่ึ ไม่ใชท่ ศั นคตทิ เ่ี ราถกู เรง่ เรา้ ใหต้ อ้ งรบั ไว้ แต่เป็นการกล่าวถงึ ลกั ษณะของผคู้ นทร่ี ตู้ วั วา่ ตนเอง
เป็นประชาชนของพระเป็นเจา้ ทก่ี าลงั ถูกขม่ เหง ซง่ึ เป็นผคู้ นทป่ี ฏเิ สธวธิ กี ารทใ่ี ชค้ วามรุนแรงโดยอานาจของโลก
น้ี ขอ้ ความทก่ี ล่าวว่า “ไดร้ บั แผ่นดนิ เป็นมรดก” โดยดงั้ เดมิ แลว้ ส่อื ถงึ ดนิ แดนแห่งพนั ธะสญั ญาปาเลสไตน์ แต่ใน
ทน่ี ้ีไดก้ ลายมาเป็นคาเปรยี บเทยี บเชงิ อนั ตกาล คอื การมสี ่วนร่วมในโลกทไ่ี ดฟ้ ้ืนฟูใหม่ (19:28) เน้ือหาสว่ นน้ีไม่ใช่
กลยุทธ์เพ่ือความสาเร็จทางโลก นักบุญมทั ธิวได้เปล่ียนแก้ไขคาสญั ญาในพระวรสารนักบุญมาระโกถึงการ
ประทานรางวลั แก่ศษิ ยด์ ว้ ยทรพั ยส์ มบตั ขิ องโลกน้ี (เทยี บ มทั ธวิ 19:29 กบั มาระโก 10:30)

5:6 คาอ้างอิงทัง้ หมดท่ีกล่าวถึง “ความชอบธรรม” หรือ “ความยุติธรรม” ( ภาษากรีก Dikaiosu"nh
Dikaiosyne) ในบทเทศน์บนภูเขาเป็นสาระทน่ี ักบุญมทั ธวิ เตมิ เขา้ มา ดงั นนั้ พระพรสาหรบั ผทู้ ห่ี วิ โหยในเอกสาร
แหล่ง Q เม่อื มาอยู่ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ จงึ กลายเป็นพระพรสาหรบั ผู้ท่หี วิ โหยและกระหาย “ความชอบ
ธรรม” (ดู 5:3) ความชอบธรรมเป็นแนวคดิ หลกั ของนกั บุญมทั ธวิ โดยคงรกั ษาความหมายดงั้ เดมิ ทก่ี ระทาตามน้า
พระทยั ของพระเป็นเจา้ อยา่ งกระตอื รอื รน้ (เชน่ ใน 6:1-18) และพระเป็นเจา้ ทรงกระทาใหม้ นุษยม์ คี วามชอบธรรม
เช่นเดยี วกบั ขอ้ ความเปรยี บเทยี บในพนั ธสญั ญาเดมิ (hqdx zudAqâ)เป็นกจิ การอนั ตกาลทรงปัญญาของพระเป็น
เจา้ (6:33; เทยี บ อสิ ยาห์ 51:1, 5) ดงั น้ี ผทู้ ห่ี วิ โหยและกระหายความชอบธรรมจงึ ไม่ใชผ่ ทู้ ป่ี ฏบิ ตั ติ นเคร่งศาสนาสว่ นตวั
เป็นผทู้ ใ่ี ฝ่ฝันเชงิ อุดมคตหิ รอื ผูท้ าความดี พวกเขาเป็น เหมอื นกบั บุคคลใน 5:4 คอื เป็นผทู้ เ่ี ฝ้ารอคอยการมาถงึ
ของพระอาณาจกั รพระเป็นเจ้าและยนื หยดั ถึงสทิ ธิแห่งความหวงั ท่ีจะมาถึงบนพ้ืนฐานในการกระทาตามน้า
พระทยั ของพระเป็นเจ้าในชวี ติ ปัจจุบนั ความหวงั รอคอยจะไม่สูญเปล่า แต่พวกเขา “จะอิ่มเอม” (“Shall Be
Satisfied; RSV) หรอื พระเป็นเจา้ ทรงพอพระทยั พระเป็นเจา้ จะทาใหพ้ วกเขาอมิ่ เอมหรอื พงึ พอใจ (ซง่ึ เป็นประโยค

กรรมวาจกทห่ี ลกี เลย่ี งการเอ่ยนามพระเป็นเจา้ )

ความชอบธรรมในภาษาของพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาเดมิ เป็นคาทใี่ ชบ้ ง่ บอกถงึ ความซอื่ สตั ยต์ ่อธรรมบญั ญตั ิ
(Torah) คอื ซอื่ สตั ยต์ ่อพระวาจาของพระเป็นเจา้ ดงั ทบี่ รรดาประกาศกคอยเตอื นผฟู้ ังของท่านใหร้ ะลกึ ถงึ อย่เู สมอ
เป็นการดาเนินตามหนทางถูกตอ้ งทพี่ ระเป็นเจา้ ทรงช้ใี หเ้ หน็ โดยมบี ทบญั ญตั สิ บิ ประการเป็นศูนยก์ ลาง คาคาน้ี
ในพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาใหม่ทตี่ รงกบั แนวคดิ ของพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาเดมิ ในเรอื่ งความชอบธรรมกค็ อื คาว่า
ความเชอื่ (Faith) บุคคลทมี่ คี วามเชอื่ คอื “ผู้ชอบธรรม” ทเี่ ดนิ ในทางของพระเป็นเจ้า” (เทียบ สดด. 1; ยรม. 17: 5-8)
เพราะว่าความเชอื่ คอื การเดนิ ไปพร้อมกบั พระครสิ ตเจ้าซึง่ ธรรมบญั ญัติทงั้ หมดสาเรจ็ สมบูรณ์ไปในพระองค์
ความเชอื่ รวมเราเขา้ เป็นหนงึ่ เดยี วกบั ความชอบธรรมของพระครสิ ตเจา้ เอง...

ความสุขแทจ้ รงิ ประการน้ีเกยี่ วขอ้ งกบั ผเู้ ฝ้าระวงั ทแี่ สวงหาสงิ่ ยงิ่ ใหญ่ แสวงหาความยุตธิ รรมแท้ แสวงหา
ความดแี ท้ ขอ้ ความตอนหนึง่ ของหนงั สอื ประกาศกเดเนียลมคี ากล่าวถงึ ธรรมประเพณที ถี่ อื วา่ เป็นการสงั เคราะห์
ทศั นคตทิ จี่ ะต้องนามาพจิ ารณา ณ ทนี่ ้ี ในพระคมั ภรี ต์ อนนัน้ ดาเนียลถูกกล่าวถงึ ในฐานะเป็นผูเ้ ฝ้าหวงั รอคอย
(ดนล. 9: 23 ในฉบบั ละตนิ วูลกาตา) ความสุขแท้จรงิ ประการน้ีกล่าวถงึ ผูค้ นทไี่ ม่พอใจกบั สงิ่ ต่างๆ ตามทเี่ ป็นอยู่ และไม่

131

ยอมใหห้ วั ใจของตนอย่นู ิง่ เฉย เพราะหวั ใจมนุษยม์ ุ่งเดนิ ทางภายในไปใหบ้ รรลุถงึ สงิ่ นนั้ กล่าวคอื เป็นเหมอื นกบั
นกั ปราชญจ์ ากทศิ ตะวนั ออกทแี่ สวงหาพระเยซูเจา้ เป็นเหมอื นดาวดวงนนั้ ทบี่ ่งบอกหนทางไปสคู่ วามจรงิ สคู่ วาม
รกั สพู่ ระเป็นเจา้ ผคู้ นทหี่ มายถงึ ณ ทนี่ ้ีเป็นผคู้ นทคี่ วามรสู้ กึ ภายในของพวกเขาช่วยใหพ้ วกเขามองเหน็ และได้
ยนิ เครอื่ งหมายเรน้ ลบั ตา่ งๆ ทพี่ ระเป็นเจา้ ทรงพระกรุณาสง่ เขา้ มาในโลกน้ี เพอื่ หยุดยงั้ การใชอ้ านาจบงการธรรม
เนยี มปฏบิ ตั ขิ องผคู้ น (อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ หน้า 179-180)

5:7 นักบุญมทั ธวิ ใช้คาว่า “เมตตา” (ภาษากรกี ejleh"mwn eleemon) ส่อื ถึงการกระทากิจเมตตาอย่างเป็น
รปู ธรรม ไม่ใช่แค่เจตคติ มเี มตตา ตามแบบการกระทาของนกั บุญโยเซฟในตอนเรมิ่ เร่อื งเล่าของพระวรสาร นัก
บญุ มทั ธวิ ไมไ่ ดเ้ หน็ ว่า “ความยตุ ธิ รรม” และ “ความเมตตา” เป็นกจิ การทเ่ี ราเลอื กทาหรอื ไมท่ ากไ็ ด้ (1:19; ดู 20:1-16
ประกอบ โดยเฉพาะ ว. 4) บทบาทหลกั ของความเมตตาในเทวศาสตรข์ องนักบุญมทั ธวิ เป็นภาพแสดงออกมาโดยการ
เตมิ ขอ้ ความว่า “เราปรารถนาความเมตตา ไม่ใช่การทาพลบี ูชา” ถงึ สองครงั้ (ฮซย. 6:6 NIV) ในแหล่งขอ้ มูลท่ี 9:13
และ 12:7 (เทียบ ข้อความเพิ่ม 23:23 และอุปมา 18:21-35 โดยเฉพาะ ว. 33) ไม่มีความสุขแท้ข้อใดเป็ น
คาแนะนาสาหรบั การดาเนินชวี ติ ในโลกน้ี ท่ซี ่ึงความเมตตามกั เป็นสญั ญาณของความอ่อนแอมากกว่าจะเป็น
กจิ การทไ่ี ดร้ บั รางวลั ตอบแทน น่ีคอื อกี หน่ึงประโยคแบบกรรมวาจก(การกระทาของพระเป็นเจา้ ) ชแ้ี สดงวา่ ผมู้ ใี จเมตตา
จะไดร้ บั พระเมตตาในการพพิ ากษาครงั้ สดุ ทา้ ย

5:8 สดด. 24:3-4 ไดเ้ ป็นรปู แบบของความสุขแทแ้ ละไดร้ บั การนาเสนอในรปู แบบคากล่าวของพระเยซู
เจ้า (เทียบ 5:5) คาว่า “ใจบริสุทธิ”์ (Purity of Heart) ไม่ใช่เป็ นการหลีกเล่ียง “ความคิดไม่บริสุทธิ”์ (Impure
Thoughts) เช่น จนิ ตนาการเรอ่ื งทางเพศ แต่หมายถงึ การอุทศิ ตนใหก้ บั พระเป็นเจา้ อย่างเดด็ เดย่ี ว ซง่ึ เหมาะสม
กบั ความเชอ่ื ศรทั ธาแบบเอกเทวนิยม การมี “ใจทไ่ี ม่แบ่งแยก” (Undivided Heart: สดด. 86:11) เป็นอานิสงสท์ แ่ี ผอ่ อกมา
ของเอกเทวนิยม (Monotheism) และตอ้ งมบี างสงิ่ ทย่ี งิ่ ใหญ่พอและดพี อทบ่ี ุคคลสมควรอุทศิ ตนทงั้ หมดให้ ไม่ใช่
แบบพหุเทวนิยมแบบบทบาทหน้าท่ี (Functional Polytheism) ทแ่ี บ่งบุคคลไปตามบทบาทความศรทั ธาภกั ดีต่อ
เทวะหลากหลาย การมจี ติ ศรทั ธาใหก้ บั พระเป็นเจา้ เพยี งองคเ์ ดยี วทาใหบ้ ุคคลผหู้ น่ึงต้องอุทศิ ตนใหพ้ ระเป็นเจา้
ดว้ ยสน้ิ สุดหวั ใจทงั้ หมดของตน (ฉธบ. 6:4-5; เทยี บ มธ. 22:37) ประเดน็ น้ีสอดคลอ้ งกบั “ดวงตา” (Single Eye) ใน 6:22
และไข่มุกเมด็ เดยี วใน 13:45-46 ไปจนถึง “สง่ิ เดยี วท่ขี า้ พเจ้าทา” ของนักบุญเปาโล (ฟป. 3:13 NRSV) และ “สงิ่ ท่ี
จาเป็นนัน้ มเี พยี งสง่ิ เดยี ว” ของนักบุญลูกา (ลก. 10:42 NIV) ไม่ใช่ว่ามอี กี สง่ิ หน่ึง สงิ่ ทต่ี รงขา้ มกบั การมใี จบรสิ ุทธิ ์
คอื การมใี จแบ่งแยก (ยก. 4:8) การพยายามจะรบั ใชเ้ จ้านายสองคน (6:24) คาว่า “ความลงั เลสงสยั ” (the Doubt) ใน
14:33 และ 28:17 (ภาษากรกี dista"zw distazo หรอื “การมสี องใจ”) และความประพฤตขิ องชาวฟารสิ ี (23:25) “การเหน็ พระ
เป็นเจา้ ” ไม่ไดห้ มายถงึ การไดร้ บั นมิ ติ พเิ ศษในโลกน้ี แต่หมายถงึ ความหวงั ไวใ้ จแบบอนั ตกาล (1 คร. 13:12; วว. 22:4)

5:9 ความสุขแทน้ ้ี เป็นสาระทเ่ี พมิ่ เตมิ เขา้ มาในธรรมประเพณขี องเอกสารแหล่ง Q ทก่ี าลงั ถกู พฒั นาขน้ึ
โดยเฉพาะ ในรปู แบบของเอกสารแหล่ง Q ทน่ี กั บญุ มทั ธวิ ไดร้ บั ชุมชนแหล่ง Q สมยั ก่อน ค.ศ. 70 ยงั คงประกาศ
คาสอนของพระเยซูเจา้ เร่อื งการไม่ใช้กาลงั รุนแรงอย่างต่อเน่ือง ความเป็นศษิ ย์ของพวกเขาอาจสะท้อนอยู่ใน
ธรรมประเพณีจนทาใหช้ าวครสิ ตท์ เ่ี คยเป็นชาวยวิ ในปาเลสไตน์ปฏเิ สธทจ่ี ะต่อสใู้ นสงครามต่อตา้ นโรมชว่ งปี 66-
70 บรรดาจกั รพรรดชิ าวโรมนั ผเู้ รยี กตนเองว่า “ผสู้ รา้ งสนั ต”ิ และ “บุตรของพระเป็นเจา้ ” น้ี คาวา่ “ผสู้ รา้ งสนั ต”ิ
ไม่-ได้ส่ือถึงเจตคติแบบนิ่งเฉยไม่ด้ินรน แต่เป็นการกระทาทางบวกเพ่ือให้เกิดการกลบั คืนดีปรองดองกัน
เน่ืองจากความขดั แยง้ ต่อสูท้ างกาลงั ทหารไม่ไดเ้ ป็นเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในสมยั ของนักบุญมทั ธวิ โดยตรง คาว่า

132

สรา้ งสนั ตจิ งึ อาจถูกนามาใชส้ อ่ื ถงึ การประนีประนอมเร่อื งความขดั แยง้ ทางศาสนาและวฒั นธรรมระหว่างคนกลุ่ม
ต่างๆ น่ีเป็นอีกครงั้ หน่ึงท่ีใช้รูปประโยคกรรมวาจกแบบการกระทาของพระเป็นเจ้าช้ถี ึงพระเป็นเจ้าประกาศ
ยนื ยนั วา่ ผสู้ รา้ งสนั ตคิ อื “บุตรของพระเป็นเจา้ ” ในการพพิ ากษาครงั้ สุดทา้ ย ไม่ใช่กล่าวถงึ คนทวั่ ไปทท่ี างานเพ่อื
สนั ตภิ าพในโลกน้ี จะไดร้ บั การประกาศว่าเป็น “บุตรของพระเป็นเจา้ ” ไม่ใชเ่ ร่อื งอตั ลกั ษณ์สว่ นบุคคลแต่เป็นการ
ทาใหพ้ ระสญั ญาแห่งอนั ตกาลสาเรจ็ สมบรู ณ์ ใน ฮชย. 1:10 กล่าวคอื เป็นทย่ี อมรบั วา่ เป็นประชากรทแ่ี ทจ้ รงิ ของ
พระเป็นเจา้ และไดเ้ ขา้ รบั มรดกนิรนั ดร์ และส่อื โดยนยั ถงึ การไดร้ บั การตอ้ นรบั ในหมู่ “บุตรทงั้ หลายของพระเป็น
เจา้ ” หรอื ทตู สวรรคน์ นั่ เอง

5:10 ว. 10 สอดคล้องกบั 5:3 ซ่ึงทาให้เกิดเป็นวงเลบ็ เชงิ วรรณกรรม (Literary Bracket) กลุ่มผู้ท่จี ะ
ได้รบั การอวยพรแห่งอนั ตกาล ไม่ใช่คนท่ถี ูกเบียดเบียนข่มเหงทวั่ ไป แต่เป็นผู้ท่ีถูกกล่าวหาอย่างอยุตธิ รรม
เพราะพวกเขามัน่ คงในความเป็ นผู้ชอบธรรม ความคู่ขนานระหว่าง “เพราะเหตุความชอบธรรม” (For
Righteousness’ Sake) (ว. 10) และ “เพราะเรา” (For My Sake) (ว. 11) แสดงวา่ ความชอบธรรมไมใ่ ช่แนวคดิ ท่ี
เป็นนามธรรมสาหรบั นกั บญุ มทั ธวิ แตม่ รี ากฐานทางครสิ ตศาสตรแ์ ละเป็นหน่งึ ในหลายประการทบ่ี ่งชถ้ี งึ ครสิ ตศา
สตรท์ แ่ี ฝงอยู่ในบทเทศน์สอนบนภูเขา เหน็ ไดช้ ดั ว่า ว. 10 เป็นขอ้ ความท่นี ักบุญมทั ธวิ ไดป้ ระพนั ธ์ขน้ึ เพ่อื สรุป
เร่อื งความสุขแท้ทงั้ หมดโดยอ้างอิงถึงความชอบธรรม และเพ่ือให้ได้ความสุขแท้ทงั้ หมดแปดประการ เป็น
รปู แบบทส่ี อดคลอ้ งกบั การประพนั ธแ์ บบตรลี กั ษณ์ของทา่ น

5:11-12 ประโยคท่สี รุปบทความสุขแท้เพ่อื ส่งต่อไปยงั ส่วนอ่นื ใน ว. 11-12 เก่ยี วขอ้ งกบั การเปล่ยี น
รปู แบบความสขุ แทม้ ลี กั ษณะเฉพาะเจาะจง สาหรบั เน้อื หาของบทเทศน์ใน 5:17-7:12 โดยหลกั เป็นคาสงั่ ทอ่ี ยใู่ น
รปู ประโยคบงั คบั (Imperative Mood) การเปลย่ี นผ่านจากบุคคลทส่ี ามมาเป็นบุคคลทส่ี อง และรวมถงึ คาสงั่ แรก
ท่ีกล่าวว่า “จงช่ืนชมยินดี” (Rejoice) ความช่ืนชมยินดีท่ีบรรดาศิษย์ได้แสดงออก ใช่ว่าจะปราศจากการ
เบียดเบียนข่มเหง แต่เป็นเพราะเน่ืองจากการเบยี ดเบยี นข่มเหง พวกเขาสมควรได้รบั ความช่นื ชมยนิ ดีนัน้
กล่าวคือ การถูกเบียดเบียนข่มเหงไม่ใช่เหตุแสดงถึงองค์ประกอบหลากหลายท่ีจะเป็นมรณสกั ขีได้ (Martyr
Complex) แต่เป็นการยอมรบั ดว้ ยความยนิ ดถี งึ เคร่อื งหมายทแ่ี สดงถงึ การเป็นสมาชกิ ในชุมชนแห่งความเช่อื ใน
อวสานตกาล ผู้เป็นประชากรของพระเป็นเจ้า ซ่ึงไม่ได้ดาเนินชวี ติ ตามระบบค่านิยมของโลกยุคสมยั น้ี คน
เชน่ นนั้ เหมอื นกบั บรรดาประกาศกของอสิ ราเอล ผถู้ ูกเบยี ดเบยี นขม่ เหงเช่นกนั บทนาแหง่ รปู แบบของประกาศก
(ในอดตี )ก่อเป็นแบบทส่ี ง่ ต่อไปยงั ชนรนุ่ ตอ่ ไป สาหรบั ประกาศกผทู้ ไ่ี ม่ไดม้ ชี วี ติ อยเู่ พอ่ื ตนเอง แตไ่ ดร้ บั มอบหมาย
ให้มาทาพนั ธกจิ ในโลก พระพรท่ีได้ประกาศสญั ญาต่อบรรดาศษิ ย์ใน ว. 3-12 จงึ มจี ุดประสงค์เพ่อื พวกเขาได้
กลายเป็นผแู้ ทนผนู้ าพระพรสคู่ นอ่นื ต่อไป

อนึง่ บนเสน้ ทางแห่งความสุขแท้จรงิ อวยั วะทใี่ หเ้ ราเหน็ พระเป็นเจ้า คอื หวั ใจ สตปิ ัญญาอย่างเดยี วไม่
พอทจี่ ะใหเ้ ราเหน็ พระเป็นเจา้ ได้ เพอื่ มนุษยจ์ ะสามารถรบั รถู้ งึ พระเป็นเจา้ ได้ พลงั ต่างๆ แห่งการเป็นอย่ขู องเขา
จะตอ้ งทางานประสานกลมเกลยี วกนั น้าใจของเขาจะตอ้ งบรสิ ุทธ์ิ และมติ คิ วามรกั ทอี่ ย่ใู นจติ วญิ ญาณของเขาก็
ต้องบรสิ ุทธด์ิ ้วยเช่นกนั ซึง่ ช่วยบ่งช้ที ศิ ทางใหม่แก่สตปิ ัญญาและน้าใจของมนุษย์ เมอื่ พูดถงึ หวั ใจในแบบน้ี ก็
หมายความวา่ พลงั ต่างๆ แหง่ การรบั รขู้ องมนุษยน์ นั้ สอดประสานกนั ซงึ่ เรยี กรอ้ งใหร้ า่ งกายและจติ วญิ ญาณตอ้ ง
สอดประสานกนั อยา่ งถูกตอ้ งดว้ ย เพราะว่านีเ่ ป็นสงิ่ สาคญั สาหรบั สงิ่ สรา้ งทงั้ ครบทเี่ รยี กวา่ “มนุษย”์ ท่าทพี ้นื ฐาน
ในเรอื่ งความรกั ชอบพอของมนุษยข์ ้นึ อย่กู บั ความเป็นเอกภาพระหว่างร่างกายกบั วญิ ญาณ และข้นึ อย่กู บั การที่

133

มนุษยย์ อมรบั วา่ ตนเป็นทงั้ กายและจติ สงิ่ น้ีหมายถงึ ว่า เขาวางกายของเขาไวใ้ หอ้ ย่ใู ตก้ ฎแห่งจติ ถงึ กระนนั้ เขาก็
มไิ ดแ้ ยกสตปิ ัญญาหรอื น้าใจโดดเดยี่ วออกจากกนั เขายอมรบั ตวั เองเป็นผมู้ าจากพระเป็นเจา้ แลว้ กร็ บั รแู้ ละเจรญิ
ชวี ติ การเป็นอยู่แบบมกี ายให้ช่วยเสรมิ จติ หวั ใจหมายถึงตวั ตนทงั ครบของมนุษย์นัน้ ต้องบรสิ ุทธิ์ เปิดรบั จาก
ภายในและเป็นอสิ ระ เพอื่ ใหม้ นุษยส์ ามารถมองเหน็ พระเป็นเจา้ ได้ อาจเรยี กว่าเป็นความหมายถงึ “ผมู้ ใี จบรสิ ุทธิ์
ย่อมเป็นสุข เพราะเขาจะไดเ้ หน็ พระเป็นเจา้ ” (มธ. 5: 8) เธโอฟีลสั แห่งอนั ตโิ อก (Theophilus of Antioch) ครงั้ หนึง่
ในการถกเถยี งกบั ผโู้ ตแ้ ยง้ บางคน กก็ ล่าวเช่นน้ีว่า “ถา้ ท่านบอกว่า ‘แสดงใหข้ า้ พเจา้ เหน็ พระเป็นเจา้ ของท่านซิ’
ขา้ พเจา้ กค็ งตอบท่านว่า ‘ท่านกแ็ สดงใหข้ า้ พเจา้ เหน็ มนุษยท์ อี่ ยู่ในตวั ท่านซิ’ ...เพราะว่า พระเป็นเจา้ ไดร้ บั การ
รบั รูจ้ ากมนุษยผ์ ู้สามารถเหน็ พระองค์ได้ มนุษยผ์ ู้มดี วงตาแห่งจติ เปิดอยู่.. จติ วญิ ญาณของมนุษย์ต้องบรสิ ุทธ์ิ
เหมอื นกระจกเงาใสสะอาด” (Ad Autolycum, I, 2, 7ff อา้ งแลว้ จาก โจเซฟ รตั ซงิ เกอร,์ พระสนั ตะปาปาเบเนดกิ ต์ ที่16, หน้า 182-183)

สงิ่ น้ีก่อใหเ้ กดิ คาถามขน้ึ ทนั ทวี ่า ดวงตาภายในของมนุษยจ์ ะถูกทาใหบ้ รสิ ทุ ธไิ์ ดอ้ ยา่ งไร? จะจดั การกาจดั
ต้อกระจกทที่ าให้เขามองเหน็ ได้ลางๆ หรอื แมก้ ระทงั่ ทาใหเ้ ขาบอดมดื จนมองไม่เหน็ เลยนัน้ ไดอ้ ย่างไร? ธรรม
ประเพณีดา้ นฌานนิยมทกี่ ล่าวถงึ “หนทางของการชาระใหส้ ะอาดบรสิ ุทธ”ิ์ ซงึ่ สุดทา้ ยแลว้ มุ่งสู่ “การรว่ มเป็นหนึง่
เดยี วกบั พระเป็นเจา้ ” กเ็ ป็นความพยายามหนึง่ ทจี่ ะตอบคาถามทวี่ ่าน้ี ความสขุ แทจ้ รงิ ก่อนอนื่ หมด จะตอ้ งไดร้ บั
การอ่านในบรบิ ทของพระคมั ภรี ์ ณ ทนี่ นั้ เราพบแรงจงู ใจของการทาใหห้ วั ใจบรสิ ทุ ธ์ิ เป็นตน้ ในบทเพลงสดดุ ที ี่24
ซงึ่ สะทอ้ นถงึ พธิ กี รรมการแห่เขา้ พระวหิ ารในสมยั โบราณทวี่ า่ “ใครจะข้ึนไปยงั ภเู ขาของพระเป็นเจา้ ได้ ใครจะยนื
อยู่ในสถานศกั ดสิ์ ทิ ธขิ์ องพระองค์? ผูม้ มี อื สะอาดและใจบรสิ ุทธิ์ ผู้มใี จไม่ใฝ่ หาสงิ่ ทปี่ ลอม ผูไ้ ม่ออกปากสาบาน
เพยี งเพอื่ หลอกลวง” (สดด. 24: 3-4) ณ เบ้อื งหน้าประตูเขา้ ส่บู รเิ วณพระวหิ าร กม็ กี ารตงั้ คาถามว่า ใครเล่าจะไดเ้ ขา้
ไปยนื อยใู่ กลอ้ งคพ์ ระเป็นเจา้ ผทู้ รงชวี ติ ผทู้ มี่ มี อื สะอาดและใจบรสิ ทุ ธถ์ิ อื เป็นเงอื่ นไขสาคญั

บทเพลงสดุดนี ้ีอธบิ ายช้แี จงในหลายแบบแตกต่างกนั ถงึ สาระของเงอื่ นไขทจี่ ะไดเ้ ขา้ ไปส่สู ถานทปี่ ระทบั
ของพระเป็นเจ้า เงอื่ นไขพ้นื ฐานประการหนึง่ คอื ผู้ทจี่ ะได้เขาสู่สถานทปี่ ระทบั ของพระเป็นเจา้ จะต้องแสวงหา
พระองค์ เขาตอ้ งแสวงหาพระพกั ตรข์ องพระองค์ (สดด. 24: 6) เงอื่ นไขพ้นื ฐานน้ีจงึ พสิ ูจน์ว่าเป็นท่าทเี ดยี วกนั นัน้ ที่
เราไดเ้ หน็ มาก่อนหน้าน้ีแลว้ ทกี่ ลา่ วถงึ ดว้ ยวลที วี่ า่ “ผทู้ หี่ วิ กระหายความชอบธรรม” การแสวงหาพระเป็นเจา้ เป็น
เงอื่ นไขพ้นื ฐานแรกเพอื่ ทจี่ ะไดเ้ ขา้ ไปพบปะกบั พระเป็นเจา้ ได้ อย่างไรกต็ าม แมก้ ่อนหน้านัน้ เพลงสดุดนี ้ีกช็ ้ชี ดั
ว่าการเป็นผมู้ มี อื สะอาดและใจบรสิ ุทธน์ิ นั้ เกยี่ วขอ้ งกบั การทมี่ นุษยป์ ฏเิ สธไม่ยอมหลอกลวงหรอื ใหก้ ารเทจ็ สงิ่ น้ี
เรยี กรอ้ งใหม้ คี วามซอื่ สตั ย์ การถอื ซอื่ ตรงตอ่ ความจรงิ และมคี วามยตุ ธิ รรมต่อเพอื่ นมนุษยแ์ ละตอ่ หมคู่ ณะของตน
ซงึ่ เราอาจเรยี กไดว้ า่ เป็นจรยิ ธรรมทางสงั คม ถงึ แมว้ า่ มนั จะมงุ่ สสู่ ว่ นลกึ สดุ ของหวั ใจมนุษย์

บทเพลงสดุดที ี่15 เน้นเพมิ่ เตมิ เรอื่ งน้ี เราจงึ สามารถกล่าวไดว้ า่ เงอื่ นไขในการเขา้ ไปยงั การประทบั ของ
พระเป็นเจา้ คอื สารตั ถะของบทบญั ญตั สิ บิ ประการนนั่ เอง (Decalogue) กล่าวคอื เป็นเรอื่ งการแสวงหาภายในถงึ
พระเป็นเจา้ เป็นเรอื่ งการเดนิ ทางมุ่งเขา้ หาพระเป็นเจา้ (บทบญั ญัติเอกประการแรก) และเป็นเรอื่ งความรกั ต่อเพอื่ น
มนุษย์ เรอื่ งความยุตธิ รรมต่อปัจเจกบุคคลและต่อหม่คู ณะ (บทบญั ญตั เิ อกประการทสี่ อง) ไม่มเี งอื่ นไขใดๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
เป็นพเิ ศษกบั เรอื่ งความรเู้ รอื่ งการเผยความจรงิ ถูกกล่าวถงึ ไวเ้ ลย เพยี งแต่ว่า “ใหแ้ สวงหาพระเป็นเจา้ ” และถอื
ตามบทบญั ญตั พิ น้ื ฐานในเรอื่ งความยตุ ธิ รรม ตามทมี่ โนธรรมทเี่ ฝ้าระวงั คอื มโนธรรมทถี่ กู กระตุน้ ใหล้ งมอื กระทา
การดว้ ยการแสวงหาพระเป็นเจา้ นนั้ บ่งช้แี ก่มนุษยท์ ุกคน การพจิ ารณาของเราก่อนหน้าน้ีทเี่ กยี่ วกบั คาถามเรอื่ ง
ความรอดกไ็ ดร้ บั การยนื ยนั เพมิ่ เตมิ ณ ทนี่ ้ดี ว้ ย

134

ถ้อยคาเหล่าน้ีจากพระโอษฐข์ องพระเยซูเจ้าต้องการความลกึ ซ้งึ ใหม่ เพราะว่าเป็นเรอื่ งธรรมชาตขิ อง
พระเยซูเจา้ ทพี่ ระองคท์ รงเหน็ พระเป็นเจา้ ทพี่ ระองคท์ รงประทบั อย่ใู กลช้ ดิ พระพกั ตรพ์ ระเป็นเจา้ ในการสนทนา
ภายในอย่เู สมอ กล่าวคอื ทรงอย่ใู นสายสมั พนั ธแ์ ห่งการเป็นบุตร กล่าวอกี อย่างหนึง่ กค็ อื ความสุขแทจ้ รงิ น้ีเป็น
แบบ ครสิ ตศาสตรอ์ ย่างลกึ ซ้งึ เราจะไดเ้ หน็ พระเป็นเจา้ กต็ ่อเมอื่ เราเขา้ สู่ “ความรสู้ กึ นึกคดิ เชน่ เดยี วกบั พระครสิ ต
เจา้ ” (ฟป. 2:5) การชาระใจใหบ้ รสิ ทุ ธเ์ิ ป็นผลทตี่ ามมาจากการตดิ ตามพระครสิ ตเจา้ จากการกลายเป็นหนึง่ เดยี วกบั
พระองค์ “ขา้ พเจา้ มชี วี ติ อยู่ มใิ ชต่ วั ขา้ พเจา้ อกี ต่อไป แตพ่ ระครสิ ตเจา้ ทรงดาเนินอยใู่ นตวั ขา้ พเจา้ ” (กท. 2: 20) ณ
จดุ น้เี องทมี่ สี งิ่ ใหมแ่ สดงใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจน กล่าวคอื การขน้ึ ไปหาพระเป็นเจา้ เกดิ ขน้ึ ในการลงมารบั ใชด้ ว้ ยความ
สุภาพถ่อมตน ในการลงมาของความรกั เพราะว่าความรกั เป็นแก่นแทข้ องพระเป็นเจา้ และเป็นพลงั ทชี่ ่วยชาระ
มนุษยใ์ หส้ ะอาดบรสิ ุทธ์ิ และช่วยใหม้ นุษยส์ ามารถเขา้ ใจและเหน็ พระองคไ์ ด้ ในพระเยซูครสิ ตเจา้ พระเป็นเจา้ ได้
เผยแสดงพระองคใ์ นการเสดจ็ ลงมาของพระบุตร “แมว้ ่าพระองคท์ รงมพี ระธรรมชาตพิ ระเป็นเจา้ พระองคก์ ม็ ไิ ด้
ทรงถอื ว่าศกั ดศิ์ รเี สมอพระเป็นเจา้ นัน้ เป็นสมบตั ทิ จี่ ะตอ้ งหวงแหน แต่ทรงสละพระองคจ์ นหมดส้นิ ทรงรบั สภาพ
ดุจทาส เป็นมนุษย์ดุจเรา...ทรงถ่อมพระองค์จนถึงกบั ทรงยอมรบั แม้ความตาย เป็นความตายบนไม้กางเขน
เพราะเหตนุ ้ี พระเป็นเจา้ จงึ ทรงเทดิ ทนู พระองคข์ น้ึ สงู สุด” (ฟป. 2: 6-9)

ถอ้ ยคาเหล่าน้ีบ่งบอกถงึ จุดผกผนั สาคญั ยงิ่ ในประวตั ศิ าสตรข์ องฌานนิยม (Mysticism) ถอ้ ยคาเหลา่ น้บี ่ง
บอกถงึ สงิ่ ใหม่ในฌานนิยมแบบครสิ ต์ ซงึ่ มาจากสงิ่ ใหม่ในการเผยแสดงของพระเยซูครสิ ตเจา้ พระเป็นเจา้ เสดจ็
ลงมาจนถงึ กบั ทรงยอมรบั ความตายบนไมก้ างเขน และโดยการทาเช่นน้ีเอง พระองคก์ ท็ รงเผยแสดงพระองคใ์ น
พระเทวภาพแทจ้ รงิ ของพระองค์ เราขน้ึ ไปหาพระองคโ์ ดยร่วมทางไปกบั พระองคบ์ นเสน้ ทางแหง่ การเสดจ็ ลงมา
นัน้ ในบรบิ ทน้ี “พธิ กี รรมแห่เขา้ ประตูพระวหิ าร” (Gate Liturgy) ในบทเพลงสดุดที ี่ 24 จงึ มคี วามเด่นชดั ข้นึ ใหม่
กล่าวคอื ใจทบี่ รสิ ทุ ธเิ์ ป็นใจทรี่ กั ซงึ่ เขา้ สคู่ วามสนิทสมั พนั ธ์กบั พระเยซูเจา้ ในการรบั ใชแ้ ละในความนอบน้อมเชอื่
ฟัง ความรกั เป็นไฟทชี่ าระใหบ้ รสิ ทุ ธแ์ิ ละรวมสตปิ ัญญา น้าใจ และอารมณ์ความรสู้ กึ ใหเ้ ป็นหนึง่ เดยี ว เป็นการทา
ใหม้ นุษยเ์ ป็นหนึง่ เดยี วกบั ตวั ตนเอง เพราะฉะนนั้ ความรกั จงึ ทาใหม้ นุษยเ์ ป็นหนึง่ เดยี วในสายพระเนตรของพระ
เป็นเจา้ มนุษยจ์ งึ สามารถทางานรบั ใชช้ ่วยผคู้ นทถี่ ูกแบ่งแยกนนั้ ใหม้ ารวมเป็นหนึง่ เดยี วกนั ได้ นีค่ อื วธิ ที มี่ นุษย์
เขา้ สสู่ ถานทปี่ ระทบั ของพระเป็นเจา้ และสามารถเหน็ พระองคไ์ ด้ นีเ่ ป็นสงิ่ ทมี่ คี วามหมายยงิ่ สาหรบั ตวั เขาทเี่ ป็น
“ผมู้ ใี จเป็นสขุ ”

เรายงั ตอ้ งถามตวั เองสนั้ ๆ ดว้ ยสองคาถามอนั เกยี่ วขอ้ งกบั ความเขา้ ใจเรอื่ งทงั้ หมดน้ี ในพระวรสารของ
นกั บุญลกู า ความสขุ แทจ้ รงิ 4 ประการทที่ า่ นนาเสนอนนั้ ตามดว้ ยคาประกาศถงึ ความวบิ ตั ิ 4 ประการดว้ ยเชน่ กนั
“วบิ ตั จิ งเกดิ กบั ทา่ นทรี่ า่ รวย...วบิ ตั จิ งเกดิ กบั ทา่ นทอี่ มิ่ ในเวลาน้.ี ..วบิ ตั จิ งเกดิ กบั ทา่ นทีห่ วั เราะเวลาน้.ี ..วบิ ตั จิ งเกดิ
กบั ท่านเมอื่ ทุกคนกล่าวยกย่องท่าน...” (ลก. 6: 24-26) ถอ้ ยคาเหล่าน้ีย่อมทาใหเ้ รารสู้ กึ หวาดหวนั่ เราจะตอั งคดิ
ถงึ ถอ้ ยคาเหลา่ น้อี ยา่ งไร?

เวลาน้ี สงิ่ แรกทจี่ ะตอ้ งกล่าวกค็ อื ว่า ณ ทนี่ ้ี พระเยซูเจา้ กาลงั ทาตามรปู แบบทพี่ บไดใ้ นหนงั สอื ประกาศก
เยเรมหี ์ บทที่17 และเพลงสดุดบี ทที่1 นนั่ คอื หลกั จากมกี ารกล่าวถงึ หนทางอนั ถกู ตอ้ งทนี่ ามนุษยไ์ ปสคู่ วามรอด
แลว้ กต็ ามดว้ ยเครอื่ งหมายเตอื นน้ีเปิดหน้ากากใหเ้ หน็ คาสญั ญาปลอกและคาเสนอปลอมทงั้ หลาย เครอื่ งหมาย
เตอื นน้ีมุ่งช่วยมนุษย์ใหพ้ น้ จากการหลงเดนิ ตามทางทนี่ าไปส่หู น้าผาอนั ตรายยงิ่ เราจะพบเรอื่ งแบบน้ีอกี ในคา
อุปมาเรอื่ งเศรษฐกี บั ลาซารสั

135

ถา้ เราไดเ้ ขา้ ใจอย่างถูกตอ้ งถงึ เครอื่ งหมายบ่งบอกความหวงั ทเี่ ราจะพบในความสุขแทจ้ รงิ เหล่านนั้ แลว้
เรากจ็ ะเหน็ ไดว้ ่า ณ ทนี่ ้ีเรากาลงั เกยี่ วขอ้ งกบั เรอื่ งท่าทตี รงกนั ขา้ มเหล่านัน้ ทกี่ ดี กนั้ มนุษยไ์ วใ้ หเ้ หน็ แต่เพยี งสงิ่
ปรากฏภายนอก เหน็ แต่เพยี งสงิ่ อนั ไม่จรี งั ยงั ่ ยืน ทาใหม้ นุษยต์ อ้ งสญู เสยี คุณลกั ษณะสงู สุดและลกึ ซ้งึ ทสี่ ดุ ของตวั
เขา แลว้ กท็ าใหต้ อ้ งสญู เสยี พระเป็นเจา้ และเพอื่ นมนุษยข์ องตนเองไปดว้ ย นคี่ อื เสน้ ทางสหู่ ายนะ เวลาน้ี เราจงึ มา
เขา้ ใจความหมายแท้ของเครอื่ งหมายเตอื นน้ี นัน่ คอื คาประกาศถงึ ความวบิ ตั เิ หล่านัน้ มใิ ช่คาประณาม คาวบิ ตั ิ
เหล่านัน้ มใิ ช่เป็นถ้อยคาแสดงความเกลยี ดชงั หรอื ความอจิ ฉารษิ ยา หรอื ความเป็นอรติ ่อกนั จุดสาคญั มใิ ช่เป็น
เรอื่ งการประณามลงโทษ แต่เป็นคาเตอื นทมี่ งุ่ เพอื่ ชว่ ยเรามนุษยใ์ หร้ อดพน้

แต่เวลาน้ี เกิดคาถามพ้นื ฐานข้นึ มาว่า ทศิ ทางทพี่ ระเป็นเจ้าทรงช้แี สดงแก่เราในเรอื่ งความสุขแท้จรงิ
เหล่าน้ี และในคาเตอื นทสี่ อดคลอ้ งกนั นนั้ เป็นหนทางทถี่ กู ตอ้ งจรงิ หรอื ? การทจี่ ะรา่ รวย มกี นิ จนอมิ่ หวั เราะรา่ เรงิ
และไดร้ บั การยกย่องเหล่าน้ีเป็นสงิ่ ไมด่ จี รงิ หรอื ? เฟรดิ รกิ นิทชเก้ (Friedrich Nietzsche) ม่งุ วจิ ารณ์ศาสนาครสิ ต์
แบบไม่พอใจเป็นอย่างมากในเรอื่ งน้ี นิทชเกบ้ อกว่า มใิ ช่เป็นขอ้ ความเชอื่ แบบครสิ ตท์ จี่ ะตอ้ งถกู นามาวจิ ารณ์ แต่
เป็นศลี ธรรมแบบครสิ ตต์ ่างหากทจี่ ะตอ้ งถกู วจิ ารณ์วา่ เป็น “ความผดิ หนกั ต่อชวี ติ มนุษย”์ สว่ นคาวา่ “ศลี ธรรมแบบ
ครสิ ต”์ น้ี นิทชเกห้ มายถงึ คาแนะนาทบี่ ่งบอกอยใู่ นบทเทศน์สอนบนภูเขานนั่ เอง

“อะไรเป็นบาปยงิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ บนโลกจนถงึ เวลาน้เี ลา่ ? แน่นอน เป็นถอ้ ยคาของผทู้ กี่ ลา่ ววา่ “วบิ ตั จิ งมกี บั ผทู้ ี่
หวั เราะเวลาน้ี” มใิ ช่หรอื ? นิทชเก้ยงั กล่าวต่อต้านคาสญั ญาเหล่านัน้ ของพระครสิ ตเจ้าด้วย ว่าเราไม่ต้องการ
อาณาจกั รสวรรค์ “เรากลายเป็นคนทโี่ ตแลว้ ดงั นนั้ เราจงึ ตอ้ งการอาณาจกั รของโลกน้”ี

นิทชเก้มองเห็นภาพบทเทศน์สอนบนภูเขาเป็นเสมอื นศาสนาแห่งความขุ่นเคอื งใจ เป็นเสมอื นการมี
ความอจิ ฉารษิ ยาของคนขลาดและไรค้ วามสามารถทขี่ าดปัจจยั ต่างๆ ของชวี ติ และพยายามแก้แค้นด้วยการ
กล่าวชนื่ ชมการพลาดหวงั ต่างๆ ของตน และสาปแช่งผู้แขง็ แรง ผปู้ ระสบความสาเรจ็ และผมู้ คี ตวามสุขในชวี ติ
มุมมองอนั เปิดกว้างของพระเยซูเจ้าต้องเผชญิ กบั โลกียวสิ ยั อนั คบั แคบ กล่าวคอื เผชญิ กบั ความต้องการได้
ประโยชน์มากทสี่ ดุ จากโลกและสงิ่ ทมี่ ชี วี ติ น้ีเสนอให้ เพอื่ แสวงหาสวรรคบ์ นโลกน้ี โดยไมต่ อ้ งมาคอยคานึงถงึ เรอื่ ง
ศลี ธรรมใดๆ ขณะทกี่ าลงั ทาเชน่ น้เี ลย

ส่วนใหญ่ของแนวคดิ น้ีกเ็ ขา้ มาสู่รูปแบบความคดิ สมยั ใหม่ และก่อตวั เป็นวธิ ที ผี่ ูค้ นร่วมสมยั ส่วนมากมี
ความรสู้ กึ ถงึ เรอื่ งชวี ติ ฉะนนั้ บทเทศน์สอนบนภูเขาจงึ ตงั้ คาถามถงึ เรอื่ งการเลอื กขนั้ พ้นื ฐานของผเู้ ป็นครสิ ตชน
และในฐานะเป็นผคู้ นร่วมสมยั เรากร็ ูส้ กึ มกี ารต่อตา้ นภายในกบั การเลอื กน้ี ถงึ แมว้ ่า เรายงั รูส้ กึ ประทบั ใจกบั คา
ชมเชยของพระเยซูเจา้ ต่อผมู้ ใี จอ่อนโยน ผู้มใี จเมตตากรุณา ผมู้ ใี จบรสิ ุทธก์ิ ต็ าม เวลาน้ี โดยทรี่ จู้ ากประสบการณ์
วา่ จกั รวรรดทิ รราชนนั้ ไดเ้ หยยี บยา่ สบประมาทผคู้ น จบั ผอู้ ่อนแอเป็นทาสและโบยตอี ย่างโหดรา้ ยทารุณเพยี งใด
เรากเ็ กดิ ความรสู้ กึ ชนื่ ชมข้นึ ใหมก่ บั ผทู้ หี่ วิ กระหายความชอบธรรม เราไดค้ น้ พบใหม่อกี ครงั้ ซงึ่ จติ วญิ ญาณของผู้
ทรี่ อ้ งไหค้ รา่ ครวญ และผมู้ สี ทิ ธไิ์ ดร้ บั การบรรเทาใจ ในขณะทเี่ ราเป็นสกั ขพี ยานถงึ การใชอ้ านาจเศรษฐกจิ ในทาง
ทผี่ ดิ ขณะทเี่ ราเป็นพยานถงึ ความโหดรา้ ยของลทั ธทิ ุนนิยม ทลี่ ดคุณคา่ มนุษยล์ งมาเป็นแคว่ ตั ถุสนิ คา้ เราจงึ เกดิ
สานึกด้วยถึงภยนั ตรายของความรา่ รวยและเกิดความรู้สกึ ชืน่ ชมใหม่ต่อสงิ่ ทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงหมายถึง เมือ่
พระองคท์ รงเตอื นเราถงึ ความรา่ รวย เรอื่ งอานาจ พระเจา้ เงนิ ตราทที่ าลายมนุษย์ ทจี่ บั ยดึ มนุษยส์ ่วนใหญ่ในโลก
ไวอ้ ย่างแน่นหนายงิ่ นัก อนั ทจี่ รงิ แล้ว ความสุขแท้จรงิ เหล่านัน้ เป็นอยู่ในลกั ษณะตรงขา้ มกบั ความรู้สกึ ถงึ การ
เป็นอย่ขู องเราเสมอ คอื ความกระหายหวิ ต่อชวี ติ ของเรานนั่ เอง ความสขุ แทจ้ รงิ เรยี กรอ้ ง “การหมุนตวั กลบั ” ของ
เรา คอื ใหภ้ ายในของเราหมนุ กลบั ไปในทศิ ทางตรงขา้ มกบั ทเี่ รามกั อยากมุ่งไปอย่เู สมอนนั้ แต่การหมุนกลบั ขา้ ง

136

แบบน้ีนาไปสสู่ งิ่ ทบี่ รสิ ทุ ธแ์ิ ละมเี กยี รตใิ หเ้ กดิ ขน้ึ กบั ชวี ติ ของเรา และยงั กอ่ ใหเ้ กดิ การจดั ระเบยี บอนั ถกู ตอ้ งแกช่ วี ติ
ของเราดว้ ย

โลกของพวกกรกี ทรี่ สชาตชิ วี ติ ไดร้ บั การวาดภาพไวอ้ ยา่ งน่าอศั จรรยใ์ จยงิ่ ในมหากาพยข์ องโฮเมอรน์ นั้ ก็
ยงั ตระหนักอย่างลกึ ซ้งึ ว่า บาปแทจ้ รงิ ของมนุษย์ การถูกประจญลกึ ซ้งึ ทสี่ ุดของมนุษย์ กค็ อื ความยโสโอหงั อนั
เป็นการอวดอา้ งตวั เองทนี่ ามนุษยใ์ หย้ กตวั เองขน้ึ สสู่ ถานะพระเป็นเจา้ แบบลมๆ แลง้ ๆ มนุษยอ์ า้ งตวั เป็นพระเป็น
เจา้ ของตนเอง ทงั้ น้ีเพอื่ จะควบคุมชวี ติ ไวท้ งั้ หมด และดงึ เอาสงิ่ ดที สี่ ุดจนหยดสดุ ทา้ ยจากสงิ่ ทเี่ สนอใหเ้ ขานนั้ การ
ตระหนกั รวู้ ่าภยนั ตรายแทจ้ รงิ ของมนุษยอ์ ย่ทู กี่ ารถกู ประจญใหห้ ยงิ่ ยโสอวดอา้ งตนเป็นทพี่ งึ่ สาหรบั ตนเอง ซงึ่ ใน
ตอนแรกกด็ เู หมอื นเป็นสงิ่ ทนี่ ่าปรบมอื ให้ กลบั ถกู นาไปสจู่ ุดลกึ ซ้งึ ทสี่ ุดในบทเทศน์สอนบนภูเขาภายใตแ้ สงสว่าง
ขององคพ์ ระครสิ ตเจา้

เราไดเ้ หน็ มาแลว้ ว่าบทเทศน์สอนบนภูเขาเป็นครสิ ตศาสตรแ์ บบซ่อนเรน้ เบ้อื งหลงั บทเทศน์น้มี ภี าพองค์
พระครสิ ตเจา้ มนุษยผ์ ูเ้ ป็นพระเป็นเจ้าอยู่ แต่เพราะพระองคท์ รงเป็นพระเป็นเจา้ พระองค์จงึ เสดจ็ ลงมา ทาตวั
พระองคว์ ่างเปล่าตลอดจนกระทงั่ ถงึ ความตายบนไมก้ างเขน บรรดานักบุญนับจากนักบุญเปาโล เรอื่ ยมาจนถงึ
ท่านนักบุญ ฟรงั ซสิ แห่งอสั ซซี ี จนกระทงั่ คุณแม่เทเรซา แห่งกลั กตั ตา กไ็ ดเ้ ลอื กเจรญิ ชวี ติ เช่นน้ี แลว้ กไ็ ดแ้ สดง
ใหเ้ ราเหน็ จากชวี ติ ทที่ ่านเลอื กดาเนินน้ี ถงึ ภาพลักษณ์อนั ถูกตอ้ งและความสุขของมนุษย์ พูดอกี อย่างหนึง่ กค็ อื
ศลี ธรรมแทข้ องศาสนาครสิ ต์คอื ความรกั และความรกั กเ็ ตม็ ใจหนั เขา้ สกู้ บั การแสวงหาตนเอง กล่าวคอื ความรกั
เป็นการออกจากตวั เอง ถึงกระนัน้ นีก่ ลบั เป็นเสน้ ทางทมี่ นุษย์ได้พบกบั ตวั เอง เมอื่ เทยี บกบั แสงประกายแห่ง
ภาพลักษณ์ของมนุษย์ตามแบบของนิทชเก้แล้ว เส้นทางน้ีทีแรกดูเหมือนจะเสียหายใช้การไม่ได้และไม่
สมเหตุสมผลเป็นอย่างยงิ่ แต่มนั เป็นเสน้ ทางหลกั แท้จรงิ สาหรบั ชวี ติ มนุษย์บนเสน้ ทางแห่งความรกั น้ีเท่านัน้ ที่
เสน้ ทางซึง่ บรรยายไว้ในบทเทศน์สอนบนภูเขาอนั เปีย่ มล้นด้วยชวี่ ติ และความยงิ่ ใหญ่ของกระแสเรยี กมนุษย์
ไดร้ บั การเปิดกวา้ ง (อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร,์ หน้า 183-192)

ข้อคิดไตรต่ รอง
โดยหลกั ใหญ่ บทความสุขแท้ใช้คากรยิ าสองคา คอื “เป็น” (Are) และ “จะ” (Will) และแต่ละขอ้ ขน้ึ ต้น

ดว้ ยประโยคท่เี ป็นปัจจุบนั กาล (Present Tense) คอื “Blessed Are…” (ผู้ท่ไี ด้รบั พรคอื /ผู้เป็นสุขคอื ) จากนัน้
เปลย่ี นเป็นประโยคอนาคตกาล (Future Tense) “เพราะพวกเขาจะ…” ประโยคปัจจุบนั กาลชใ้ี หเ้ หน็ ว่าความสุข
แทค้ อื การกล่าวถงึ สงิ่ ทเ่ี ป็นจรงิ อยแู่ ลว้ ในชมุ ชนชาวครสิ ต์ แน่นอนวา่ คงไมใ่ ชส่ มาชกิ ทุกคนทส่ี ามารถยนื ยนั ไดว้ า่
ตนเป็นผู้ถ่อมตวั มเี มตตา และมใี จบรสิ ุทธิ ์ แต่บทความสุขแท้ไม่ได้เป็นการกล่าวกบั แต่ละบุคคล แต่เป็นการ
กล่าวกบั ชุมชนแห่งความเช่อื ทงั้ หมด ในทุกกลุ่มชาวครสิ ต์แท้จรงิ เราจะพบบุคคลอ่อนโยน(ถ่อมตวั ) ผู้ทากิจ
เมตตา และผสู้ รา้ งสนั ติ การปรากฏตวั และการทางานของพวกเขาเป็นสญั ญาณของพระพรจากพระเป็นเจา้ และ
เป็นเสยี งเรยี กใหเ้ ราทกุ คนปรบั เปลย่ี นชวี ติ ปกตขิ องตนใหค้ ลา้ ยคลงึ กบั คา่ นิยมแหง่ อาณาจกั รสวรรคเ์ หล่าน้ี

การเปล่ยี นไปใชป้ ระโยคอนาคตกาลระบุว่าชวี ติ ในพระอาณาจกั รจะต้องรอคอยการรบั รองครงั้ สุดทา้ ย
จากพระผเู้ ป็นเจา้ จนกว่าพระองคจ์ ะทาสงิ่ สรา้ งใหม่(New Creation) สาเรจ็ ประโยคอนาคตกาลของความสุขแท้
แย้งกบั ความคดิ ท่วี ่าศาสนาครสิ ต์คอื “ปรชั ญาชวี ติ ” ท่อี อกแบบมาให้ผู้คนประสบความสาเรจ็ และมจี ติ ใจสงบ
เยอื กเยน็ ในขณะปัจจุบนั อนั ทจี่ รงิ การไถ่กู้มนุษยห์ รอื ภารกจิ ช่วยใหร้ อดพน้ ของพระเยซูเจา้ เป็น “สงิ่ สรา้ งใหม่”

137

อนั ประเสรฐิ และน่าประทบั ใจอยา่ งยงิ่ จากการสรา้ งนิรนั ดรแต่ทรงทาใหเ้ กดิ ใหม่ในพระองคใ์ นความเป็นบุตรของ
พระเป็นเจ้า ดงั นัน้ คาสอนความสุขแท้ ไม่ใช่พระสญั ญาว่าบรรดาศษิ ยข์ องพระเยซูเจ้า(ครสิ ตชน)จะไม่ประสบ
หรอื ไดร้ บั การปกป้องจากความทุกขล์ าบาก ความเจบ็ ป่วย ความโกรธเกลยี ดดุรา้ ยหรอื ปัญหาย่งุ ยากใด ความสุข
แท้เป็นมุมมองใหม่ทชี่ วี ติ (ปัจจุบนั )ต้องนามาใชใ้ นความหวงั ไวใ้ จและศรทั ธาเชอื่ มนั่ ในคาสอนของพระเป็นเจ้า
ความรกั ทพี่ งึ มตี ่อพระเป็นเจา้ และเพอื่ นมนุษยอ์ ย่างซอื่ สตั ยแ์ ละมนั่ ใจในพระสญั ญาของพระเป็นเจา้ มองเหน็ พระ
เป็นเจา้ ในเหตุการณ์ต่างๆ ของชวี ติ ผ่านทางชวี ติ จติ ทสี่ นิทสมั พนั ธก์ บั องคพ์ ระผเู้ ป็นเจา้ โดยทางจติ ภาวนาหรอื
คาภาวนาต่อพระเจา้ ผทู้ รงเป็นหลกั ศลิ ามนั่ คงของชวี ติ ปฏบิ ตั ติ นและดาเนินชวี ติ ตามแบบอย่างของพระเยซูเจา้
พระผูไ้ ถ่กู้มนุษย์ มนุษยจ์ งึ ไม่ได้ปฏบิ ตั ติ นยดึ มนั่ ในมุมมองชวี ติ ตามค่านิยมฝ่ ายโลกหรอื ฝ่ ายเน้ือหนังชวี ติ ฝ่ าย
รา่ งกายแต่อยา่ งเดยี ว แต่ประพฤตปิ ฏบิ ตั ชิ วี ติ ตามมมุ มองแห่งความเชอื่ ศรทั ธาต่อองคพ์ ระเป็นเจา้ และคาสงั่ สอน
ของพระองค์(หรอื พระวาจาของพระเป็นเจา้ ) ศาสนาครสิ ต์ไม่ใช่แผนการลดความเครยี ด ลดน้าหนัก ก้าวหน้าในอาชพี
การงาน หรอื รกั ษาตนใหพ้ น้ จากความเจบ็ ไข้ แต่ศรทั ธาของชาวครสิ ต์คอื หนทางในการใชช้ วี ติ โดยยดึ มนั่ อย่ใู น
ความหวงั ทแ่ี น่นอนมนั่ คงวา่ ความอ่อนโยนถ่อมตนคอื หนทางสพู่ ระเป็นเจา้ ว่าความชอบธรรมและสนั ตสิ ุขจะชนะ
ทุกสงิ่ ในทส่ี ุด และอนาคตของพระเป็นเจา้ คอื เวลาแหง่ ความเมตตา ไม่ใชค่ วามโหดรา้ ย ดงั นนั้ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั พรคือผทู้ ่ี
ใชช้ วี ติ อย่ใู นขณะน้ี แมว้ ่าชวี ติ นนั้ จะดโู งเ่ ขลาหรอื ยอมรบั สงิ่ ทโี่ ลกเหน็ ว่าโงเ่ ขลา แต่ในตอนสดุ ทา้ ยแลว้ พวกเขา
จะไดร้ บั การพสิ จู น์รบั รองยนื ยนั ในความสขุ แทท้ จี่ ะไดร้ บั จากพระผเู้ ป็นเจา้

มทั ธิว 5:13 – ศิษยเ์ ป็นเกลอื ดองแผน่ ดิน

เกลือดองแผน่ ดิน และแสงสว่างส่องโลก
13 “ท่านทงั้ หลายเป็นเกลอื ดองแผน่ ดนิ ถา้ เกลอื จดื ไปแลว้ จะเอาอะไรมาทาใหเ้ คม็ อกี เลา่ เกลอื นนั้ ยอ่ มไม่มปี ระโยชน์

อะไร นอกจากจะถูกทง้ิ ใหค้ นเหยยี บย่า

ข้อศึกษาวิพากษ์
ถงึ แมว้ ่าท่านนักบุญมทั ธวิ จะใชแ้ หล่งขอ้ มลู จากเอกสารแหล่ง Q แต่ท่านเลอื กอย่างรบั ผดิ ชอบ เลอื กใช้

รูปแบบกรยิ าปัจจุบนั กาล งานเขยี น สถานท่ี และหน้าท่ขี องคากล่าวสอนเร่อื งเกลอื และแสงสว่าง ซ่งึ เป็นจุดท่ี
เช่อื มต่อจากความสุขแท้ไปยงั คาสอนใน 5:17-7:12 ชวี ติ ของศษิ ยก์ าเนิดขน้ึ จากการใชช้ วี ติ ภายในชุมชนของผู้
เช่อื ชุมชนทไ่ี ดร้ บั มอบหมายพนั ธกจิ สาหรบั โลก มกี ารนาแก่นคาสอนของพระอาณาจกั รใหม่เร่อื งการไม่ตอบโต้
กลบั ทพ่ี ระเยซูเจา้ ไดท้ รงสอนไวม้ าปฏบิ ตั จิ รงิ อย่างสมบูรณ์แบบ ถงึ แมว้ ่าพวกเขาจะขดั แยง้ กบั โลกน้ีและถูกขม่
เหงเบยี ดเบยี นเชน่ เดยี วกบั อาจารยข์ องพวกเขา แต่ศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ จะดารงชวี ติ เพอ่ื ประโยชน์ของประชากร
โลกทก่ี าลงั เบยี ดเบยี นขม่ เหงพวกเขา

คากล่าวนนั้ เป็นการเปรยี บเทยี บทม่ี คี าถามเชงิ สานวนโวหารสนั้ ๆ พดู ถงึ ศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ ในฐานะท่ี
เป็น ”เกลอื ” ไม่ใช่เรอ่ื งนิทานอุปมา (Parable) ซง่ึ จาเป็นตอ้ งมกี ารกระทาของผเู้ ล่า และไม่ใช่นิทานเปรยี บเทยี บ
(Allegory) ซง่ึ แตล่ ะองคป์ ระกอบสามารถนามาถอดรหสั ตคี วามถงึ สง่ิ ท่เี รอ่ื งนนั้ หมายถงึ ไดพ้ รอ้ มๆ กนั คากลา่ วน้ี
มลี กั ษณะชวนใหร้ ะลกึ ถงึ ภาพในอดตี และมคี วามหมายหลายชนั้ เน่ืองจากเกลอื เป็นสงิ่ ทส่ี อ่ื ความหมายโดยนยั ได้

138

มากมายในธรรมประเพณีและบรบิ ทของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ความหมายเหล่านัน้ รวมถงึ การเสยี สละ (ลนต.
2:13; อสค. 43:24) ความจงรกั ภกั ดี และพนั ธสญั ญาแห่งความซ่ือสตั ย์ (อสร. 4:14; กดว. 18:19; การรบั ประทานอาหารร่วมกนั
เรยี กว่า “แบ่งปันเกลอื ” และส่อื ถงึ ความสมั พนั ธ์ท่ผี ูกมดั ) การชาระล้างให้บรสิ ุทธิ ์ (2 พกษ. 2:19-22) การปรุงรส (โยบ. 6:6; คส. 4:5)
และสารสาหรบั ถนอมอาหาร

คาว่า “พวกท่าน” ในตอนตน้ เน้นความสาคญั โดยการเลอื กใชค้ า (ในภาษากรกี คาสรรพนาม uJmei'v [hymeis]
เป็นคาท่ไี ม่จาเป็นต้องใส่ แต่ถ้าใส่แสดงว่าต้องการเน้น) และตาแหน่ง ดงั นัน้ ประโยคน้ีจงึ สามารถแปลได้ว่า “เป็นพวกท่าน
(ไม่ใชผ่ อู้ น่ื ทอ่ี าจหมายถงึ ชาวฟารสิ หี รอื ชาวยวิ ?) ทเี่ ป็นเกลอื ดองโลก” แต่ถงึ กระนนั้ ไมม่ คี วามรสู้ กึ หลงตวั เองอยใู่ นประโยคน้ี
เพราะคากล่าวน้ีเป็นเสมอื นคาเตอื นทบ่ี อกวา่ ถา้ ศษิ ยป์ ฏเิ สธพนั ธกจิ ของตนเองบนโลก พวกเขา(กเ็ ชน่ กนั )จะถูกโยน
ออกไปขา้ งนอกเน่ืองจากไรป้ ระโยชน์ เกลอื สญู เสยี ความเคม็ ไมใ่ ชเ่ พราะปาฏหิ ารยิ ท์ างสารเคมที เ่ี ป็นไปไม่ได้ แต่
เป็นเพราะวา่ มนั ถูกเจอื ปน ไปผสมผสานกบั องคป์ ระกอบอ่นื มากเกนิ ไป จนสญู เสยี หน้าทข่ี องตนเอง (ดูคาอภปิ ราย
เรอ่ื ง “ความมใี จบรสิ ทุ ธ”ิ์ ดา้ นบน) การมงุ่ เน้นท่ี “โลก” เป็นลกั ษณะของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ คาว่า โลก หรอื Earth ใน
ทน่ี ้ีเทยี บเท่ากบั คาว่า โลก หรอื World (เทยี บ 5:14 ค่ขู นานกนั .) นกั บุญมทั ธวิ อา้ งองิ ถงึ โลก (the World) เกา้ ครงั้ และ
ไม่ไดเ้ ป็นการกลา่ วในเชงิ ทวนิ ิยมทางลบ (Negative Dualistic) เลยแมแ้ ต่ครงั้ เดยี ว โลกไม่ไดเ้ ป็นของมารซาตาน
แต่เป็นสง่ิ สรา้ งของพระผเู้ ป็นเจา้ (13:35; 24:21) เป็นฉากทเ่ี ป็นพนั ธกจิ ของศษิ ย์ (5:14; 13:38; 26:13) เป็นสถานทซ่ี ง่ึ น้า
พระทยั ของพระเป็นเจา้ จะสาเรจ็ สมบูรณ์ในทส่ี ุด (6:10) เกลอื ไม่ไดด้ ารงอย่เู พ่อื ตวั ของมนั เอง ศษิ ยก์ เ็ ช่นกนั ชวี ติ
ของพวกเขาหนั ออกสู่โลก ในท่ีน้ีไม่มนี ิกายหรอื ความคดิ ท่เี ป็นการแบ่งแยกกลุ่ม (Provincial Mentality) “ผนื
แผน่ ดนิ นนั้ คอื โลก” (13:38)

มทั ธิว 5:14-16 สาวกเป็นแสงสวา่ งส่องโลก และเมอื งที่อย่บู นภเู ขา

14 “ท่านทงั้ หลายเป็นแสงสว่างสอ่ งโลก เมอื งทต่ี งั้ อย่บู นภเู ขาจะไมถ่ กู ปิดบงั 15 ไมม่ ใี ครจุดตะเกยี งแลว้ เอามาวางไวใ้ ตถ้ งั แต่
ยอ่ มตงั้ ไวบ้ นเชงิ ตะเกยี ง จะไดส้ ่องสวา่ งแก่ทุกคนในบา้ น 16 ในทานองเดยี วกนั แสงสว่างของท่านตอ้ งส่องแสงตอ่ หน้ามนุษย์
เพอ่ื คนทงั้ หลายจะไดเ้ หน็ กจิ การดขี องท่าน และสรรเสรญิ พระบดิ าของทา่ นผสู้ ถติ ในสวรรค์

ข้อศึกษาวิพากษ์
พนั ธกจิ ของศษิ ยใ์ นโลกแสดงเป็นภาพเสรมิ เพมิ่ เตมิ โดยนาคาอปุ มา (Metaphor) สองคามาวางประกบไว้

ขา้ งๆ กนั เพอ่ื เปรยี บเทยี บ แสงสว่างเป็นคาอุปมาทส่ี ่อื ถงึ การทศ่ี ษิ ยเ์ ป็นแสงสว่างใหก้ บั โลก หน้าทห่ี ลกั ของแสง
สว่างไม่ใช่การให้ผู้อ่ืนเห็นตวั มนั เอง แต่เป็นการช่วยให้ผู้อ่ืนได้มองเห็นสง่ิ ต่างๆ รอบตัวตามความเป็นจรงิ
ในทางตรงขา้ มกนั ทน่ี ่าคดิ คอื ภาพอปุ มาของเมอื งทอ่ี ยบู่ นภเู ขาสอ่ื วา่ ศษิ ยค์ อื ผทู้ ต่ี อ้ งแสดงตวั ใหผ้ อู้ ่นื เหน็ อย่างไม่
อาจหลบหรอื หลกี เลย่ี ง (ดขู อ้ คดิ ไตร่ตรอง ดา้ นลา่ ง เกย่ี วกบั ความขดั แยง้ กบั 6:1-18)

คุณลกั ษณะท่โี ต้แย้งกนั ใน 5:13 อาจเห็นได้ชดั เจนยงิ่ ข้นึ จากจุดน้ี เน่ืองจาก “แสงสว่าง” (สาหรบั ชนชาติ
ทงั้ หลาย) และ “เมอื งท่อี ย่บู นภูเขา” (ทซ่ี ง่ึ ประชาชาตทิ งั้ หลายพากนั ไปรวมตวั อยู่ในภาวะอนั ตกาล อสย. 2: 2-5; 42:6; 49:6) ทงั้ สองคา
นามาใชอ้ า้ งองิ ถงึ พนั ธกจิ ทช่ี าวอิสราเอลมตี ่อชนชาตติ ่างๆ นกั บุญมทั ธวิ เชอ่ื วา่ ชาวอสิ ราเอลทป่ี ระพฤตผิ ดิ พลาด
ลม้ เหลวในการปฏบิ ตั พิ นั ธกจิ ในฐานะประชากรพระเป็นเจา้ พระศาสนจกั รชาวครสิ ต์ทป่ี ระกอบดว้ ยชาวยวิ และ
ชนต่างศาสนาจงึ ตอ้ งรบั หน้าทน่ี ้ีแทน (28:18-20) แต่น่ีเช่นกนั ไม่ใช่ประเดน็ ใชค้ ากล่าวสอนน้ีเพ่อื โตแ้ ยง้ กบั ชาวยวิ

139

เพยี งเป็นคาเตอื นใหศ้ ษิ ยไ์ มท่ าพนั ธกจิ บกพรอ่ งลม้ เหลว คากล่าวสอนเรอ่ื งเกลอื และแสงสวา่ งเน้นยา้ วา่ เป็นพนั ธ-
กจิ ในคุณสมบตั ขิ องการเป็นศษิ ย์ เช่นเดยี วกบั ทค่ี วามเคม็ เป็นสง่ิ สาคญั ทข่ี าดไม่ไดข้ องเกลอื และความสว่างเป็น
สง่ิ สาคญั ของแสง สาหรบั เกลอื ตอ้ งมรี สเคม็ ไมใ่ ช่สง่ิ ทเ่ี ลอื กได้ ดว้ ยคาอปุ มาทงั้ สามอยา่ ง คอื เกลอื แสงสวา่ งและ
เมอื ง พระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ จงึ ตอกย้าศาสนาท่มี ุ่งเน้นความเป็นเร่อื งส่วนตนและกลุ่มบุคคล
(Purely Personal and Private) คาเทศน์สอนน้ีไม่ได้มีผู้ฟังเฉพาะแต่สาวกเท่านัน้ แต่ผู้ฟังคอื “ฝูงชนจานวน
มาก” ดว้ ย (7:28:29) ซ่งึ เป็นสงิ่ ทห่ี มายแสดงว่าพระศาสนจกั รไม่ใช่เป็นชุมชนเฉพาะของกลุ่มศษิ ยแ์ รกเรม่ิ เท่านัน้
ไม่ใช่เป็นชุมชนท่ปี ฏบิ ตั แิ ต่เพยี งดาเนินชวี ติ ดว้ ยการสวดภาวนาอย่างเป่ียมพลงั แบบเงยี บๆ ภายในหอ้ งชนั้ ใน
(6:6 จติ ตารมณ์และวธิ กี ารสวดภาวนา) และไม่ใชก่ ลุ่มคนท่ปี ฏบิ ตั ติ นเป็นชุมชนลบั ทแ่ี ยกตวั จากสงั คมหรอื ปลกี ตวั จากโลก
แต่ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเป็นดงั่ เกลอื ดองแผ่นดนิ ทม่ี คี วามเคม็ เพ่อื ผอู้ ่นื ไม่ใช่เพ่อื ตนหรอื กลุ่มพวกของตน เป็นดงั
แสงส่องสว่างแก่ผู้อ่ืนและแก่สงั คมโลก และเป็นเมืองท่ีตัง้ อยู่บนเขาซ่ึงไม่อาจปิดบังชีวิตแท้จรงิ ของตน(แก่
สาธารณะชน)ได้

นักบุญมทั ธวิ ได้นาคากล่าวสอนจากเอกสารแหล่ง Q มาเรยี บเรยี งใหม่เพ่อื เน้นความหมายขดั แยง้ ตรง
ขา้ มกนั ระหว่างการจุดตะเกียงและการนา(ตะเกยี ง)ไปวางไวใ้ ต้ “ถงั ” (ภาษากรกี mo"diov modios NIV “ชาม”) บรรดา
ศษิ ย์ได้รบั เรยี กใหม้ าเพ่อื ร่วมพนั ธกจิ จรงิ จงั คอื “ส่องแสงของพวกเขาให้(แสง)สว่าง” แก่ “ทุกคน” แต่พวกเขา
ไม่ไดก้ ่อเกดิ แสงสวา่ งใหแ้ ก่ตนเอง ไม่ไดม้ ากไปกว่าเกลอื ก่อเกดิ รสเคม็ ของตวั เอง คาอุปมาเหล่าน้ีแสดงภาพให้
เขา้ ใจว่าพระศาสนจกั รถูกจุดใหส้ ว่างแลว้ โดยไดร้ บั แสงจากตน้ กาเนิดความสว่างคอื พระเป็นเจา้ พวกเขาไดร้ บั
การจดุ ใหส้ วา่ งไม่ใช่เพอ่ื ตวั ตนเอง แต่เพอ่ื ผอู้ ่นื ทงั้ โลก ในทน่ี ้ีชุมชนของศษิ ยต์ อ้ งเป็นแสงสวา่ งใหก้ บั โลกทม่ี ดื มดิ
เช่นเดยี วกบั พระเยซูเจ้า(เสดจ็ ไปยงั แควน้ กาลลิ )ี ใน 4:12-17 (เทียบ อสิ ยาห์ 9:2) และในเม่อื การกระทาของพระเยซูเจ้า
ไม่ได้ทรงมุ่งเพ่อื พระสริ ริ ุ่งโรจน์ของพระองค์เอง แต่ทรงกระทาเพ่อื พระสริ ริ ุ่งโรจน์ของพระเป็นเจ้า (9:8) ดงั นัน้
วตั ถุประสงคข์ องการท่ีศษิ ยก์ ระทาภารกจิ แห่งความชอบธรรม/ความยุตธิ รรมต่อชุมชนโลก จงึ ไม่ใช่ภารกจิ เพ่อื
ประโยชน์ของพวกเขาเองแต่เพอ่ื เทดิ พระเกยี รตพิ ระเป็นเจา้ พนั ธกจิ ของศษิ ยเ์ ป็นภารกจิ ท่ไี ดร้ บั การมอบอานาจ
และไดร้ บั ถ่ายทอดสอนล่วงหน้าจากคาสอนและแบบอย่างแห่งพนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ และเป็นบทบาทหน้าทท่ี ่ี
ตอ้ งสบื สานพนั ธกจิ นนั้ ต่อไป (ดู 10:1)

บทเทศน์สอนส่วนแรกทัง้ หมดแสดงเป็นคากล่าวสอนแบบเรยี บง่ายชดั แจ้งในรูป ประโยคบอกเล่า
(Indicative) แต่คาสอนใหป้ ฏบิ ตั ทิ เ่ี คยี งค่ตู ามมาเป็นแบบประโยคคาสงั่ (Imperative) ดงั น้ี ขอ้ สรุปจบของยอ่ หน้า
เกย่ี วกบั “แสงสว่าง” จงึ เป็นคากล่าวสอนจากรปู ประโยคบอกเล่าเป็นการออกคาสงั่ ใหป้ ฏบิ ตั ใิ นรปู ประโยคคาสงั่
ทย่ี งั ยนื หยดั มนั่ คงบนรากฐานชวี ติ ทว่ี า่ : “จงเป็นอย่างทท่ี า่ นเป็น”

ข้อคิดไตร่ตรอง
1. คาว่า “พวกท่านเป็น” (You Are) ของคากล่าวสอนเร่อื งเกลอื และแสงสว่างเป็นคาพหูพจน์ ในภาษากรกี ท่ี

กลา่ วกบั บรรดาศษิ ย์ บรรดาศษิ ยเ์ ป็นอย่างทพ่ี วกเขาเป็น ไมใ่ ชเ่ พราะพวกเขามศี กั ยภาพภายใน จงึ ถกู เรยี ก
มาใหร้ บั รตู้ ระหนักและพฒั นาศกั ยภาพนนั้ แต่เป็นเพราะถอ้ ยพระวาจาของพระเยซูเจา้ เอง (ดู 4:18-22) คา
ประกาศน้ีจงึ มคี วามตอ่ เน่อื งมาจากภาษาเชงิ ปฏบิ ตั ใิ นความสขุ แท้ ผอู้ ่าน/บรรดาศษิ ยข์ องนกั บุญมทั ธวิ ไมไ่ ด้
ถูกทา้ ทายใหพ้ ยายามมากขน้ึ เพ่อื เป็นเกลอื และแสงสว่าง แต่ได้การรบั บอกกล่าวว่าในฐานะผูต้ ดิ ตามพระ

140

เยซูเจา้ พวกเขาต้องเป็นเกลอื และแสงสว่างสาหรบั โลก เน้ือหาส่วนน้ีไม่ไดเ้ รยี กรอ้ งผูอ้ ่านใหท้ ุ่มเทพฒั นา
ตนเองมากขน้ึ (self-exertion) แต่ตอ้ งเช่อื ในพระวาจาของพระเยซูเจา้ ยอมรบั และดาเนินชวี ติ ในความเป็น
จรงิ ใหม่ทไ่ี ดเ้ กดิ ขน้ึ ภายในเรยี บรอ้ ยแลว้ ในกระแสเสยี งเรยี กสคู่ วามเป็นศษิ ย์
2. การ “สอ่ งสว่างแก่คนทงั้ ปวง เพอ่ื ว่าเม่อื เขาทงั้ หลายไดเ้ หน็ กจิ การความดขี องท่าน” (ว. 16) เป็นภาวะทด่ี ขู ดั ๆ
กบั 6:1-18 (เทยี บ โดยเฉพาะ 6:3 และ 5:16) และขอ้ ความอ่นื ๆ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ จะเหน็ ได้ว่าในพระวร
สารน้ีดูเหมอื นมคี วามขดั ขอ้ งไม่สอดคลอ้ งกนั ในลกั ษณะดงั กล่าวอยู่มาก (เช่น 5:4 กบั 9:5; 5:9 กบั 10:34; 6:34 กบั
25:1; 8:12 กบั 13:38; 9:13 กบั 10:41; 16:6 กบั 23:3) เราไม่ควรรบี สรุปวา่ ความขดั ขอ้ งไม่สอดคลอ้ งเหล่าน้ีเป็นตวั อยา่ ง
ของ “ขอ้ ความในพระคมั ภรี ท์ ข่ี ดั แยง้ กนั เอง” ไมค่ วรรบี จบั มาผสมผสานกนั จนเป็นกลายเป็นความสอดคลอ้ ง
ท่ที าข้นึ อย่างลงตวั นุ่มนวลเพ่อื ให้ทุกฝ่ ายสบายใจ (Bland Consistency) เน่ืองจากว่าขอ้ ความเหล่าน้ีเป็น
ตวั แทนของมติ ทิ ม่ี อี านาจของคาสอนทอ่ี ยใู่ นพระคมั ภรี ์ (เทยี บ ตวั อยา่ งเช่น สภษ. 26:4-5) สง่ิ น้ีเป็นธรรมชาตขิ องคา
สอนท่มี าจากปรชี าญาณแบบสุภาษิตโดยทวั่ ไป อย่างเช่น “ดูให้ดๆี ก่อนทจี่ ะ(กระโดด)ขา้ ม” กบั “ใครช้า
ลงั เล กอ็ ด” หรอื “คนโงร่ บี เร่ง ขณะทเี่ ทวดาเกรงกลวั ทจี่ ะย่างก้าว” กบั “ช่างหวั พายุมนั เร่ง-ความเรว็ เตม็
กาลงั ” ประเดน็ กล่าวหาเร่อื งความขดั ขอ้ งไม่สอดคลอ้ งสม่าเสมออาจเป็นการกล่าวเพ่อื แยง้ โจมตคี วามเป็น
ตวั ตน(ความนึกคดิ )ของบุคคล แต่มคี ากล่าวท่วี ่า “ความสอดคลอ้ งสม่าเสมอคอื ของหลอก(เดก็ )ของคนใจ
แคบ หรอื การยดึ ตดิ กบั สง่ิ ปฏบิ ตั ทิ ค่ี ุน้ เคย” นักบุญมทั ธวิ ประพนั ธพ์ ระวรสารในฐานะธรรมาจารยช์ าวครสิ ต์
เป็นผู้ดารงรกั ษาและสบื ต่อปรชี าญาณแบบสุภาษิตคาสอนของศาสนาครสิ ต์ (เทยี บ 13:52) พระวรสารไม่ได้
นพิ นธข์ น้ึ เพอ่ื เป็น “Halakah” หรอื กฎการใชช้ วี ติ ของชาวยวิ แต่เพอ่ื กระตุน้ จนิ ตนาการและความรบั ผดิ ชอบ
ส่วนบุคคล (ดูความคดิ เห็นเร่อื ง การเป็น “นักเทวศาสตร์พระเยซูเจ้า” และปัญหาเก่ยี วกบั คาช้แี นะเชงิ ศลี ธรรมใน 5:21-48) ด้านท่มี ี
เหลย่ี มแหลมคมของคาสอนพระเยซูเจา้ ไม่ควรถูกนามาปัดใหเ้ รยี บเรว็ เกนิ ไปเพอ่ื จะไดส้ อดคลอ้ งกบั คาสอน
อ่ืนๆ ในพระคมั ภีร์ หรอื สอดคล้องกนั เอง คาพูดสอนเก่ียวกบั พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้าก่อให้เกิด
ความรสู้ กึ บางอยา่ งท่หี ยาบเถ่อื นและสด (Wildness) ซง่ึ ถา้ ไม่มหี รอื ตดั ออกไปจะดนู ุ่มนวลน่าฟังหรอื ปรบั ให้
เขา้ กบั ขนบธรรมเนียม กรณีน้เี ช่นกนั นกั บุญมทั ธวิ สามารถใชค้ วามเป็นครขู องพระศาสนจกั ร ทงั้ ธารงรกั ษา
ความเป็นธาตุแทด้ งั เดมิ ของถอ้ ยคาสอนของพระเยซูเจา้ และถ่ายทอดเป็นคาแนะนาเชงิ ปฏบิ ตั ทิ ไ่ี ดป้ รบั แต่ง
เป็นคาสอนอย่างเหมาะสมกบั ความเป็นจรงิ ของชวี ติ ประจาวนั ท่านทาเช่นน้ีท่านไม่ใช่ทาแบบการเขยี น
เรยี งความ แต่นิพนธเ์ พอ่ื สรา้ งตน้ แบบของการใชช้ วี ติ (ตามแบบพระวรสาร)เช่นนนั้ น่ีคอื สาระทเ่ี ป็นหน่ึงในความ
ลกึ ซ้งึ สมบูรณ์หลายประการในตอนต่อไปของบทเทศน์สอนบนภูเขา (5:17-48 ดู ขอ้ คดิ ไตร่ตรองเกยี่ วกบั บทเทศน์สอน

ในภาพรวม)

141

มทั ธิว 5:17 – 7:12 – ชีวิตในชมุ ชนแห่งอนั ตกาล

มทั ธิว 5:17–48 “ธรรมบญั ญตั ิ”

พระเยซูเจา้ ทรงทาให้ธรรมบญั ญตั ิสมบรู ณ์
17 “จงอยา่ คดิ วา่ เรามาเพอ่ื ลบลา้ งธรรมบญั ญตั หิ รอื คาสอนของบรรดาประกาศก เรามไิ ดม้ าเพอ่ื ลบลา้ ง แตม่ าเพอ่ื ปรบั ปรงุ ให้

สมบรู ณ์ 18 เราบอกความจรงิ แก่ท่านทงั้ หลายวา่ ตราบใดทฟ่ี ้าและดนิ ยงั ไม่สญู สน้ิ ไป แมแ้ ต่ตวั อกั ษรหรอื จดุ เดยี วจะไมข่ าดหาย
ไปจากธรรมบญั ญตั จิ นกวา่ ทกุ อยา่ งจะสาเรจ็ ไป 19 ดงั นนั้ ผใู้ ดละเมดิ ธรรมบญั ญตั เิ พยี งขอ้ เดยี ว แมเ้ ลก็ น้อยทส่ี ดุ และสอนผอู้ ่นื ให้
ละเมดิ ดว้ ย จะไดช้ อ่ื วา่ เป็นผตู้ ่าตอ้ ยทส่ี ดุ ในอาณาจกั รสวรรค์ สว่ นผทู้ ป่ี ฏบิ ตั แิ ละสอนผอู้ น่ื ใหป้ ฏบิ ตั ดิ ว้ ย จะไดช้ อ่ื วา่ เป็นผยู้ ง่ิ ใหญ่
ในอาณาจกั รสวรรค์
มาตรฐานใหม่ สงู กวา่ มาตรฐานเดิม

20 “เราบอกท่านทงั้ หลายวา่ ถา้ ความชอบธรรมของทา่ นไมด่ ไี ปกวา่ ความชอบธรรมของบรรดาธรรมาจารยแ์ ละชาวฟารสิ แี ลว้
ทา่ นจะเขา้ อาณาจกั รสวรรคไ์ มไ่ ดเ้ ลย

21 “ทา่ นไดย้ นิ คากล่าวแก่คนโบราณวา่ อยา่ ฆ่าคน ผใู้ ดฆา่ คนจะตอ้ งขน้ึ ศาล 22 แตเ่ รากลา่ วแก่ท่านวา่ ทุกคนทโ่ี กรธเคอื งพ่ี
น้อง จะตอ้ งขน้ึ ศาล ผใู้ ดกลา่ วแก่พน่ี ้องวา่ ‘ไอโ้ ง’่ ผนู้ นั้ จะตอ้ งขน้ึ ศาลสงู ผใู้ ดกล่าวแก่พน่ี ้องวา่ ‘ไอโ้ งบ่ ดั ซบ’ ผนู้ นั้ จะตอ้ งถูกปรบั
โทษถงึ ไฟนรก 23 ดงั นนั้ ขณะทท่ี ่านนาเครอ่ื งบูชาไปถวายยงั พระแทน่ ถา้ ระลกึ ไดว้ า่ พน่ี ้องของท่านมขี อ้ บาดหมางกบั ทา่ นแลว้ 24
“จงวางเครอ่ื งบูชาไวห้ น้าพระแทน่ กลบั ไปคนื ดกี บั พน่ี ้องเสยี ก่อน แลว้ จงึ คอ่ ยกลบั มาถวายเครอ่ื งบูชานนั้ 25 จงคนื ดกี บั คคู่ วาม
ของทา่ นขณะทก่ี าลงั เดนิ ทางไปศาลดว้ ยกนั มฉิ ะนนั้ คคู่ วามจะมอบทา่ นแก่ผพู้ พิ ากษา และผพู้ พิ ากษาจะมอบทา่ นใหผ้ คู้ ุม ซง่ึ จะ
ขงั ท่านในคกุ 26 เราบอกความจรงิ แก่ท่านวา่ ท่านจะออกจากคกุ ไมไ่ ด้ จนกวา่ ท่านจะชาระหน้ีจนเศษสตางคส์ ุดทา้ ย

27 “ทา่ นไดย้ นิ คากลา่ วทว่ี า่ อย่าล่วงประเวณี 28 แตเ่ รากลา่ วแก่ท่านทงั้ หลายวา่ ผใู้ ดมองหญงิ ดว้ ยความใคร่ กไ็ ดล้ ว่ ง
ประเวณีกบั นางในใจแลว้ 29 ถา้ ตาขวาของทา่ นเป็นเหตุใหท้ ่านทาบาป จงควกั มนั ทง้ิ เสยี เพราะเพยี งแต่เสยี อวยั วะส่วนเดยี ว ยงั ดี
กวา่ ปล่อยใหร้ า่ งกายทงั้ หมดของทา่ นตกนรก 30 ถา้ มอื ขวาของท่านเป็นเหตุใหท้ า่ นทาบาป จงตดั มนั ทง้ิ เสยี เพราะเพยี งแตเ่ สยี
อวยั วะส่วนเดยี ว ยงั ดกี วา่ ปล่อยใหร้ า่ งกายทงั้ หมดตกนรก

31 “มคี ากลา่ ววา่ ผใู้ ดจะหยา่ กบั ภรรยา กจ็ งทาหนังสือหย่ามอบให้นาง 32 แตเ่ รากล่าวแก่ทา่ นทงั้ หลายวา่ ผใู้ ดทห่ี ยา่ กบั
ภรรยา ยกเวน้ กรณีแตง่ งานไมถ่ ูกตอ้ งตามกฎหมาย กเ็ ท่ากบั ว่าทาใหน้ างลว่ งประเวณี และผใู้ ดทแ่ี ต่งกบั หญงิ ทไ่ี ดห้ ยา่ รา้ ง กล็ ่วง
ประเวณีดว้ ย

142

33 “ทา่ นยงั ไดย้ นิ คากล่าวแก่คนโบราณวา่ อยา่ ผิดคาสาบาน แต่จงทาตามทีไ่ ด้สาบานไว้ต่อองคพ์ ระผเู้ ป็นเจ้า 34 แตเ่ รา
บอกท่านทงั้ หลายวา่ อยา่ สาบานเลย อยา่ อา้ งถงึ สวรรค์ เพราะเป็นทป่ี ระทบั ของพระเจา้ 35 อยา่ อา้ งถงึ แผ่นดิน เพราะเป็นทีร่ อง
พระบาทของพระองค์

“อยา่ อา้ งถงึ กรุงเยรซู าเลม็ เพราะเป็นนครหลวงของพระมหากษตั รยิ ์ 36 อยา่ อา้ งถงึ ศรี ษะของท่าน เพราะทา่ นไมอ่ าจเปลย่ี น
ผมสกั เสน้ ใหเ้ ป็นดาเป็นขาวได้ 37 ท่านจงกล่าวเพยี งวา่ ‘ใช’่ หรอื ‘ไมใ่ ช’่ ทเ่ี กนิ ไปนนั้ มาจากปีศาจ

38 “ท่านเคยไดย้ นิ เขากลา่ ววา่ ‘ตาต่อตา ฟันต่อฟัน’ 39 แตเ่ รากล่าวแก่ทา่ นทงั้ หลายวา่ อย่าโตต้ อบคนชวั่ ผใู้ ดตบแกม้ ขวา
ของทา่ น จงหนั แกม้ ซา้ ยใหเ้ ขาดว้ ย 40 ผใู้ ดอยากฟ้องท่านทศ่ี าลเพอ่ื จะไดเ้ สอ้ื ยาวของท่าน กจ็ งแถมเสอ้ื คลุมใหเ้ ขาดว้ ย 41 ผใู้ ดจะ
เกณฑใ์ หท้ า่ นเดนิ ไปกบั เขาหน่ึงหลกั จงไปกบั เขาสองหลกั เถดิ 42 ผใู้ ดขออะไรจากทา่ น กจ็ งให้ อยา่ หนั หลงั ใหผ้ ทู้ ม่ี าขอยมื สง่ิ ใด
จากทา่ น

43 “ท่านทงั้ หลายไดย้ นิ คากลา่ ววา่ จงรกั เพือ่ นบา้ น จงเกลยี ดศตั รู 44 แตเ่ รากล่าวแก่ท่านวา่ จงรกั ศตั รู จงอธษิ ฐานภาวนาให้
ผทู้ เ่ี บยี ดเบยี นท่าน 45 เพอ่ื ท่านจะไดเ้ ป็นบุตรของพระบดิ าเจา้ สวรรค์ พระองคโ์ ปรดใหด้ วงอาทติ ยข์ องพระองคข์ น้ึ เหนอื คนดแี ละ
คนชวั่ โปรดใหฝ้ นตกเหนือคนชอบธรรมและคนอธรรม 46 ถา้ ท่านรกั แตค่ นทร่ี กั ท่าน ทา่ นจะไดบ้ าเหน็จรางวลั อะไรเลา่ บรรดาคน
เกบ็ ภาษี มไิ ดท้ าเชน่ น้ีดอกหรอื 47 ถา้ ท่านทกั ทายแต่พน่ี ้องของทา่ นเท่านนั้ ท่านทาอะไรพเิ ศษเล่า คนตา่ งศาสนามไิ ดท้ าเชน่ น้ี
ดอกหรอื 48 ฉะนนั้ ท่านจงเป็นคนดอี ยา่ งสมบรู ณ์ ดงั ทพ่ี ระบดิ าเจา้ สวรรคข์ องท่าน ทรงความดอี ยา่ งสมบูรณ์เถดิ

ข้อศึกษาวิพากษ์
5:17-20 สงิ่ สาคญั ยงิ่ หากเราจะเขา้ ใจบทเทศน์สอนบนภูเขาได้อย่างถูกต้อง ในธรรมบญั ญตั เิ องและในการ

เสวนาระหว่างธรรมบญั ญัติกบั บรรดาประกาศกต่อๆ มา เราก็เห็นถึงภาวะการขดั แย้งกนั ระหว่างกฎหมาย
พิจารณาโทษการกระทาผดิ ซ่ึงก่อร่างโครงสร้างทางสงั คมของช่วงเวลาหน่ึงข้นึ มา กบั กฏเกณฑ์สาคญั แห่ง
บทบญั ญตั ขิ องพระเป็นเจ้า ในแบบท่กี ฏขอ้ บงั คบั ท่ปี ฏบิ ตั อิ ยู่จาเป็นต้องไดร้ บั การตรวจสอบ ได้รบั การพฒั นา
และไดร้ บั การปรบั ปรุงแก้ไขอยู่เสมอ พระเยซูเจา้ มไิ ดท้ รงกระทาสง่ิ ใหม่ใดๆ หรอื ทาสงิ่ ทไ่ี ม่เคยเกดิ ขน้ึ มาก่อน
เม่อื พระองคท์ รงชใ้ี หเ้ หน็ ความแตกต่างระหว่างกฏลงโทษการกระทาผดิ ทถ่ี อื ปฏบิ ตั กิ นั อยู่ และไดร้ บั การพฒั นา
ในธรรมบญั ญตั กิ บั พระประสงค์แทข้ องพระเป็นเจา้ ท่พี ระองคท์ รงแทนดว้ ยคาว่า “ความชอบธรรมทเ่ี หนือกว่า”

(มธ. 5: 20) (อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร์ หน้า 235-236..)

ธรรมบญั ญตั ิ (the Law) และ “ความชอบธรรมท่เี หนือกว่า” (Greater Righteousness) นกั บุญมทั ธวิ นาคา
สอนของพระเยซูเจา้ (5: 17-21) มาใชเ้ ป็นบทนาสาหรบั ขอ้ ความทใ่ี ชถ้ ้อยคาขดั แยง้ กนั (Antithesis) ซ่งึ ตามมา
ภายหลงั เป็นหลกั การ โดยรวมท่กี าลงั จะได้รบั การอธบิ ายและแสดงภาพผ่านทางการใช้ถ้อยคาขดั แย้งกนั 6
ประโยคใน 5:21-48 ท่านนักบุญมทั ธวิ ไดน้ าแก่นคาสอนจากเอกสารแหล่ง Q มาขยายใหก้ วา้ งขน้ึ ในเร่อื งความ
น่าเช่อื ถอื อย่างถาวรของพระคมั ภรี ์ ซง่ึ ปัจจุบนั สามารถพบไดใ้ น ลก. 16:17 และไดน้ าทงั้ หมดมาเขยี นใหม่เพ่อื
จดั ใหเ้ ป็นรปู แบบคากลา่ วทม่ี รี ะบบซง่ึ ทาหน้าทเ่ี ป็นบทนาของแกน่ คาสอนของคาเทศนาใน 5:17- 7:12

5:17 “ธรรมบญั ญตั หิ รอื ประกาศก” คอื วงเลบ็ เชงิ วรรณกรรมของ 7:12 เป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ทท่ี าให้ 5:17- 7:12 เป็น
แก่นคาสอนในบทเทศนาน้ี “ธรรมบญั ญตั ”ิ ในทน่ี ้ีคอื หนังสอื ปัญจบรรพหรอื Pentateuch สว่ น “ประกาศก” มที งั้
ประกาศกรนุ่ แรก (โยชอู า – พงศก์ ษตั รยิ )์ และประกาศกรนุ่ หลงั (อสิ ยาห-์ มาลาค)ี สงิ่ น้คี อื แกน่ ศนู ยก์ ลางของพระ
คมั ภรี ภ์ าษาฮบี รู (Hebrew Bible) ในยุคสมยั ของนักบุญมทั ธวิ และเป็นเอกสารท่เี ทยี บเคยี งกบั พระคมั ภรี ข์ อง

143

ชาวยวิ (the Scripture) สว่ นทเ่ี ป็นแกนเช่อื มโยงเกย่ี วขอ้ งกบั ธรรมบญั ญตั เิ ป็นประการแรก แต่ท่านนักบุญมทั ธวิ
ไดเ้ พมิ่ เตมิ หนงั สอื ประกาศกลงไปดว้ ยเพราะท่านถอื ว่าทงั้ หมดเป็นพระคมั ภรี เ์ ดยี วกนั ซง่ึ รวมหนงั สอื ปัญจบรรพ
โดยพ้นื ฐานเป็นคาสอนคาทานายแบบประกาศก และเป็นคาสอนเก่ยี วกบั การทาให้สาเรจ็ เป็นจรงิ สมบูรณ์ใน
อนั ตกาล (ดบู ทเสรมิ เรอ่ื ง “มทั ธวิ ในฐานะผตู้ คี วามพระคมั ภรี ”์ )

คากล่าวแรกน่าจะเป็นงานเขยี นปรบั แต่งของนักบุญมทั ธวิ เป็นส่วนใหญ่ แม้จะมลี กั ษณะแกนหลกั แบบ
ธรรมประเพณี โดยใชใ้ นรปู แบบของคากลา่ วทข่ี น้ึ ตน้ วา่ “เรามาเพอ่ื ” (ภาษากรกี h\lqon elthon) (ดู ส่วนอน่ื จาก มธ. 9:13 =
มก. 2:17; 10:34-35; เทยี บ มธ. 20-28 = มก.10:45; 8:29 = มก.1:24) รปู แบบค่ขู นานอยา่ งแทท้ ใ่ี กลเ้ คยี งทส่ี ดุ กบั 5:17 คอื 10:34
ซง่ึ ทงั้ สองแบบแสดงลกั ษณะเฉพาะของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ รปู แบบน้ีสามารถใชส้ ่อื แสดงมุมมองของผอู้ ย่ใู น
ยุคหลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี ของพระเยซูเจา้ (Post-Easter view) ซ่งึ จะมองยอ้ นกลบั ไปหาความหมายของ
พระประสงค์ทงั้ หมดของพระเยซูเจา้ ซง่ึ ก่อตวั เป็นความเช่อื ศรทั ธาของชาวครสิ ต์ อย่างน้อยกแ็ สดงถงึ จติ สานึก
ของความเป็นประกาศกอนั ทรงอานาจทพ่ี ระผเู้ ป็นเจา้ ทรงสง่ มา และปกตจิ ะสมั พนั ธ์กบั พระอาณาจกั รทจ่ี ะมาถงึ
ในอนั ตกาล รวมถงึ คณุ คา่ ความหมายทซ่ี อ่ นอยซู่ ง่ึ พลกิ ผนั ใหป้ รากฏเกย่ี วกบั การรอคอยทจ่ี ะมาถงึ ในพระวรสาร-
สหทรรศน์ ซ่ึงไม่ได้กล่าวถึงการดารงอยู่ของพระคริสต์ก่อนท่ีพระองค์จะถือกาเนิดบนโลก (Christ’s pre-
existence) ทงั้ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ “เราไดม้ าจากสวรรค”์

“อย่าคดิ ว่า…” (Do Not Suppose…) เป็นขอ้ ความเชงิ ออกตวั กลายๆ ซ่ึงกล่าวกบั คนนอกท่กี ล่าวหาว่า
ชาวครสิ ตป์ ฏเิ สธธรรมบญั ญตั ิ แต่นกั บุญมทั ธวิ กล่าวขอ้ ความน้ีโดยตรงกบั คนใน ซง่ึ เป็นสมาชกิ ชุมชนกลุ่มผเู้ ช่อื
ทไ่ี ดท้ บทวนตคี วามว่าตอ้ งปรบั เปล่ยี นพน้ื ฐานในแนวปฏบิ ตั ขิ องธรรมบญั ญตั ิ ชุมชนน้ีจาเป็นต้องอธบิ ายช้แี จง
ตอบกลบั ต่อขอ้ กล่าวหาจากคนนอก และต้องทาให้ความเขา้ ใจของตนกระจ่างชดั ถงึ ความสมั พนั ธ์ระหว่างการ
เป็นศษิ ยข์ องพระเยซเู จา้ และการเคารพปฏบิ ตั ติ ามกฎขอ้ บงั คบั ของธรรมบญั ญตั ิ

พระเยซูเจา้ ไม่ได้ทรงลบลา้ งธรรมบญั ญตั ิ (เทยี บ 19:16-19) พระองค์ไม่ไดล้ ม้ เลกิ แต่ทรงยนื ยนั ถงึ สถานะท่ี
แท้จรงิ ของธรรมบญั ญัติ ในมุมมองของนักบุญมทั ธวิ พระเยซูเจ้าประสบความสาเรจ็ ในการกระทาท่เี ป็นเชงิ
สรา้ งสรรคใ์ หค้ วามหมายแท้อย่างท่สี ุดกบั ธรรมบญั ญตั ิ กล่าวคอื พระองค์ “ทรงทาใหส้ าเรจ็ สมบูรณ์” (Fulfill It)
คาว่า “ทาใหค้ รบสมบูรณ์” เป็นหมวดหมู่ทส่ี าคญั ของครสิ ตศาสตรใ์ นพระวรสารนักบุญมทั ธวิ และมกี ารใชค้ าว่า
“การทาใหค้ รบสมบูรณ์” (Fulfillment) มากกว่าพระวรสารอ่นื ๆ รวมกนั เราสามารถเขา้ ใจความหมายของคาน้ีใน
สว่ นน้ีไดอ้ ย่างมากมาย ไมใ่ ชห่ มายความวา่ “ทา” ราวกบั พระเยซูเจา้ ทรงยนื ยนั ว่าพระองคไ์ ดก้ ระทาทุกสง่ิ ทธ่ี รรม
บญั ญตั กิ าหนด หรอื “ตคี วาม” ราวกบั วา่ พระองคเ์ พยี งแต่ใหก้ ารตคี วามใหมแ่ ก่ความหมายของธรรมบญั ญตั ิ หรอื
“สรุป” ราวกบั พระองคย์ นื ยนั ว่าคาสอนของพระองคค์ อื การนาธรรมบญั ญตั มิ าสรุปความ (เช่นใน รม. 8:4; 13:8-10; กท.
5:14 เราจะตอ้ งไมน่ าพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ มาอธบิ ายดว้ ยถอ้ ยคาความหมายของนักบุญเปาโล และในทางกลบั กนั กเ็ ช่นกนั ) เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ ง
กบั เทวศาสตรเ์ รอ่ื งการทาใหค้ รบสมบรู ณ์โดยทวั่ ไปของนกั บญุ มทั ธวิ แนวทางการตคี วามทด่ี ที ส่ี ดุ สาหรบั เน้ือหาท่ี
ยาก แต่เป็นสาระสาคญั เน้อื ความสว่ นน้จี งึ น่าจะเป็นดงั ต่อไปน้ี
(1) พระคมั ภรี ข์ องชาวยวิ ทงั้ หมด (“ธรรมบญั ญตั แิ ละประกาศก”) เป็นพยานถงึ พระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ และงาน

ของพระองคใ์ นประวตั ศิ าสตรท์ ผ่ี า่ นมา พระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ ไม่ไดบ้ นั ทกึ เน้อื หาสาระห่างจากคายนื ยนั น้ี
ทา่ นไมไ่ ดค้ ดั คา้ น (การผกู มดั ปฏบิ ตั ติ าม) "กฎบญั ญตั แิ หง่ ศลี ธรรม” ต่อ “กฎบญั ญตั (ิ ชวั่ คราว)แหง่ พธิ กี าร”

144

(2) ภารกจิ ของพระเป็นเจา้ ซง่ึ เป็นพยานยนื ยนั โดยพระคมั ภรี ข์ องชาวยวิ ยงั ไม่เสรจ็ สมบูรณ์ คาสอนในธรรม
บญั ญตั แิ ละบรรดาประกาศกได้ถูกตคี วามห่างจากพระภารกจิ แทจ้ รงิ ของพระเป็นเจา้ ในความหมายแห่ง
อนั ตกาล และการเสดจ็ มาของพระเมสสยิ าหใ์ นอนาคต

(3) ประกาศและการเป็นตวั แทนแห่งการเสดจ็ มาของพระเมสสยิ าหผ์ ทู้ รงเป็นกษตั รยิ ์ หมายถงึ พระอาณาจกั ร
พระเป็นเจ้าแห่งอนั ตกาลเป็นภารกจิ ทาให้พระสญั ญาในพระคมั ภีร์“ธรรมบญั ญัติและประกาศก”สาเรจ็
สมบูรณ์ พระเมสสยิ าหไ์ ดเ้ สดจ็ มาแลว้ พระองคท์ รงแสดงตนและการสอนถงึ พระประสงคข์ องพระเป็นเจา้
ธรรมบญั ญตั แิ ละประกาศกต้องได้รบั การเคารพเช่อื ฟังมใิ ช่สง่ิ ท่เี ขยี นบนั ทกึ ไว้ แต่เพราะว่าเป็น(การส่อื
แสดง)พระประสงค์ของพระเป็นเจ้า แต่ในพระวรสารนักบุญมทั ธิว พระเยซูเจ้าทรงประกาศว่าสารท่ี
พระองค์สอนคอื พระประสงค์ของพระเป็นเจ้าและเป็นเกณฑ์การตดั สนิ แห่งอนั ตกาล (7:24, 26; เทียบ 7:21)
ดงั นนั้ จงึ ไมม่ คี วามขดั แยง้ ระหวา่ งพระเยซูเจา้ กบั ธรรมบญั ญตั (ิ Torah) ซง่ึ พระองคท์ รงทาใหส้ าเรจ็ สมบูรณ์
น่คี อื การประกาศยนื ยนั อนั ยงิ่ ใหญ่แห่งครสิ ตศาสตร์ แมว้ า่ จะกล่าวเป็นความหมายทซ่ี ่อนอยโู่ ดยนยั

(4) การทาให้สาเรจ็ สมบูรณ์แห่งพระเมสสยิ าห์เช่นน้ีไม่ได้ลบล้างหรอื ยกเลิกธรรมบญั ญัติและคาสอนของ
ประกาศก แต่เป็นการยนื ยนั สงิ่ เหล่านัน้ การนาธรรมบญั ญตั มิ ารวมไวก้ บั ประวตั ศิ าสตร์อย่างครอบคลุม
เกย่ี วกบั การไถ่กูม้ นุษยชาตโิ ดยมพี ระเยซูครสิ ต์เป็นศูนยก์ ลางจงึ เป็นการยนื ยนั ธรรมบญั ญตั ิ ไม่ใช่ละท้งิ
ทาลาย

(5) แต่การยนื ยนั ดงั กล่าวน้ี โดยกจิ การท่ที าใหส้ าเรจ็ สมบรู ณ์โดยพระครสิ ตน์ ้ีไม่ไดห้ มายความแคก่ ารนาธรรม
บญั ญตั ดิ งั้ เดมิ มากล่าวซ้าหรอื ปฏบิ ตั สิ บื ต่อกนั มา คาวา่ ทาใหส้ าเรจ็ ครบสมบูรณ์อาจหมายถงึ “การกา้ วพน้
เหนือธรรมชาติ” (Transcendence) ด้วย พระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมทั ธิวได้ทรงประกาศอย่าง
ชดั เจนไวใ้ นสาระตอนอ่นื ว่า ความเมตตา ความยตุ ธิ รรม และความซ่อื สตั ยต์ ่อพนั ธสญั ญาคอื สงิ่ ทม่ี ีคุณค่า
ประเสรฐิ กว่าสาระคาสอนการปฏบิ ตั บิ ญั ญตั ใิ ดๆ ในธรรมบญั ญตั ิ (ดู 9:13; 12:7, ซ่งึ ยกมาจาก ฮชย. 6:6 เทยี บ มธ.
22:23) คาประกาศของพระเยซูเจา้ ว่าชวี ติ และคาสอนของพระองคน์ นั้ เป็นการเปิดเผยพระประสงค์ของพระ
เป็นเจ้าอย่างชดั เจน (เทียบ 11:25-27; 28:18-20) แท้จรงิ แล้วหมายความว่า หนังสอื ปัญจบรรพได้บนั ทกึ และ
ตคี วามตามธรรมประเพณีซ่งึ สบื ทอดกนั มาแบบปากต่อปาก (ดู ขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์ บทท่ี 15) ไม่ใช่อานาจตดั สนิ
สดุ ทา้ ย
5:18 การยืนยนั จาก 5:17 มีพ้ืนฐานจากคาประกาศแบบคาพยากรณ์ คาพยากรณ์ซ่ึงอาจไม่ใช่คาพูด

ดงั้ เดมิ ของพระเยซูเจ้าผูท้ รงมชี วี ติ อยู่จรงิ ในประวตั ศิ าสตร์ แต่เป็นถ้อยคาของผปู้ ระกาศสอนชาวครสิ ต์ในสมยั
แรกเรมิ่ พระเยซูเจา้ ทรงปฏบิ ตั ติ นอยา่ งอสิ ระ ซง่ึ เป็นสง่ิ เหนือความเขา้ ใจตามธรรมประเพณีแหง่ การปฏบิ ตั ิ ตาม
ธรรมบญั ญัติก่อให้เกิดคาถามในพระศาสนจกั รยุคต่อๆ มาว่าธรรมบญั ญัติยงั มีผลบงั คบั ใช้อยู่หรอื ไม่ มผี ู้ให้
คาตอบไว้อย่างหลากหลายในศาสนาครสิ ต์ยุคเรม่ิ แรก (ดู กจ. 6-7; 10-11; 15:10-11; 21:20-24; กท.; ยก.) มีบางแห่งท่ี
พระศาสนจกั รปาเลสไตน์ไตร่ตรองพจิ ารณาว่าการเสดจ็ มาของพระเมสสยิ าหห์ มายความว่าธรรมบญั ญตั ไิ ดถ้ ูก
เลกิ ลม้ แลว้ ใช่หรอื ไม่ ผปู้ ระกาศสอนชาวครสิ ต์ทพ่ี ูดในนามของพระเยซูเจา้ ในพระวรสารไดต้ อบคาถามน้ีในทาง
ปฏเิ สธอย่างแขง็ ขนั คาว่า “อกั ษรหน่ึง” (Jot) และ “จุดหน่ึง” (Tittle) ตามธรรมประเพณี (KJV) ซ่งึ ปัจจุบนั ไดร้ บั
การแปลในรปู แบบร่วมสมยั มากขน้ึ ในพระคมั ภรี ฉ์ บบั NIV และ NRSV เป็นตวั แทนของตวั อกั ษรฮบี รูทเ่ี ลก็ ทส่ี ุด
(y yod) หรอื การลากเสน้ แบบเลก็ ๆ(Minute Stroke) เพ่อื ทาใหต้ วั อกั ษรหน่ึงแตกต่างจากอกี ตวั อกั ษรหน่ึง (เช่น

145

b และ k) หรอื การลากเสน้ เพอ่ื ตกแต่งในภาษาฮบี รู (Ornamental Stroke) หรอื การเน้นเสยี งในภาษากรกี ซง่ึ ไม่มี
ความหมายใดๆ เลย น่ีคอื วธิ กี ารทน่ี กั บุญมทั ธวิ ยนื ยนั ถงึ อานาจแหง่ พระคมั ภรี ์ (Scripture) ยงั ดารงอย่อู ย่างครบ
สมบรู ณ์ในฐานะการเผยแสดงพระประสงคข์ องพระเป็นเจา้

วลี “แทจ้ รงิ เราจะบอกท่านว่า” (Truly I tell you) (NRSV) หรอื “เราบอกความจรงิ แก่ท่านทงั้ หลายว่า” (I tell You
the Truth) (NIV) เม่อื แปลตามตวั อกั ษรแลว้ เท่ากบั “อาเมน เรากล่าวแก่ท่าน” (Amen I say to you) คาว่า “อาเมน” ไม่ใช่
คาภาษากรกี แต่เป็นการถ่ายตวั อกั ษรจาก @ma มาเป็น Amen ซง่ึ เป็นการยนื ยนั สงิ่ ทไ่ี ดพ้ ดู มาก่อนหน้าน้ี สตู ร
เช่นน้ีเป็นลกั ษณะเฉพาะของพระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ และเป็นครงั้ หน่ึงจากทงั้ หมด 32 ครงั้ แต่
นักบุญมทั ธวิ พบคาน้ีเป็นคาทต่ี ดิ อย่ดู ้านหน้าของคาสอนพระเยซูเจา้ ในเอกสารแหล่ง Q และพระวรสารนักบุญ
มาระโก และพบในพระวรสารนกั บุญยอหน์ 25 ครงั้ ดว้ ย (พบแบบเป็นคู่ คอื “อาเมน อาเมน”) การเรม่ิ ตน้ คาประกาศตา่ งๆ
ดว้ ยคาว่า “อาเมน” เป็นเอกลกั ษณ์ของคาพดู อนั ทรงอานาจของพระเยซูเจา้ รูปแบบน้ีถูกส่งต่อไปยงั ผปู้ ระกาศ
สอนชาวครสิ ตท์ ค่ี งสอนผอู้ น่ื ในนามของพระเยซูเจา้ ในพระศาสนจกั รยคุ ตอ่ ๆ มา และจากนนั้ มกี ารเลยี นแบบโดย
บคุ คลทไ่ี มใ่ ชป่ ระกาศก เช่น นกั บุญมทั ธวิ เป็นตน้ ดงั นนั้ วลี “จนกวา่ ฟ้าและดนิ จะล่วงลบั ไป” จงึ ไมใ่ ชส่ านวนการ
พูดของชาวบ้านทัว่ ไปท่ีหมายถึง “ตลอดไป” (Always) แต่เป็นการคาดการณ์ในเชิงอวสานตกาลเก่ียวกับ
เหตุการณ์ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ จรงิ เมอ่ื สน้ิ สดุ กาลเวลา เชน่ เดยี วกบั คากลา่ วทค่ี ลา้ ยกนั ใน 24:35 ประเดน็ สาคญั คอื ขณะท่ี
ธรรมบญั ญตั ยิ งั คงมผี ลบงั คบั ใช้ แต่ไม่ใช่สง่ิ สูงสุด ตรงขา้ มกบั พระวาจาของพระเยซูเจา้ ซ่งึ จะเป็นบรรทดั ฐาน
สูงสุดและจะไม่มวี นั สูญส้นิ ไป ธรรมบญั ญัติได้รบั ยนื ยนั ใช้(ในสถานะถูกต้องต่อไป) แต่ต้องสมั พนั ธ์เก่ยี วขอ้ ง(กบั พระ

ประสงค)์

5:19 ตอนน้เี ปลย่ี นจดุ เน้นจากพระเยซูเจา้ ไปสบู่ รรดาศษิ ย์ คากล่าวสอนอาจสะทอ้ นถงึ คากลา่ วตามธรรม
ประเพณีท่ีส่อื เวยี นกนั อยู่ในพระศาสนจกั รของนักบุญมทั ธวิ หรอื อาจอยู่ใน QMt โดยอยู่ในรูปแบบของ “การ
พพิ ากษาของธรรมบญั ญตั ศิ กั ดสิ ์ ทิ ธ”ิ ์ (Sentence of Holy Law) ซ่งึ นาการตดั สนิ แห่งอนั ตกาลมาคู่ขนานกบั การ
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ปิ ัจจบุ นั รปู แบบน้ีเป็นลกั ษณะของผปู้ ระกาศสอนชาวครสิ ต์ สง่ิ ทบ่ี ง่ ชอ้ี กี อย่างวา่ 5:17-20 สะทอ้ น
ถงึ เร่อื งทผ่ี คู้ นโตเ้ ถยี งกนั ในพระศาสนจกั รหลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี ของพระเยซูเจา้ เกย่ี วกบั บทบาทของธรรม
บญั ญตั ิ ซง่ึ ผปู้ ระกาศสอนชาวครสิ ต์ไดใ้ หค้ าตอบทเ่ี ป็นการเผยแสดง มากกว่าทจ่ี ะเป็นการจดบนั ทกึ คาสอนจาก
พระเยซูเจา้ ในประวตั ศิ าสตรจ์ รงิ คากลา่ วทพ่ี ดู ในพระนามของพระผทู้ รงกลบั คนื พระชนมช์ พี นนั้ มอี านาจของพระ
เป็นเจ้าสถติ อยู่ด้วย นักบุญมทั ธวิ ไดน้ าคากล่าวน้ีมารวมไวเ้ พ่อื สนับสนุนขอ้ วนิ ิจฉัยของท่านท่วี ่าธรรมบญั ญตั ิ
ไม่ไดถ้ ูกลม้ เลกิ ไปสาหรบั ชาวครสิ ต์ แมว้ า่ มนั อาจจะดไู ม่สอดคลอ้ งกบั ตวั อย่างของ “ความชอบธรรมทเ่ี หนือกว่า”
ในเน้ือหาส่วนทต่ี ามมา ซง่ึ เป็นการผ่อนปรนธรรมบญั ญตั จิ ากพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาเดมิ จรงิ ๆ (เช่น คาสอน
เรอ่ื งการหยา่ การสาบาน และการตอบโต)้

คากล่าวน้ีมุ่งเน้นไปท่ชี าวครสิ ต์ท่รี บั ธรรมประเพณีของชาวกรกี และเป็นท่เี ขา้ ใจกนั ว่าได้ล้มเลกิ ธรรม
บญั ญตั หิ รอื ลดหย่อนผ่อนปรนกฎบางขอ้ นักบุญเปาโลและผู้ตดิ ตามท่านก็ถูกเขา้ ใจว่าเป็นเช่นน้ีอยู่บ่อยครงั้
ถงึ แม้นักบุญเปาโลจะเห็นว่าน่ีคอื สง่ิ ท่ผี ู้คนเขา้ ใจผดิ เก่ยี วกบั มุมมองของท่าน (เทียบ รม. 3:21-31) พระเยซูเจ้าใน
พระวรสารนักบุญมทั ธวิ ยนื ยนั ว่าแมแ้ ต่คาสงั่ ขอ้ ท่ี “เลก็ ” ทส่ี ุดกม็ คี วามสาคญั เช่นเดยี วกบั หม่รู บั บี ศาสนายูดาย
(ดู Abot 2:1; 3:18; 4:21) นักบุญมัทธิวยืนยนั ประเด็นของท่านโดยไม่มองว่าผู้ท่ีต่อต้านท่านเป็ นผู้ท่ีอยู่นอกพระ
อาณาจกั รสวรรค์ แต่มองวา่ คนเหลา่ นนั้ “มศี กั ดศิ ์ รนี ้อยทส่ี ดุ ” ในพระอาณาจกั ร

146

5:20 คากล่าวสอนน้ีมคี าศพั ท์เฉพาะของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ และปรากฏอยู่ทวั่ ไปในพระวรสารของ
ท่านเอง ท่านไดบ้ ญั ญตั ขิ น้ึ เพ่อื เช่อื มโยงขอ้ ความทเ่ี ก่ยี วกบั “ความชอบธรรมท่ีเหนือกว่า” ต่อตวั อย่าง 6 เร่อื งท่ี
จะตามมา คาว่า “พวกธรรมาจารยกบั พวกฟารสิ ”ี เป็นวลที ่พี บบ่อยในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ หมายถึงผู้นา
ศาสนายวิ ในสมยั ของท่าน ผู้นาเหล่านัน้ มีมาตรฐานสูงด้านความเคร่งครดั และการปฏิบตั ิกิจทางศาสนา แต่
นกั บุญมทั ธวิ ถอื วา่ พวกเขาเป็นพวกหน้าซ่อื ใจคด (ดู 23:1-33) อย่างไรกต็ าม มาตรฐานการดารงชวี ติ ท่ีบทคาเทศน์
สอนบนภูเขาเรยี กร้องให้บรรดาศษิ ย์และผู้อ่านปฏิบตั ิไม่ได้มแี ค่เพียงหลกี เล่ยี งความหน้าซ่ือใจคด ปฏิพจน์
(ขอ้ ความท่ใี ช้ถ้อยคาขดั แย้งกนั ) 6 ตวั อย่างต่อไปน้ี (ว. 21-48) อธบิ ายอย่างละเอยี ดว่าการมคี วามชอบธรรมท่ี
เหนือกว่าพวกธรรมาจารยแ์ ละฟารสิ นี ัน้ หมายถงึ อะไร (ดู เรอ่ื งการเขา้ ส่พู ระอาณาจกั ร ดูบทเสรมิ “อาณาจกั รสวรรคใ์ นพระวรสาร

นกั บญุ มทั ธวิ ” 288-94)

5:21-32 ปฏพิ จน์สามเร่อื ง ตวั แบบของความชอบธรรมท่ีเหนือกว่า นักบุญมทั ธวิ ไม่ได้อธบิ ายเพมิ่ เตมิ
เกย่ี วกบั ความหมายของสงิ่ น้ีในลกั ษณะทเ่ี ป็นเรยี งความแบบนามธรรม แต่แสดงเป็น 6 ตวั อย่างทเ่ี ป็นรูปธรรม
(ตวั อยา่ งทช่ี ดั เจน <focal instances>) ซง่ึ นาเน้อื หาเก่ามาเขยี นในโครงสรา้ งทเ่ี ป็นการตคี วามแบบใหม่

แต่ละหน่วยของ 6 ตวั อย่างเรมิ่ ตน้ ดว้ ยสงิ่ เดมิ ทก่ี ล่าวไวแ้ ลว้ (ใชป้ ระโยคกรรมวาจกแบบพระเป็นเจา้ หรอื พระเป็นเจา้
ตรสั ผ่านทางโมเสส) เช่น “คากล่าวแก่คนโบราณ” (“to those of ancient times” คอื ชาวอิสราเอลท่ีภูเขาไซนาย) แล้วเทียบเคยี ง
ความต่างกบั สาระท่พี ระเยซูเจา้ ตรสั กบั บรรดาศษิ ย์ปัจจุบนั วลที ว่ี ่า “ท่านได้ยนิ ” (You Have Heard) หมายถงึ
การไดย้ นิ การอ่านพระคมั ภรี ใ์ นศาลาธรรม ปฏพิ จน์เหล่าน้ีไม่เพยี งแต่แสดงความแตกต่างระหว่างถ้อยคาของ
พระเยซูเจา้ กบั การตคี วามตามธรรมประเพณีหรอื ตามคาสอนของธรรมาจารยเ์ ท่านัน้ แต่ยงั เทยี บใหเ้ หน็ ความ
ต่างกบั หนงั สอื ปัญจบรรพดว้ ย ซง่ึ เร่อื งน้ีเป็นประเดน็ มาตงั้ แต่ 5:17 แลว้ คาประกาศของพระเยซูเจา้ เป็นยงิ่ กว่า
คาประกาศสอนท่ีให้ความหมายลกึ กว่าหรอื ตีความใหม่ทาให้สง่ิ ท่ีเคยมอี านาจแต่เดมิ น้ี (the Old Authority)
ลกึ ซ้งึ ขน้ึ หรอื มคี วามหมายมากขน้ึ การเทยี บเคยี งน้ีทาอย่างตรงประเดน็ พระเยซูเจา้ ทรงตคี วามดกี ว่าสารบบ
เดมิ (The Old Authority) ทรงผนั อานาจ(ตคี วามและสอน)จากพระคมั ภรี ์สารบบ (Authority from the Written
Text of Scripture) มาสพู่ ระองคเ์ อง กล่าวคอื พระเป็นเจา้ สถติ อยู่ในชวี ติ คาสอน ความตายและการกลบั คนื ชพี
ของพระองค์ (ดู 1:23; 7:29; 18:18-20; 21:23-27; 28:18-20) กระนัน้ ประเดน็ คอื คาสอนของพระเยซูเจา้ ไม่ใช่การก้าวล่วง
ธรรมบญั ญตั ิ แตเ่ ป็นการอยเู่ หนอื ธรรมบญั ญตั ิ

โครงสรา้ งภาพรวมและการจดั ปฏพิ จน์ทงั้ หก รปู แบบการใชป้ ฏพิ จน์น้ีไม่พบอย่ใู นสว่ นอ่นื นอกเหนือจาก
มธ. 5 แต่เป็นลกั ษณะขององคป์ ระกอบในวรรณกรรมของรบั บี เมอ่ื ธรรมาจารยห์ รอื รบั บตี คี วามขดั แยง้ กบั ผอู้ ่นื จะ
สรุปวา่ “แต่เรากล่าวกบั ทา่ นวา่ ” (But I Say to You) ไม่มขี อ้ ประกาศสอนธรรมาจารยห์ รอื รบั บคี นใดตคี วามขดั แยง้ กบั
สงิ่ ทพ่ี ระเป็นเจา้ ไดท้ รงสอนในหนงั สอื ปัญจบรรพ

บ่อยครงั้ สงิ่ ทน่ี ่าตกตะลงึ น้ีเกดิ ขน้ึ จากวธิ กี ารพดู และการกระทาของพระเยซูเจา้ ซง่ึ สะทอ้ นความมอี านาจ
อสิ ระ ทท่ี รงอา้ งองิ ธรรมบญั ญตั แิ ละธรรมประเพณี อย่างทเ่ี หน็ ในคาสอนและเร่อื งเล่ามากมายทข่ี ดั แยง้ กนั (ต.ย.
12:1-8) และแสดงถงึ สาระของครสิ ตศาสตรท์ ่ปี รากฏชดั ว่าอย่ใู นเน้ือแทข้ องกจิ การและคาพูดอนั ทรงอานาจของ
พระองค์ อย่างไรกต็ าม ถา้ พระเยซูเจา้ ทรงสรา้ งรปู แบบดงั กล่าวน้ี จะเป็นสง่ิ แปลกใหมเ่ น่ืองจากไมม่ ปี รากฏอยใู่ น
ธรรมประเพณีเลย ยกเวน้ มธ. 5:21-48 ซง่ึ เราทราบแลว้ ว่านักบุญมทั ธวิ ไดป้ รบั รปู แบบของคากล่าวสอนหรอื คา
สอนอย่างน้อย 3 ประการในธรรมประเพณีของท่านในรูปแบบปฏพิ จน์ ทางทด่ี ที ่สี ุดคอื ถอื ว่ารูปแบบดงั กล่าวน้ี
ท่านนักบุญมทั ธวิ นิพนธ์ขน้ึ เอง โดยปรบั เพมิ่ เน้ือหาบางตอนเพ่อื เป็นส่วนหน่ึงของโครงสรา้ งบทเทศน์สอนบน

147

ภูเขา ซง่ึ ท่านไดอ้ อกแบบมาอย่างตงั้ ใจ ปฏพิ จน์ทงั้ 6 ถูกจดั เรยี งเป็นสองรปู แบบไตรลกั ษณ์ ตามทร่ี ะบุไว้ตงั้ แต่
สาระตอนเรม่ิ ตน้ ใน 5:33 (“Again” ภาษากรกี [pa"lin palin]) แลว้ แสดงรปู แบบเตม็ เฉพาะใน 5:21 และ 5:33 ซง่ึ ใชค้ า
ว่า “ว่า” (That ภาษากรกี (o{ti hoti)) และ “ทุกคนท่ี...” (everyone who…ภาษากรกี (pa'v oJ pas ho)) เฉพาะในชุดแรก
และปรากฏว่ามแี ต่ชุดแรกเท่านัน้ ท่มี อี งค์ประกอบ “การใชท้ ป่ี รบั ตามสถานการณ์” (Situational Application) (ดู

ดา้ นล่าง)

โครงสรา้ งพระวรสารของแต่ละหน่วย นักบุญมทั ธวิ เป็นนักตีความพระคมั ภีร์ ท่ี “นาทรพั ย์สมบตั ิทงั้
ของใหมแ่ ละของเก่าออกจากคลงั ของตน” (13:52) ทา่ นไดอ้ ธบิ ายแต่ละปฏพิ จน์เพมิ่ เตมิ ดว้ ยการใชเ้ น้อื หาจากธรรม
ประเพณีมาขยายความหมายหรอื ตคี วามใหเ้ ขา้ กบั สถานการณ์ของท่าน โครงสรา้ งไตรลกั ษณ์(สามระดบั )น้ีซง่ึ เหน็
ไดช้ ดั ทส่ี ดุ ในปฏพิ จน์แรก (5:21-26) ทค่ี งอย่ตู ลอดในไตรลกั ษณ์ชุดแรก และลดหายไปในไตรลกั ษณ์ชุดทส่ี อง อาจ
เป็นเพราะท่านใชเ้ น้ือหาวตั ถุดบิ ทม่ี อี ย่มู าขยายความพอแลว้ หรอื เพราะไดร้ ปู แบบทช่ี ดั เจนดแี ลว้ ท่านจงึ ปล่อย
ใหผ้ ฟู้ ัง/ผอู้ ่านสรา้ งรูปแบบการนาไปใชเ้ อง พลงั ของโครงสรา้ งทซ่ี ้าๆ น้ีคอื ไม่ตอบคาถามทางศลี ธรรมล่วงหน้า
แต่มอบใหศ้ ษิ ยแ์ ยกแยะน้าพระทยั ของพระเป็นเจา้ ตามแสงสวา่ ง(การตคี วาม)แหง่ หนงั สอื ปัญจบรรพและคาสอนของ
พระเยซูเจา้ และใหต้ วั แบบทจ่ี ะจดั รปู แบบนนั้ เอง โครงสรา้ งสามระดบั น้ีประกอบดว้ ยการยนื ยนั ธรรมบญั ญตั ใิ หม่
อีกครงั้ (Reaffirmation) การเปลีย่ นแปลงธรรมบัญญัติในระดับรากฐาน (Radicalization) และการนาธรรม
บญั ญตั ทิ ไี่ ดร้ บั การเปลยี่ นแปลงนนั้ ไปใชใ้ หเ้ หมาะกบั สถานการณ์ (Situational Application)

การยนื ยนั ธรรมบญั ญตั อิ กี ครงั้ : นักบุญมทั ธวิ เรยี กความมนั่ ใจกลบั มาจากผทู้ ก่ี ลวั ว่าชาวครสิ ตส์ นบั สนุน
การลม้ เลกิ หนังสอื ปัญจบรรพ โดยบอกว่าสงิ่ น้ีเป็นความเขา้ ใจผดิ คาสงั่ สอนของพระเยซูเจา้ ไม่ไดล้ ะเมดิ ฝ่าฝืน
ธรรมบญั ญตั ิ แต่เป็นการเปล่ยี นแปลงธรรมบญั ญตั ใิ นระดบั รากฐาน ไปยงั จุดท่เี ป็นรากฐาน (Radix) ของพระ
บญั ญตั จิ ากพระเจา้ ผทู้ น่ี าคาสอนของพระเยซูเจา้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ บทท่ี 5 ไปปฏบิ ตั จิ รงิ จะไม่ละเมดิ
บญั ญตั ใิ ดๆ ของหนงั สอื ปัญจบรรพ ซง่ึ ไม่ไดถ้ กู ลม้ เลกิ ไปแตไ่ ดร้ บั การยนื ยนั ใหมอ่ กี ครงั้

การเปลยี่ นแปลงในระดบั รากฐาน: การทาใหธ้ รรมบญั ญตั คิ รบสมบรู ณ์โดยการเสดจ็ มาของพระเมสสยิ าห์
ไม่เพยี งแต่เป็นการย้าธรรมบญั ญตั อิ กี ครงั้ แต่ทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในระดบั รากฐานอกี ดว้ ย พระประสงค์
สงู สดุ ของพระเป็นเจา้ คอื ธรรมบญั ญตั ิ และไดส้ อ่ื ออกมาโดยธรรมบญั ญตั ิ แต่บางครงั้ กถ็ ูกจากดั โดย “ความใจดอ้ื
หยาบกระด้าง” (Hardness of Heart) ของผู้รับ (เทียบ 19:3-9) รูปแบบตามกฎหมายท่ีเป็ นเชิงสาเหตุหลัก
(Casuistic Approach) ซ่ึงนักบุญมทั ธวิ คดั ค้านไม่เห็นด้วย เพราะมนั เป็นสาเหตุนาไปไม่ถึงรากฐานท่มี าของ
สาระสาคญั (กล่าวคอื ไม่ใช่แก่นแท้เป็นฐานสาคญั ) แตะแค่ระดบั ผวิ เผนิ ไม่ใช่แก่นสาคญั ของปัญหาจรยิ ธรรม

(สาหรบั ประเดน็ คดั คา้ นทเ่ี ป็นเชงิ สาเหตุดงั กล่าว ดู 23:16-21 ซง่ึ เป็นบท “วบิ ตั ”ิ (woe) ทย่ี าวทส่ี ุดทก่ี ล่าวกบั พวกฟารสิ ี ทงั้ หมดเป็นบนั ทกึ ในเอกสาร

แหล่ง M) คาสอนของพระเยซูเจ้ามุ่งเน้นเก่ยี วขอ้ งกบั แหล่งกาเนิดภายในของพฤตกิ รรมมนุษย์ ซ่ึงธรรมบญั ญตั ิ
เช่นนัน้ ไม่อาจกากบั บงั คบั ได้ ท่านนักบุญมทั ธวิ เหมอื นกบั บรรดาประกาศกของอสิ ราเอล ท่านประกาศสอน
ยนื ยนั ว่าจุดหมายสาคญั ในการตคี วามธรรมบญั ญตั คิ อื พระประสงค์สงู สุดของพระเป็นเจา้ เป็นหลกั สาคญั และได้
โจมตคี าสอนทต่ี คี วามถงึ พระประสงค์อย่างไม่เทย่ี งตรงถูกตอ้ ง (Unqualified Will of God) ซง่ึ บางทเี กดิ จากการ
ตีความธรรมบญั ญัติลกึ เกนิ หรอื กว้างเกินต่อเจตจานงสูงสุด หรอื ท่ีได้รบั ประกนั หรอื ลบล้างขอ้ จากดั ต่างๆ ท่ี
บงั คบั ใชอ้ ยใู่ นขณะนนั้ (การตคี วามธรรมบญั ญตั ติ อ้ งตรงตามพระประสงคข์ องพระเจา้ มใิ ช่เพอ่ื ธรรมบญั ญตั เิ อง เพอ่ื ใครหรอื สง่ิ อ่นื ใด)

การนาไปใชโ้ ดยปรบั ตามสถานการณ์“ระหวา่ งสองจดุ แหง่ กาลเวลา”(Situational “Between the Times” Application):
การเรยี กมาดาเนินชวี ติ ตามพระประสงค์อนั จรงิ แทข้ องพระเป็นเจา้ ไม่ใช่คาปรกึ ษาแห่งชวี ติ ทส่ี น้ิ หวงั ประกาศก

148

ทงั้ หลายต่างประกาศพระประสงคส์ งู สดุ ของพระเป็นเจา้ และแนะนาผอู้ น่ื ใหห้ าวธิ กี ารนามาปรบั ใชก้ บั ชวี ติ ในโลกท่ี
ไม่สมบูรณ์พรอ้ มน้ีดว้ ยตนเอง พระเยซูเจา้ ตรสั สอนในรปู แบบของประกาศกเช่นกนั จากนัน้ ผปู้ ระกาศสอนชาว
ครสิ ตไ์ ดส้ บื ทอดตอ่ มา รวมถงึ ผปู้ ระกาศสอนในธรรมประเพณีและพระศาสนจกั รของนกั บุญมทั ธวิ ดว้ ย แต่นกั บุญ
มทั ธวิ เป็นธรรมาจารยด์ า้ นพระคมั ภีรท์ ไ่ี ม่เพยี งแต่ใสใ่ จเร่อื งการประกาศพระประสงค์อนั จรงิ แทข้ องพระเป็นเจา้
ซง่ึ ปรากฏอย่ใู นการทพ่ี ระเยซูเจา้ ปรบั เปลย่ี นธรรมบญั ญตั ใิ นระดบั รากฐาน อกี ทงั้ ยงั ใหค้ าปรกึ ษาสาหรบั การใช้
ชวี ติ แบบวนั ต่อวนั ของผู้คนท่ีไม่สมบูรณ์แบบและไม่สามารถกระทาตามกระแสเรยี กให้ดาเนินชีวติ ตามพระ
ประสงคท์ ส่ี มบรู ณ์ของพระเป็นเจา้ ดงั นนั้ นกั บุญมทั ธวิ ซง่ึ ไมป่ ฏเิ สธกระแสเรยี กสคู่ วามครบครนั จงึ เลอื กคากล่าว
สอนอน่ื ๆ ของพระเยซูเจา้ จากธรรมประเพณีของท่าน ทแ่ี นะนาไปปรบั ใชต้ ามสถานการณ์สาหรบั ศษิ ย์ ผทู้ เ่ี ช่อื วา่
พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ มาพรอ้ มกบั การเสดจ็ มาในโลกของพระเยซูเจา้ และอธษิ ฐานภาวนาเพอ่ื การเสดจ็
มาครงั้ สุดท้าย(Final Coming) (6: 10) กาลเวลาแห่งโลกยุคใหม่อยู่ในองคพ์ ระเยซูเจา้ แต่ยุคเก่ายงั คงดาเนินอยู่
ต่อไปและชาวครสิ ตท์ งั้ หลายดาเนินชวี ติ อย่รู ะหว่างความตงึ เครยี ดของสองยุคน้ี บรรดาศษิ ยส์ ามารถใชป้ ฏพิ จน์
เหล่าน้ีเป็นรูปแบบใหก้ บั ชวี ติ ของพวกเขาบนโลกอย่างใส่ใจจรงิ จงั ในแบบเดยี วกบั ทพ่ี วกเขาใส่ใจกบั เร่อื งการ
มาถงึ ของพระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ วา่ ทเ่ี ป็นอยู่ทงั้ ในปัจจุบนั และทจ่ี ะมาถงึ สง่ิ ทส่ี าคญั ทส่ี ุดสาหรบั นักบุญมทั ธวิ
คอื การมอบตนเองใหก้ บั กษตั รยิ ผ์ ู้เป็นพระเมสสยิ าห์ มคี วามหมายมากกว่าการกล่าวคาสารภาพอยา่ งเหมาะสม
ซ่งึ จะส่งผลใหเ้ กดิ ชวี ติ ท่เี ปลย่ี นแปลงไป (การกลบั ใจ) แต่กษตั รยิ ผ์ ู้เป็นพระเมสสยิ าหเ์ รยี กรอ้ งให้ปฏบิ ตั สิ งิ่ เหล่าน้ี
และใชก้ ารปฏบิ ตั ติ นในชวี ติ เป็นเกณฑใ์ นการตดั สนิ พพิ ากษาครงั้ สุดทา้ ยของพระองค์ ผทู้ รงเคยใชช้ วี ติ โดยปฏบิ ตั ิ
สง่ิ เหล่าน้ีดว้ ยพระองคเ์ องในระหว่างท่ที รงปฏบิ ตั พิ นั ธกจิ อย่บู นโลก และยงั คงช่วยเหลอื ชุมชนท่กี าลงั พยายาม
แยกแยะและปฏบิ ตั ติ ามพระประสงค์ของพระเป็นเจา้ ในสถานการณ์ใหม่ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ (28:18-20) ใน 3 ปฏพิ จน์ของ
ชุดแรก (5:21-32) ความเป็นจรงิ ของการดารงชวี ติ อย่ขู องชาวครสิ ต์ “ระหว่างสองจุดแห่งกาลเวลา” คอื ระหวา่ งการ
ปรากฏตวั ของพระเมสสยิ าหก์ บั การมาถงึ ของพระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ในอนั ตกาล มคี าอธบิ ายโดยยกตวั อยา่ ง
วธิ กี ารอนั สรา้ งสรรคท์ บ่ี รรดาศษิ ยไ์ ดน้ าคาสอนของพระเยซูเจา้ มาปรบั ใช้ ตวั อย่างเหล่าน้ไี ม่ใชธ่ รรมบญั ญตั ใิ หม่ท่ี
นาหลกั การดา้ นจรยิ ธรรมไปใชใ้ นทางท่ผี ดิ แต่เป็นแบบจาลองให้ศษิ ย์คนอ่นื ๆ ได้นาไปปรบั ใชใ้ นสถานการณ์
ต่างๆทห่ี ลากหลายหลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี ของพระเยซูเจา้ ส่วนปฏพิ จน์ชุดทส่ี อง (5:33-48) ละเวน้ การแสดง
รปู แบบท่เี ป็นรปู ธรรม บรรดาศษิ ย์จะตอ้ งรบั หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบในการเป็น “นกั เทวศาสตรเ์ ร่อื งพระเยซูเจา้ ”
(Jesus Theologian) ดว้ ยตนเอง

ปฏิพจน์2ทงั้ หกคอื การแสดงออกถึงพระบญั ญัตทิ ่ีเหนือกว่า (the Great Commandment) (22:34-40)
และเป็นการป้องกนั ไมใ่ หถ้ กู ทาใหเ้ ป็นสงิ่ ดอ้ ยค่าหรอื ลดความสาคญั ลงหรอื เป็นการกระทาตามอารมณ์ความรสู้ กึ

5:21-26 ความรกั ไม่แสดงความเป็นศตั รู (Love Shows No Hostility) 5:21 เป็นการยนื ยนั รปู แบบธรรม
บญั ญตั ิ สามารถดูได้จากสาระด้านบน ปฏพิ จน์ทงั้ หกเก่ยี วขอ้ งกบั ความสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์ ไม่ใช่พธิ กี รรม
ทางศาสนาทแ่ี สดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างมนุษยก์ บั พระเป็นเจ้า (ดู 6:1-18) พระเยซูเจา้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ

2 Antithesis (Greek for "setting opposite", from ἀντί "against" + θέσις "position") is used when two opposites

are introduced in the same sentence, for contrasting effect. ใช้ ป ฏิ พ จน์ โดยอนุโลม ซ่ึง ป ฏิ พ จน์ ใน ภาษ าอังกฤษ มี คาอ่ื น
คือ (องั กฤษ: Oxymoron) เป็นภาพพจน์หรือการเนน้ ความหมายที่เกิดจากรวมคาหรือวลีสองคาหรือสองวลีท่ีมีความหมายขดั แยง้ กนั “Oxymoron”
มาจากภาษากรีก “Oxy” ซ่ึงแปลวา่ “แรง” (sharp) และ “Moros” ซ่ึงแปลวา่ “ไม่น่าสนใจ” ฉะน้นั คาวา่ “Oxymoron” เองจึงเป็น ปฏิพจน์

149

ไม่ไดเ้ รม่ิ ตน้ จากสง่ิ ทวั่ ๆ ไปทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ธรรมบญั ญตั ิ แต่เรมิ่ ดว้ ยการยกขอ้ ความแบบคาต่อคาจากพระบญั ญตั ิ
ท่เี ป็นลกั ษณะคาสงั่ ท่ชี ดั เจนและไม่สามารถนาไปใช้ในทางท่ผี ดิ ได้ (Apodictic Command) ในพระบญั ญัติสบิ
ประการเร่ืองการห้ามฆ่าผู้อ่ืน (อพย. 20:13; ฉธบ. 5:18) ข้อความเสริมท่ีกล่าวว่า “ผู้ใดท่ีฆ่าคนจะต้องข้ึนศาล”
(Whoever Murders Shall Be Liable to Judgment) ไม่มรี ะบุไวแ้ บบคาต่อคาในพระคมั ภีรพ์ นั ธสญั ญาเดมิ แต่
เป็นการสรุปความจากเน้ือหาทเ่ี กย่ี วกบั กฎหมายหลายสว่ นในหนงั สอื ปัญจบรรพ (อพย. 21:12; ลนต. 24:17; กดว. 35:12;
ฉธบ. 17:8-13) นักบุญมทั ธวิ ได้ประพนั ธ์สาระส่วนน้ีขน้ึ มาและรวมเอาไวเ้ พ่อื แนะนาให้รูจ้ กั คาว่า “การพพิ ากษา”
(Judgment) ซง่ึ มบี ทบาทสาคญั เดด็ ขาดในคาประกาศของพระเยซูเจา้

5:22 การเปลย่ี นแปลงธรรมบญั ญตั ใิ นระดบั รากฐาน พระบญั ญตั ไิ มไ่ ดถ้ กู เพกิ ถอน แตไ่ ดร้ บั การยนื ยนั อกี
ครงั้ และมกี ารเปลย่ี นแปลงในระดบั รากฐาน พระเยซูเจา้ ทรงประกาศว่าความโกรธทาใหบ้ ุคคลต้องถูกพพิ ากษา
โดยไม่ไดแ้ บ่งแยกระหว่างความโกรธ “ทเ่ี ทย่ี งธรรม” และ “ไม่เทย่ี งธรรม” ความแตกต่างทด่ี จู ะเหน็ ไดช้ ดั ระหว่าง
(1) ความโกรธทท่ี าใหต้ อ้ งไปรายงานตวั กบั ศาลทอ้ งถน่ิ (2) การใชค้ าพดู ดหู มนิ่ ผอู้ ่นื เช่น ไอโ้ ง่ (Airhead) ทาให้
ต้องไปรายงานตวั ทศ่ี าลสูง และ (3) การเรยี กผูอ้ ่นื ว่าคนโง่บดั ซบจะทาใหต้ ้องถูกลงโทษในไฟนรก จรงิ ๆ แล้ว
เป็นเพยี งการล้อเลยี น (Parody) การใชห้ ลกั แบบเล่าโวหารแบบรบั บี ซ่งึ นักบุญมทั ธวิ เหยยี ดหยามและปฏเิ สธ
(23:16-21) นักบุญมทั ธวิ เรม่ิ ต้นดว้ ยสงิ่ ทด่ี ูจะเป็นปรีชาญาณแห่งพระคมั ภรี ์และปรบั คาสอนนัน้ ใหอ้ ย่ใู นรูปของคา
ประกาศของประกาศกเกย่ี วกบั การพพิ ากษาแหง่ อวสานตกาล เหน็ ไดช้ ดั เจนว่าในทน่ี ้ีไมม่ กี ารนากฎมาใชใ้ นทาง
ทผ่ี ดิ อยา่ งท่อื ๆ ดไู ดจ้ ากการทค่ี าสงั่ นนั้ ยากหรอื เป็นไปไม่ไดท้ จ่ี ะปฏบิ ตั ิ อยา่ งความโกรธนนั้ เป็นสง่ิ ทป่ี กตแิ ลว้ ไม่
มใี ครควบคุมได้ และจากการท่บี ทลงโทษนัน้ ดูรุนแรงอย่างไรเ้ หตุผลและไม่สมส่วนกบั ความผดิ น่ียงั ไม่รวมถึง
การท่พี ระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ละเมดิ คาสงั่ ของพระองค์เองในเร่อื งน้ีด้วย (23:17, 19) ว. 22 ไม่ได้
หมายความตามตวั อกั ษรถงึ การเพม่ิ ขนาดการลงโทษจากศาลทอ้ งถน่ิ ไปจนถงึ ศาลพพิ ากษาของพระเป็นเจา้ แต่
เป็นการประกาศพระประสงค์ทแ่ี ทจ้ รงิ ของพระเป็นเจา้ ซง่ึ นอกจากจะทรงตอ้ งการใหม้ นุษยไ์ ม่ทารา้ ยฆา่ กนั แลว้
แต่ยงั ต้องการไม่ให้มคี วามประสงค์รา้ ยต่อกนั เกดิ ข้นึ ระหว่างมนุษย์ด้วย “มนั ไม่ใช่แค่คาสงั่ เพ่อื หลกี เล่ยี งการ
กล่าวคาพูดท่ที ารา้ ยผู้อ่นื บางคา (ซ่งึ ก็จะกลายเป็นรูปของกฎหมายอกี ) แต่เป็นการมอบถวายความคดิ ของเราเก่ยี วกบั
ผอู้ น่ื รวมถงึ คาพดู ของเราดว้ ย เน่ืองจากว่ามนั นาไปสกู่ ารตดั สนิ พพิ ากษาอนั เฉยี บแหลมของพระเป็นเจา้

5:23-26 การนาไปใชโ้ ดยปรบั ตามสถานการณ์ แมว้ ่าศษิ ยจ์ ะมุ่งมนั่ ในการใชช้ วี ติ ตามคาบญั ชาของพระ
เยซูเจา้ แต่พวกเขากม็ เี หตุใหต้ อ้ งเป็นศตั รกู บั ผอู้ ่นื แลว้ จะทาอย่างไรดี นกั บุญมทั ธวิ เลอื กสองอุทาหรณ์จากธรรม
ประเพณีของคากล่าวของพระเยซูเจา้ (เทยี บ แหล่ง Q = ลก 12:57-59) ทช่ี ้นี าใหศ้ ษิ ยน์ าพระบญั ชาของพระองคซ์ ง่ึ เป็น
แนวคดิ ใหม่โดยสน้ิ เชงิ มาปรบั ใชก้ บั สถานการณ์ “ทอี่ ย่รู ะหว่างสองจุดแห่งกาลเวลา” ซง่ึ มผี คู้ นทไ่ี ม่สมบูรณ์แบบ
อาศยั อย่บู นโลกทไ่ี ม่สมบูรณ์แบบเชน่ กนั พวกเขาตอ้ งมองว่าการปรองดอง การเอาชนะความเหนิ ห่างและความ
ประสงคร์ า้ ย สาคญั กว่าการประกอบพธิ บี ูชาบนพระแท่น (ว. 23-24) ดงั นนั้ พวกเขาจะตอ้ งพยายามทาใหเ้ กดิ ความ
ปรองดองเพ่อื การพพิ ากษาในอวสานตกาลท่กี าลงั เดนิ ทางไปถงึ ทงั้ สองอุทาหรณ์น้ีไม่ควรนามาพจิ ารณาตาม
ตัวอกั ษรแบบกฎหมาย ในความเป็นจรงิ แล้วผู้ท่ีกาลังทาพิธีอยู่หน้าแท่นบูชาคงไม่สามารถ ละท้ิงพิธีถวาย
สกั การะบชู าไวก้ ลางคนั เพ่อื ไปตามหาคนทเ่ี ขาไดล้ ่วงละเมดิ หรอื พน่ี ้องทล่ี ่วงละเมดิ เขา (ซง่ึ ตอ้ งใชเ้ วลาหลายวนั เดนิ ทาง
ไปกลบั ระหวา่ งกาลลิ กี บั บา้ นเกดิ ) แลว้ ค่อยกลบั มาท่พี ระวหิ ารเพ่อื ทาพธิ บี ชู าต่อ สง่ิ น้ีสอดคลอ้ งกบั ปฏพิ จน์ใน 5:22 และ
ไม่ใชก่ รณที ต่ี อ้ งการสอ่ื ความเป็นจรงิ แต่เป็นเหมอื นลกู ศรทป่ี ราศจากการตคี วามตามตวั อกั ษร ปราศจากการเอา

150

หลกั ศีลธรรมไปใช้แบบโวหาร(ในทางท่ีผิด) ช้ีไปยงั ความชอบธรรมท่ีเหนือกว่าสาหรบั ผู้ท่ีเป็นสมาชิกของพระ
อาณาจกั รพระเจา้ ศษิ ยท์ งั้ หลายมหี น้าทใ่ี นการนาอทุ าหรณ์น้ไี ปใชอ้ ยา่ งสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื นาคาสอนของพระเยซูเจา้
ประยุกต์กบั สถานการณ์ของตน ด้วยลกั ษณะเช่นน้ี เร่อื งน้ีจงึ เป็นการโจมตีระบบกฎหมายโดยตรง ในฐานะท่ี
ระบบน้ีเป็นแนวทางทน่ี าไปส่คู วามชอบธรรมแบบทพ่ี ระเป็นเจา้ ต้องการ และในทางเดยี วกนั ภาพใน ว. 25-26
โดยดงั้ เดมิ แล้วอาจเป็นเศษเส้ยี วหน่ึงของภูมปิ ัญญาทางโลก แต่ในบรบิ ทน้ี คาสอนเช่นน้ีเป็นพยานยนื ยนั ถงึ
ความจาเป็นเรง่ ด่วนทจ่ี ะตอ้ งมคี วามปรองดองกอ่ นทก่ี ารพพิ ากษาของพระเป็นเจา้ จะมาถงึ ในอวสานตกาล

5:27-30 “ความรักไม่ทาร้ายผู้ใด” (Love is Not Predatory) เราสามารถเห็นรูปแบบเป็ นทางการท่ี
ออกแบบโดยนักบุญมทั ธวิ ไดอ้ ย่างชดั เจนในสาระตอนน้ี ซ่งึ เป็นการยนื ยนั ธรรมบญั ญตั ิ (5:27) และปรบั เปลย่ี น
ในระดบั รากฐาน (5:28) จากนนั้ กใ็ หร้ ปู แบบการนาไปใชต้ ามสถานการณ์ 2 ตวั อยา่ ง (ว. 29-30)

การยนื ยนั ธรรมบญั ญตั ิ การหา้ ม “ผดิ ประเวณี” (Adultery) อยา่ งเดด็ ขาดในพระบญั ญตั สิ บิ ประการ (ภาษา
กรกี moicheia ดู อพย. 20:14; ฉธบ. 5:18) มคี วามหมายเจาะจงถงึ การทผ่ี หู้ ญงิ ซง่ึ แต่งงานแลว้ มคี วามสมั พนั ธท์ างเพศกบั
ผชู้ ายทไ่ี ม่ใช่สามขี องตน ซง่ึ ควรมองใหเ้ หน็ ว่ามนั แตกต่างจาก “การล่วงประเวณี” (Fornication) (ภาษากรกี porneia
หรอื การมเี พศสมั พนั ธโ์ ดยมชิ อบดว้ ยกฎหมายทวั่ ๆ ไป) การล่วงประเวณีถอื ว่าเป็นการละเมดิ กรรมสทิ ธขิ ์ องสามที ม่ี ตี ่อภรรยา
และความมนั่ ใจทว่ี ่าบุตรท่เี กดิ จากภรรยาเป็นลูกของเขาจรงิ ๆ ทงั้ ฝ่ายชายและหญงิ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งถอื ว่ามคี วามผดิ
โทษฐานการคบชนู้ อกใจ ไม่วา่ ฝ่ายชายจะแต่งงานแลว้ หรอื ไม่กต็ าม คาสอนของพระเยซูเจา้ ไมไ่ ดล้ ม้ เลกิ บญั ญตั ิ
สบิ ประการขอ้ ทห่ี า้ มการผดิ ประเวณี แตเ่ ป็นการยนื ยนั บญั ญตั อิ กี ครงั้

การเปลย่ี นแปลงในระดบั รากฐาน พระเยซูเจา้ ไดป้ รบั เปลย่ี นเจตนาของธรรมบญั ญตั ดิ ว้ ยการประกาศวา่
ใครกต็ ามทม่ี องภรรยาของชายอ่นื ดว้ ยความรสู้ กึ ปรารถนาทางเพศถอื วา่ เป็นผทู้ ผ่ี ดิ ประเวณีภายในตวั ตนของเขา
แลว้ พระเยซูเจา้ แสดงออกถงึ บรบิ ททฝ่ี ่ายชายเป็นใหญ่ในสงั คมทงั้ ในพระบญั ญตั สิ บิ ประการและในยุคสมยั ของ
พระองคเ์ องดว้ ยการอธบิ ายขยายคาบญั ชาขอ้ น้ีในแงม่ ุมของบุรุษเพศ ซง่ึ ถอื ว่าเป็นสง่ิ ทน่ี ่าทง่ึ มากเพราะสมยั นนั้
ผหู้ ญงิ มกั ถูกมองว่าเป็นฝ่ายกระทาความผดิ (เทยี บ ยน. 7:53-8:1) เม่อื ตคี วามอยา่ งละเอยี ดเขม้ งวดแลว้ บญั ญตั ขิ อ้ น้ี
ไม่เก่ยี วกบั ความปรารถนาทางเพศตามธรรมชาตแิ ละจนิ ตนาการเพอ้ ฝันท่เี กดิ ขน้ึ ตามมา แต่เก่ยี วกบั การมอง
ภรรยาผูอ้ ่นื ด้วยความปรารถนาทางเพศโดยเจตนา อย่างไรกต็ าม ขอ้ สงั เกตน้ีไม่ควรถูกนามาใชล้ ดทอนระดบั
ความจรงิ จงั ในคาบญั ชาของพระเยซูเจ้าขอ้ น้ี เช่นเดยี วกบั ใน 5:21-27 สงิ่ ท่ที าใหค้ นเราผดิ ต่อพระบญั ญตั ขิ อง
พระเป็นเจา้ ไมไ่ ดม้ แี ต่การกระทาทางกายเท่านนั้ แตห่ มายรวมถงึ เจตนาในใจดว้ ย

การนาไปปรบั ใชต้ ามสถานการณ์ น่ีเป็นอกี ครงั้ หน่ึงทธ่ี รรมาจารยม์ ทั ธวิ ไม่ปล่อยให้ศษิ ยผ์ ทู้ ่ตี อ้ งการใช้
ชวี ติ ตามหลกั จรยิ ศาสตรข์ องความชอบธรรมท่ีเหนือกว่าแห่งพระอาณาจกั รต้องอยู่ในสภาพท่ชี ่วยเหลอื ตวั เอง
ไม่ไดเ้ พราะคาสงั่ ทฟ่ี ังแลว้ สดุ โต่ง ไมอ่ าจปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ นกั บุญมทั ธวิ ไม่ไดล้ ะทง้ิ พระบญั ชาทแ่ี สดงถงึ พระประสงค์
ทแ่ี ทจ้ รงิ ของพระเป็นเจา้ แต่มองหาคากล่าวสอนต่างๆ ของพระเยซูเจา้ ทพ่ี อนามาใชใ้ นบรบิ ทน้ีแลว้ แสดงใหเ้ หน็
ว่าบางครงั้ ศษิ ย์กไ็ ม่อาจปฏบิ ตั ติ นได้ถงึ มาตรฐานอนั สูงสุดน้ี และควรยบั ยงั้ การละเมดิ ด้วยมาตรการท่มี คี วาม
สุดโต่งเช่นกนั คาบญั ชาท่บี อกใหค้ วกั ลูกตาและตดั มอื ของตนอยู่ในอกี บรบิ ทหน่ึงในพระวรสารนักบุญมาระโก
9:43,47 ซ่ึงนักบุญมทั ธิวก็นามาใช้ใน 18:8-9 ด้วย การใช้สองครงั้ เช่นน้ีอาจหมายความว่านักบุญมทั ธิวพบ
ขอ้ ความน้ีในแหล่งขอ้ มลู สาคญั ทงั้ สองของทา่ น คอื เอกสารแห่ง Q และพระวรสารนกั บุญมาระโก แต่เป็นไปไดว้ า่
ท่านนาเน้ือหาจากพระวรสารนักบุญมาระโกมาใชท้ งั้ สองครงั้ ทงั้ ในส่วนน้ีและในบรบิ ทเดยี วกนั กบั พระวรสาร

151

นักบุญมาระโก ดังนัน้ เราจึงเห็นความสาคัญของวิธีการตีความเชิงอรรถปริวรรตศาสตร์ (Hermeneutical
Method) ตามบรบิ ทและการตคี วามตามโครงสรา้ งของนักบุญมทั ธวิ น่ีเป็นอกี ครงั้ หน่ึงท่ีนักบุญมทั ธวิ แสดงให้
เหน็ ว่าท่านไม่ตคี วามธรรมประเพณีของพระเยซูเจา้ ด้วยการยกขอ้ ความและเขยี นความคดิ เหน็ เชงิ อธบิ าย แต่
เป็นการผสมผสานคาพดู ทห่ี ลากหลายของพระเยซูเจา้ จากธรรมประเพณีใหเ้ ขา้ กบั โครงสรา้ งทแ่ี ขง็ ตงึ (Tensive
Structure) เพอ่ื เสนอแนะและชว่ ยใหศ้ ษิ ยม์ กี ารตคี วามทส่ี รา้ งสรรคข์ องตนเอง

5:31-32 “ความรกั ในชวี ติ สมรส” (Love in Marriage) ปฏพิ จน์น้ีเกย่ี วขอ้ งกบั หวั ขอ้ ทเ่ี พง่ิ ผ่านไป คอื การ
ท่บี ญั ญัตหิ า้ มการผดิ ประเวณีในหนังสอื ปัญจบรรพท่คี งมผี ลบงั คบั ใช้ ประเดน็ คอื อะไรเป็นสงิ่ ซ่งึ ก่อให้เกดิ การ
ละเมดิ บญั ญตั ขิ อ้ ทเ่ี จด็ คาสอนของพระเยซูเจา้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ อย่เู หนือกว่าความเขา้ ใจเชงิ กฎหมาย
ของชาวยวิ ท่วี ่า “การผดิ ประเวณี” หมายถงึ การมสี มั พนั ธ์ทางเพศนอกสมรสระหว่างผู้หญิงท่แี ต่งงานแล้วกบั
ผชู้ ายซง่ึ อาจแต่งงานแลว้ หรอื ไม่แต่งกไ็ ด้ ซง่ึ ทาใหท้ งั้ สองฝ่ายมคี วามผดิ ฐานคบชู้ ในเน้ือหาส่วนต่อจากนนั้ ระบุ
วา่ การมองดว้ ยความปรารถนาทางเพศกถ็ อื เป็นการผดิ ประเวณีแลว้ สว่ นในปฏพิ จน์น้ี การหย่าและการแต่งงาน
ใหม่ถอื เป็นการละเมดิ บญั ญตั ขิ อ้ ทเ่ี จด็ แมว้ ่าสงั คมจะยอมรบั และหนงั สอื ปัญจบรรพถอื ว่าไม่ผดิ กฎหมาย แต่ถงึ
กระนนั้ กม็ กี ารปรบั ใชต้ ามสถานการณ์ หรอื ทเ่ี รยี กกนั วา่ “วลขี อ้ ยกเวน้ ” (Exception Clause)

คาสอนของพระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ในส่วนท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั ธรรมบญั ญัติสามารถอธบิ าย
ขยายความไดโ้ ดยพจิ ารณาประวตั ขิ องธรรมประเพณีทางปรวิ รรตศาสตรท์ น่ี กั บุญมทั ธวิ ใช้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) ไม่มพี ระบญั ญตั ใิ ดในหนังสอื ปัญจบรรพทห่ี า้ มการหย่ารา้ ง ธรรมบญั ญตั ขิ องโมเสสถอื ว่าการหย่ารา้ งเป็น

สงิ่ ถูกกฎหมาย แต่ประเดน็ คอื การแต่งงานใหม่ การหย่าต้องเป็นทางการและอยู่ภายใต้การควบคุมของ
ชุมชน เพ่อื ใหก้ ารปกป้องระดบั หน่ึงแก่ฝ่ายหญงิ ในการหยา่ โดยใหเ้ ธอมสี ถานะทถ่ี ูกตอ้ งตามกฎหมายและ
อนุญาตใหแ้ ต่งงานใหมไ่ ด้ แต่อานาจการตดั สนิ ใจทจ่ี ะหยา่ เป็นอภสิ ทิ ธขิ ์ องฝ่ายสามโี ดยเดด็ ขาดแต่เพยี งผู้
เดยี ว โดยเขาไม่จาเป็นต้องไปท่ศี าล เพยี งแต่ดาเนินการตดั สนิ ใจต่อหน้าพยานท่นี ่าเช่อื ถอื จานวนหน่ึง
เทา่ นนั้
(2) ฉธบ. 24: 1-4 คอื สถานการณ์ทม่ี กี ารอภปิ รายในหมธู่ รรมาจารยย์ คุ สมยั พระเยซูเจา้ และนกั บุญมทั ธวิ สงิ่ ท่ี
เป็นประเด็นระหว่างนักบวชชาวยวิ กลุ่มต่างๆ คอื การให้คาจากดั ความของเหตุผลท่ใี ช้อ้างในการหย่า
(“สง่ิ น่ารงั เกียจท่เี ป็นสาเหตุ”) ควรมคี วามเคร่งครดั เพยี งใด ชาวยวิ สายแชมมยั (Shammai) ตคี วามว่าสง่ิ น้ีอาจ
หมายถึงบาปทางโลกีย์หรอื ความเป็นคนหยาบช้าไม่เหมาะสม ในขณะชาวยวิ สายฮลิ เลล (Hillel) ซ่ึงมี
ความเป็นเสรนี ิยมมากกว่าจะเถยี งว่าอาจหมายถึงสง่ิ ใดกไ็ ด้ท่สี ามไี ม่พงึ พอใจ ในธรรมประเพณีทงั้ สอง
การหย่าจดั ว่าเป็นสง่ิ ท่กี ระทาได้ง่ายและเกิดข้นึ บ่อยๆ ซ่ึงสนับสนุนให้เกิดทศั นคติท่หี ละหลวมต่อการ
สมรส
(3) แมจ้ ะขดั ต่อธรรมประเพณีและธรรมบญั ญตั ิ พระเยซูเจา้ ในประวตั ศิ าสตรไ์ ดป้ ระกาศว่าการหา้ มหย่ารา้ ง
โดยเดด็ ขาดนัน้ เป็นพระประสงค์ของพระเป็นเจ้า มก. 10:2-9 และ 1 คร. 7:10:11 ยงั คงสะท้อนถงึ ธรรม
ประเพณีทเ่ี ก่าแก่ทส่ี ุด คอื การทพ่ี ระเยซูเจา้ เป็นประกาศกทป่ี ระกาศพระประสงค์อนั เดด็ ขาดของพระเป็น
เจา้ โดยไมป่ รบั เปลย่ี นตามเสยี งเรยี กรอ้ งทเ่ี กดิ จากความจาเป็นในเชงิ ปฏบิ ตั ิ แมว้ ่าจะมเี น้อื หาหน่ึงสว่ นใน
พระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาเดมิ ทช่ี ม้ี าในทศิ ทางน้ี (มลค. 2:14-16) แตก่ ารสงั่ หา้ มการหย่ารา้ งโดยเดด็ ขาดเชน่ นนั้ ไม่
เคยเกดิ ขน้ึ มากอ่ นในศาสนายดู าย

152

(4) แหล่งขอ้ มลู หลกั ของนกั บุญมทั ธวิ คอื พระวรสารนกั บุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q ลว้ นแตร่ กั ษาคากล่าว
ดงั้ เดมิ ของพระเยซูเจา้ เกย่ี วกบั การหย่ารา้ งเอาไว้ แต่อธบิ ายประเดน็ เร่อื งการแต่งงานใหม่ใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจ
อกี ครงั้ ซ่งึ เป็นสง่ิ จาเป็นในเชงิ ปฏบิ ตั สิ าหรบั ผหู้ ญงิ ทห่ี ย่ารา้ งแลว้ (มก. 10:11-12 ช่วยเสรมิ มก. 10:2-9; ลูกา 16:18)
นอกจากน้ี นักบุญมาระโกได้ปรบั เปล่ียนคากล่าวน้ีให้เข้ากับบริบทของชนต่างศาสนาด้วยการเติม
ขอ้ กาหนดท่ีว่าผู้หญิงสามารถหย่าขาดจากสามขี องตนได้ (มก. 10:12) ข้อกาหนดน้ีไม่มีอยู่เลยในสงั คม
ชาวยวิ ยกเวน้ ในกรณีพเิ ศษจรงิ ๆ เชน่ เพอ่ื ประโยชน์ของกษตั รยิ ์

(5) คาประกาศดงั้ เดมิ ของพระเยซูเจา้ และธรรมประเพณีในพระวรสารนกั บุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q ท่ี
คงรกั ษาคาประกาศไว้ บ่งช้ใี ห้เหน็ ผ่านทางรูปแบบการเขยี นว่าผูช้ ายท่หี ย่าขาดกบั ภรรยาของตนเองมี
ความผดิ ฐานผดิ ประเวณี ธรรมประเพณีท่เี กดิ ขน้ึ หลงั สมยั นักบุญมทั ธวิ ไดน้ าสงิ่ น้ีไปปรบั โครงสรา้ งใหม่
เพอ่ื ใหเ้ ขา้ กบั มุมมองชาวยวิ แบบประเพณนี ยิ มทว่ี า่ ผหู้ ญงิ เท่านนั้ ทจ่ี ะมคี วามผดิ ฐานผดิ ประเวณี (เมอ่ื แต่งงาน
ใหม่) แต่ยงั คงรกั ษาการกล่าวหาฝ่ายชายโทษฐานทาผดิ ประเวณีซ่งึ พระเยซูเจา้ ไดป้ ระกาศไว้ โดยบอกว่า
ฝ่ายชายคอื ผทู้ ต่ี อ้ งรบั ผดิ ชอบต่อการทาผดิ ประเวณี (ในเวลาต่อมา) ของหญงิ ผนู้ นั้ ดว้ ย (มธ. 5:32)

(6) กระแสการตีความของชาวคริสต์ทัง้ หมดไม่ได้มีจุดเริ่มต้นจากการอนุญาตให้มีการหย่าร้าง ตามท่ี
สนั นิษฐานไดจ้ ากพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญาเดมิ แต่เรม่ิ ตน้ จากการหา้ มหยา่ รา้ งโดยเดด็ ขาดตามทพ่ี ระเยซูเจา้
ไดท้ รงประกาศรเิ รมิ่ ไว้ ในธรรมประเพณีสายทส่ี ่งผ่านจากพระเยซูเจา้ น้ี การแต่งงานและครอบครวั ไม่ใช่
การจดั การตามขอ้ สญั ญาทางโลกโดยกฎหมาย แต่เป็นส่วนหน่ึงของการสรา้ งสรรพสง่ิ เป็นของประทาน
จากพระเป็นเจา้ ใหก้ บั มนุษยชาติ และมนุษยไ์ มอ่ าจทง้ิ ขวา้ งตามใจชอบได้ ท่านนกั บุญมทั ธวิ ทาหน้าทเ่ี ป็น
ผตู้ คี วามธรรมประเพณีทงั้ หมดแบบธรรมาจารย์ โดยรวมคาสงั่ ดงั้ เดมิ ของพระเยซูเจา้ และการตคี วามอกี
สองรปู แบบเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั คอื การตคี วามแบบชาวยวิ และแบบชาวต่างชาตใิ น 19:3-12 จากนนั้ ท่านไดเ้ พม่ิ
วลขี อ้ ยกเวน้ ลงไปในรปู แบบทงั้ สอง ซ่งึ ช่วยใหเ้ ขา้ ใจคาสอนทห่ี า้ มการหย่ารา้ งในฐานะทเ่ี ป็นตวั อย่างของ
รูปแบบการเขียนสามระดบั (three fold pattern) กล่าวคือ (ก) พระเยซูเจ้าทรงยืนยันธรรมบัญญัติท่ี
ควบคุมความชวั่ รา้ ยของการหย่า โดย (ข) เปลย่ี นแปลงมนั ในระดบั ฐานราก คอื ทาใหก้ ารหย่ารา้ งนัน้ ผดิ
กฎหมายไปเลย จากนนั้ (c) สรา้ งการนาไปใชแ้ บบปรบั ตามสถานการณ์สาหรบั คาบญั ชาทส่ี ุดโต่งดงั กล่าว
ของพระเยซเู จา้ โดยรวมขอ้ ยกเวน้ หน่งึ ขอ้ เอาไวด้ ว้ ย
วลที เ่ี ป็นขอ้ ยกเวน้ นนั้ กระตุน้ ใหเ้ กดิ การอภปิ รายกนั อย่างมากมาย ประเดน็ ต่างๆ ต่อไปน้ีอาจชว่ ยอธบิ าย

ความหมายท่นี ักบุญมทั ธวิ ต้องการส่อื ไดก้ ระจ่างแจง้ มากขน้ึ แมว้ ่ารูปแบบของประโยคเหล่าน้ีฟังแลว้ ดูเหมอื น
เป็นกฎหมาย แต่พระเยซูเจ้ามไิ ด้ทรงกาหนดธรรมบญั ญตั ขิ น้ึ มาใหม่ ในบรรดาปฏพิ จน์ทงั้ หก ปฏพิ จน์น้ีไดร้ บั
การตคี วามตามตวั อกั ษรและในเชงิ กฎหมายบ่อยครงั้ ทส่ี ุด แต่การตคี วามเช่นนัน้ เป็นการเขา้ ใจผดิ เก่ยี วกบั คา
สอนของพระเยซูเจ้าในบทเทศน์สอนบนภูเขาและความเช่ือมโยงกบั ธรรมบญั ญัติ นักบุญมทั ธิวไม่ได้สร้าง
วธิ กี ารใชห้ ลกั ศลี ธรรมในทางทผ่ี ดิ ขน้ึ มาใหม่ แต่ใหต้ วั อย่างของการยนื ยนั และการนาไปใชอ้ ย่างสรา้ งสรรคข์ อง
บญั ญตั ทิ เ่ี ป็นพระประสงคอ์ นั เดด็ ขาดของพระเป็นเจา้ ตามทพ่ี ระเยซูเจา้ ประกาศ จากการนาวลขี อ้ ยกเวน้ มารวม
ไว้ นกั บุญมทั ธวิ ไดช้ ใ้ี หเ้ หน็ ตามหลกั การวา่ ถา้ หากมขี อ้ ยกเวน้ ไดก้ รณีหน่ึง อาจมกี รณีอ่นื ๆ ตามมาอกี ดว้ ย ท่าน
ไม่ได้ระบุว่าขอ้ ยกเวน้ ต่างๆ เหล่าน้ีหมายถงึ สง่ิ ใด แต่แสดงให้เห็นขอ้ เท็จจรงิ ท่วี ่าคาสอนของพระเยซูเจ้านัน้
จะตอ้ งนาไปตคี วามเป็นกรณๆี ไป โดยไมก่ าหนดวา่ เป็นกฎทเ่ี ขม้ งวดเครง่ ครดั ทใ่ี หข้ อ้ ยกเวน้ เพยี งกรณีเดยี ว

153

โดยตวั มนั เองแลว้ วลขี อ้ ยกเวน้ น้ีสามารถตคี วามไดส้ ามแบบ ขน้ึ อย่กู บั ว่าจะให้ “porneia” หมายถงึ “การ
ล่วงประเวณ”ี (Fornication) “การสมสรู่ ่วมสายโลหติ ” (Incest) หรอื “การผดิ ประเวณี” (Adultery) (1) ถงึ แมค้ าวา่
porneia จะมคี วามหมายทแ่ี ตกต่างจาก moicheia (อย่างใน 15:19) แต่ความหมายทแ่ี ปลว่า “การล่วงประเวณี” ถูกตดั
ออกไปเพราะในทน่ี ้ีเกย่ี วขอ้ งกบั หญงิ ทแ่ี ต่งงานแลว้ (2) ในทางเดยี วกนั คาว่า porneia อาจหมายถงึ “การสมสู่
รว่ มสายโลหติ ” กไ็ ด้ อยา่ งเช่นใน 1 คร. 5:1 ถา้ ถอื ตาม กจ. 15:20, 29 อรรถกถาจารยห์ ลายคนเหน็ วา่ คาน้ีสอ่ื ถงึ
สง่ิ ท่ีธรรมประเพณีชาวยวิ เรยี กว่าการสมสู่ร่วมสายโลหติ โดยยดึ ตามพ้นื ฐานของ ลนต. 17-18 กล่าวคอื การ
แต่งงานภายในเครอื ญาติซ่ึงธรรมบญั ญัติได้ห้ามไว้ แต่เป็นสงิ่ ท่ียอมรบั ได้ในโลกของชนต่างศาสนา ถ้าเป็น
เช่นนัน้ ขอ้ ยกเวน้ ในสถานการณ์ของนักบุญมทั ธวิ กน็ ่าจะหมายถงึ การแต่งงานของชนต่างศาสนาท่เี ขา้ มาเป็น
สมาชกิ ของพระศาสนจกั ร ซง่ึ การแต่งงานดงั กล่าวถอื วา่ ละเมดิ ธรรมบญั ญตั ขิ องชาวยวิ ในการตคี วามเช่นน้ี การ
สมรสลกั ษณะดงั กล่าวสามารถ (หรอื ต้อง?) ยกเลกิ ได้ด้วยการหย่า นักบุญมทั ธิวถูกมองว่าเป็นตวั แทนของ
ศาสนาครสิ ตแ์ นวอนุรกั ษ์นิยมทม่ี พี น้ื ฐานจากศาสนายูดาย และมองประเดน็ น้ีตามหลกั ธรรมบญั ญตั แิ ละในแงม่ ุม
ของการนาหลกั ศีลธรรมมาใช้ในทางท่ีผดิ โดยมีเจตนาเพ่ือทาให้การยกเลิกการแต่งงานดงั กล่าวเป็นส่งิ ถูก
กฎหมาย แมว้ ่าจะมคี าสงั่ หา้ มการหย่ารา้ ง (เทยี บ อสร. 9-10) การตคี วามเช่นน้ีถอื ว่ามปี ัญหามากถ้าดูจากปฏพิ จน์
อ่นื ๆ ท่ตี ามมาหลงั จากน้ี (3) การตีความซ่ึงเป็นท่ยี อมรบั กนั มากท่สี ุดและขอสนับสนุนในท่นี ้ีเช่นกนั คอื การ
ตคี วามว่า porneia หมายถงึ การผดิ ประเวณี ซง่ึ เป็นความหมายสามญั ทส่ี ุดของคาน้ีในบรบิ ทดงั กล่าว ประเดน็ ท่ี
รวม 5:27-32 ใหเ้ ป็นหน่งึ เดยี วกนั คอื การเชอ่ื ฟังบญั ญตั ขิ อ้ ทห่ี า้ มการผดิ ประเวณี ขอ้ สนบั สนุนเพมิ่ เตมิ อกี ประการ
หน่ึงคอื การตคี วามแบบน้ีเท่านัน้ ทส่ี อดคลอ้ งกบั รูปแบบของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ทร่ี ่างไวท้ งั้ หมดในปฏพิ จน์
ชดุ แรก

5:33-48 สามปฏพิ จน์ทเ่ี ก่ยี วกบั การนาบญั ญตั ไิ ปปรบั ใชโ้ ดยศษิ ย์ 5:33-37 คอื เร่อื ง “ความรกั คอื สง่ิ จรงิ
แทอ้ ย่างไม่มเี ง่อื นไข” (Love Is Unconditionally Truthful) ปฏพิ จน์น้ีมาจากธรรมประเพณี M และการประพนั ธ์
ของนักบุญมทั ธวิ ทงั้ หมดโดยไม่มสี งิ่ ใดมาคู่ขนานในธรรมประเพณีของพระวรสาร คากล่าวทใ่ี กลเ้ คยี งนัน้ อย่ใู น
ยก. 5:12 โดยไมไ่ ดข้ น้ึ อย่กู บั พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ดงั นนั้ จงึ บ่งชว้ี า่ ทงั้ สว่ นทอ่ี ย่ใู นพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ และ
จดหมายนักบุญยากอบมที ่มี าจากคากล่าวท่อี ยู่ในธรรมประเพณีท่เี ก่าแก่กว่านัน้ เน่ืองจากไม่เคยมคี าสอนใน
ศาสนายูดายท่หี า้ มการสาบานอย่างเดด็ ขาด และการปฏเิ สธออย่างเตม็ ท่ขี องพวกเขานัน้ ไม่สอดคล้องกบั แนว
ปฏบิ ตั ขิ องศาสนาครสิ ตย์ คุ เรม่ิ แรก แก่นหลกั ของคากล่าวซง่ึ สอดคลอ้ งกบั หลกั ศลี ธรรมแบบลกึ ถงึ ฐานรากน้นี ่าจะ
มาจากพระเยซูเจา้ เอง

นกั บุญมทั ธวิ ไดน้ าเน้ือหามาวางโครงสรา้ งใหอ้ ยใู่ นรปู ของปฏพิ จน์ โดยใหเ้ ป็นอนั ทห่ี น่ึงของสามปฏพิ จน์
ชุดทส่ี อง และแสดงการแยกออกจากชุดแรกตรงคาวา่ “อน่ึง” (Again หรอื Palin ภาษากรกี ), การแนะนารปู แบบ
ประโยคท่สี อดคล้องกบั 5:21, การเปล่ยี นแปลงท่อี ยู่ในรูปแบบขอ้ ความท่แี สดงปฏิพจน์ของคาพูดพระเยซูเจ้า
และการขาดหายไปขององคป์ ระกอบทส่ี ามในโครงสรา้ งของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ คอื “การนาไปปรบั ใชต้ าม
สถานการณ์”

นักบุญมทั ธวิ อยู่ในธรรมประเพณีของฮบี รูและศาสนายูดาย และรู้จกั ความน่าสะพรงึ กลวั ของการนา
ภาษาไปใชใ้ นทางท่ผี ดิ (ดู ต.ย. 12:36-37 ซ่งึ เป็นคากล่าวสอนจากเอกสารในธรรมประเพณี M) ศาสนายูดายคงสบื ต่อและเสรมิ
แต่งระบบการกล่าวคาสาบานและคาปฏญิ าณทเ่ี กดิ ขน้ึ ในภาคพนั ธสญั ญาเดมิ เพอ่ื รบั ประกนั วา่ คาพดู (บางอยา่ ง) มี

154

ความจรงิ เป็นพเิ ศษ ในชดุ หนงั สอื รวบรวมกฎหมายของชาวยวิ (Mishnah) มหี น่ึงเล่มทเ่ี น้ือหาทงั้ หมดกล่าวถงึ คา
สาบาน (Oath หรอื Shebuoth) และหน่ึงเล่มทเ่ี น้ือหาทงั้ หมดกล่าวถงึ คาปฏญิ าณ (Vow หรอื Nedarim) ในโลก
ของชาวยวิ และชนต่างศาสนา การกล่าวคาสาบานคอื การอา้ งถงึ พระเจา้ ศกั ดสิ ์ ทิ ธมิ ์ ารบั รองว่าสง่ิ ทพ่ี ูดเป็นความ
จรงิ หรอื ขอใหพ้ ระเป็นเจา้ ศกั ดสิ ์ ทิ ธลิ ์ งโทษผทู้ ก่ี ล่าวคาสาบานหากสงิ่ ทย่ี นื ยนั นนั้ ไมเ่ ป็นความจรงิ การสาบานยงั
เกย่ี วขอ้ งกบั การสอ่ื สารระหวา่ งสองฝ่าย โดยมกี ารอา้ งนามของพระเป็นเจา้ (หรอื ตวั แทนทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั )เป็นผรู้ บั รอง
สว่ นการกล่าวคาปฏญิ าณเป็นการกล่าวกบั พระเป็นเจา้ โดยตรง สงิ่ ทม่ี คี าสาบานยนื ยนั จะตอ้ งเป็นความจรงิ และ
สง่ิ ใดทม่ี กี ารปฏญิ าณไวก้ จ็ ะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามนนั้ สงิ่ น้ีอาจมคี วามคลา้ ยคลงึ กบั ความแตกต่างทางกฎหมายระหว่าง
ขอ้ ความทอ่ี ยภู่ ายใตค้ าสาบานกบั ขอ้ ความทไ่ี มไ่ ดอ้ ย่ใู ตค้ าสาบานในศาลของสหรฐั อเมรกิ า การใหก้ ารเทจ็ ภายใต้
คาสาบานถอื วา่ เป็นอาชญากรรม สว่ นการใหก้ ารเทจ็ อน่ื ๆ อาจถอื วา่ ผดิ ศลี ธรรม แต่ระบบการกล่าวคาสาบานนนั้
ถอื ว่ามคี วามจาเป็นสาหรบั การรบั รองความเป็นจรงิ ของบางขอ้ ความ และการระบุว่าผหู้ น่ึงมคี วามผดิ ฐานกล่าว
คาเทจ็ หรอื ไม่

พระเยซูเจา้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ไดส้ รา้ งปฏพิ จน์ทเ่ี ป็นการสรุปและเรยี บเรยี งคาสอนเกย่ี วกบั การ
สาบานในพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาเดมิ (ลนต. 19:12; สดด. 50:14) จากนนั้ ทรงประกาศไม่ยอมรบั โดยการใหบ้ ญั ญตั ิ
ของพระองคแ์ ก่บรรดาผตู้ ดิ ตามว่า หา้ มกล่าวคาสาบานเลย เหน็ ไดช้ ดั ว่า มธ. 5:36 เป็นการต่อตา้ นการนาหลกั
ศลี ธรรมไปใชใ้ นทางท่ผี ดิ (เทยี บ 23:16-21) ปฏเิ สธทงั้ คาสาบานท่ใี ชส้ ง่ิ อ่นื เป็นตวั แทนนามของพระเป็นเจา้ และคา
สาบานทเ่ี ลย่ี งการทาเช่นนนั้ ดว้ ย พระเยซูเจา้ ทรงลม้ เลกิ ความแตกต่างระหวา่ งคาพดู ทจ่ี ะตอ้ งเป็นจรงิ และคาพดู
ทไ่ี ม่เป็นจรงิ รวมทงั้ ความต่างระหว่างคาพูดท่บี ุคคลผูห้ น่ึงถูกบงั คบั ใหต้ ้องรบั รองยนื ยนั กบั คาพูดท่ไี ม่ต้องทา
เชน่ นนั้ และเรยี กรอ้ งใหท้ กุ วาจาทก่ี ล่าวเป็นความสจั จรงิ เชน่ เดยี วกบั การหย่ารา้ ง คาสงั่ หา้ มทม่ี าจากพระเยซูเจา้
เป็นคาสงั่ ท่เี ดด็ ขาด และไม่ได้ปฏิเสธเพยี งแค่คาสาบานท่เี ป็นเทจ็ หรอื ไม่จาเป็น แต่ปฏเิ สธความพยายามทุก
รปู แบบทจ่ี ะเชดิ ชวู า่ คาพดู ของเราเป็นความจรงิ ซง่ึ กค็ อื ทุกสงิ่ ทอ่ี ย่นู อกเหนือไปจากคาพดู นนั้ โดยตวั มนั เอง เป็น
การเรยี กรอ้ งใหค้ าพดู ทุกคาของเราเป็นความสจั จรงิ

เน่ืองจากไดร้ บั การสอนจากตวั อยา่ งทอ่ี ยใู่ นปฏพิ จน์ก่อนหน้าน้ีแลว้ ศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ จงึ ไดร้ บั มอบให้
นาคาสอนไปปรบั ใชต้ ามสถานการณ์ โดยพยายามทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามเสยี งเรยี กใหพ้ ดู แต่ความจรงิ (ดคู วามคดิ เหน็ สาหรบั
5:21-32) จรงิ ๆ แลว้ อาจมบี างสถานการณ์ทค่ี วามเปิดเผยตรงไปตรงมาอย่างทส่ี ดุ เป็นการละเมดิ บญั ญตั แิ ห่งความ
รกั พระเจา้ และรกั ผอู้ ่นื ซง่ึ เป็นบญั ญตั ทิ ย่ี งิ่ ใหญ่ทส่ี ดุ อาจจาเป็นตอ้ งมกี ารโกหกเพอ่ื ประโยชน์ของความรกั และสจั
ธรรม แต่นักบุญมทั ธวิ ไม่ได้ให้ตวั อย่างวธิ กี ารบงั คบั ทางกฎหมายหรอื ตัวอย่างของการนาหลกั ศลี ธรรมไปใช้
ในทางทผ่ี ดิ ทาใหส้ าวกตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบในเชงิ เทวศาสตรเ์ อง

5:38-42 “ความรกั ไม่ตอบโต้” (Love Does Not Retaliate) ปฏพิ จน์สองแบบสุดท้าย นักบุญมทั ธวิ กลบั
ไปใช้รูปแบบของบทเทศน์สอนบนภูเขาในเอกสารแหล่ง Q ซ่ึงมตี อนท่กี ล่าวห้ามการตอบโต้โดยวงล้อมด้วย
บญั ญัติท่ีมีการกล่าวถึงสองครงั้ คอื “จงรกั ศตั รูของท่าน” (ลก. 6:27-35) นักบุญมทั ธิวได้นาเน้ือหาน้ีมาแยกออก
จดั เรยี งใหม่ และวางโครงสรา้ งใหม่เป็นแบบปฏพิ จน์ โดยคงรกั ษาพระบญั ญตั แิ ห่งความรกั ไวเ้ ป็นเป้าหมายและ
จุดสาคญั ทส่ี ดุ ของสว่ นน้ีทงั้ หมด

พระคมั ภรี ์พนั ธสญั ญาเดมิ ไม่ไดบ้ ญั ญตั ใิ หม้ กี ารแกแ้ คน้ แต่พยายามทจ่ี ะจากดั แนวโน้มของการแก้เคน้
เร่อื งส่วนตวั แบบไม่มขี อบเขต (ดู ปฐก. 4:23-24) โดยการนาเร่อื ง “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน” (Jus Talionis) มารวมเป็น

155

สว่ นหน่ึงของระบบการตดั สนิ พพิ ากษาในศาล (อพย. 21:24; ลนต. 24:20; ฉธบ. 19:21) ก่อนสมยั ของพระเยซูเจา้ มกี ระแส
ธรรมประเพณีในชนตา่ งศาสนา ในพระคมั ภรี ์ และในศาสนายดู ายทเ่ี รยี กรอ้ งใหม้ กี ารควบคมุ จติ ใจและปฏเิ สธการ
แกแ้ คน้ อย่แู ลว้ พระเยซูเจา้ ไดน้ ากระแสธรรมประเพณีของชาวยวิ ดงั กล่าว ซง่ึ มกี ารลดระดบั แนวทางการตดั สนิ
พพิ ากษาแบบแก้แค้นคนื กลบั มาปรบั เปล่ยี นในระดบั รากฐาน พระองค์ไม่เพยี งแต่ยนื ยนั แนวคดิ หลกั ของพระ
บญั ญตั ซิ ง่ึ ต่อตา้ นการแกแ้ คน้ แบบไมม่ ขี ดี จากดั แต่พระองคเ์ รยี กให้บรรดาศษิ ยป์ ฏเิ สธหลกั การโตต้ อบกลบั ดว้ ย
ความรุนแรงโดยส้ินเชิง พระบัญญัติของการไม่ขดั ขวางต่อต้าน “คนท่ีชวั่ ร้าย” (the Evil One) นัน้ สมบูรณ์
เดด็ ขาด การตอบโตแ้ ละการขอ้ งเกย่ี วกบั ความรุนแรงคอื สงิ่ ทเ่ี ป็นตวั แทนของอาณาจกั รซาตานทพ่ี ยายามเขา้ มา
ช่วงชงิ อานาจ ไม่ใช่พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ทม่ี ตี วั แทนคอื พระเยซูเจา้ “ผทู้ าสง่ิ ชวั่ รา้ ย” (Evildoer ภาษากรกี
ho poneros) ในท่นี ้ีสามารถเขา้ ใจแบบเอกเทศได้ว่าหมายถงึ บุคคลท่ลี ะเมดิ หรอื รุกรานทาร้ายผู้อ่นื มองเป็น
นามธรรมคอื ความชวั่ รา้ ยโดยทวั่ ๆ ไป มองในระดบั สากลจกั รวาลคอื มารรา้ ย (The Evil One) ผทู้ เ่ี ป็นปรปักษก์ บั
พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้า ไม่จาเป็นต้องมองว่าสง่ิ เหล่าน้ีเป็นทางเลือกท่ีไม่อาจเป็นจรงิ ได้ (Mutually
Exclusive Alternatives) บุคคลทก่ี ระทาสงิ่ ชวั่ รา้ ยซง่ึ ศษิ ย์ของพระเยซูเจา้ จะตอ้ งไม่โต้ตอบเขาคอื ตวั แทนทเ่ี ป็น
รูปธรรมของอาณาจกั รมารรา้ ยในทางจติ วญิ ญาณ ซ่ึงแผ่กระจายอยู่ในโลกน้ี และพยายามช่วงชิงความเป็น
กษัตรยิ ์หรอื พระอาณาจกั รอนั ชอบธรรมของพระเป็นเจ้าในโลก ดังนัน้ ปฏิพจน์น้ีก็เหมือนกับปฏิพจน์อ่ืนๆ
กล่าวคอื ไม่ใช่เป็นคาสอนเตอื นใจตามหลกั สามญั สานึกทวั่ ๆ ไป แต่ไดร้ บั การประพนั ธข์ น้ึ โดยท่านนักบุญมทั ธวิ
ภายใต้มุมมองของเร่อื งความขดั แยง้ ระหว่างอาณาจกั ร ซ่งึ พบได้ตลอดทงั้ พระวรสารน้ี (ดู 12:22-37; cf. บทเสรมิ เร่อื ง
“พระอาณาจกั รสวรรค์ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ”) ดงั นัน้ จงึ หมายความว่าศตั รูไม่ได้ถูกมองในฐานะบุคคลชายหรอื หญิงท่ี
มองเหน็ ไดเ้ ท่านนั้ แต่ถูกมองในแงม่ ุมของพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ในปัจจุบนั และทก่ี าลงั จะมาถงึ ทรรศนะ
เช่นน้ีมองเร่อื งความชวั่ รา้ ยแบบจรงิ จงั แต่ไม่ไดม้ องว่ามนั จะเป็นสง่ิ สุดทา้ ย พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ แห่ง
อวสานตกาล (ซง่ึ แทรกเขา้ มาแลว้ ดว้ ยการเสดจ็ มาบงั เกิดของพระเยซูเจา้ ) ใหโ้ อบกอดแมก้ ระทงั ่ ศตั รู ดงั นนั้ พระบญั ชาของพระ
เยซูเจ้าท่สี งั่ ไม่ให้ตอบโต้ความชวั่ รา้ ยจงึ มคี วามหมายเหนือกว่าการตอบโต้แบบเป็นกลยุทธ์ เป็นการกระทา
ทางบวกเพอ่ื ประโยชน์แกบ่ คุ คลทท่ี าผดิ นนั้ ไดส้ านกึ ผดิ กลบั ใจ เหน็ ไดจ้ ากตวั อยา่ งต่างๆ ทต่ี ามมา

ในระดบั ผวิ เผนิ หา้ อุทาหรณ์ท่กี ล่าวมาน้ีดูจะไม่สอดคลอ้ งกนั ในสามอุทาหรณ์แรก (ถูกตบหน้า ถูกฟ้องศาล
ถูกเรยี กรอ้ งบงั คบั ให้รบั ใช้รฐั บาลท่ีเข้ามาปกครองประเทศในระยะสนั้ ) บุคคลถูกทาร้ายโดยผู้ท่ีมอี านาจมากกว่า ส่วนในสอง
อทุ าหรณ์หลงั ดุลอานาจดจู ะเปลย่ี นตาแหน่ง และบุคคลถกู รอ้ งขอใหช้ ว่ ยผทู้ ก่ี าลงั ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื (ขอทาน
ผมู้ าขอยมื ) ในมุมมองของนักบุญมทั ธวิ สง่ิ ทอ่ี งคป์ ระกอบทงั้ หา้ น้ีดเู หมอื นจะมรี ่วมกนั คอื ทงั้ หมดลว้ นเป็นตวั อย่าง
ของการเบยี ดเบยี นและแรงกดดนั จากบุคคลอ่นื ๆ ซง่ึ เกย่ี วขอ้ งกบั ความปรารถนาแบบเหน็ แก่ตวั ของพวกเขา สงิ่
ทเ่ี รยี กรอ้ งใหผ้ อู้ า่ นกระทาคอื ตอบสนองดว้ ยความดแี ละความตอ้ งการของผอู้ ่นื ไม่ใชส่ ทิ ธขิ องตน

ในอุทาหรณ์แรก บุคคลหน่ึงถูกตบหน้า นักบุญมทั ธวิ เตมิ คาว่า “ขวา” ลงไปในคาว่า “แก้ม” ซ่งึ มาจาก
เอกสารแหล่ง Q บ่งช้ีว่าเป็นการตบแบบหลงั มือ และเป็นการทาแบบดูหมน่ิ มากกว่าจะเป็นการทาร้ายทาง
รา่ งกาย แทนทจ่ี ะตอบโต้ แต่กลบั ถกู สงั่ ใหย้ น่ื แกม้ อกี ขา้ งหน่งึ ใหเ้ ขาตบซ้า

ในตวั อยา่ ง ว. 40 เป็นการเสนอภาพคดคี วามในศาล ชายคนหน่ึงถูกฟ้องและกาลงั จะเสยี เสอ้ื ของเขา (ใน
ภาษากรกี คาว่า chiton คอื เส้อื แบบยาวตลอดตวั ท่คี ล้ายกบั เส้อื นอน) แต่ฝ่ ายผู้ถูกกระทานัน้ กลบั ถูกบญั ชาให้มอบเส้อื ของตน
อย่างเตม็ ใจ และสละเส้อื คลุมของตนให้อกี ตวั หน่ึงด้วย (ภาษากรกี himation) ซ่งึ ในท่นี ้ีหมายถงึ เสอ้ื คลุมหลวมท่ใี ส่

156

ดา้ นนอกซง่ึ ไม่อาจถูกสงั ่ ยดึ ไปได้โดยกฎหมาย (อพย. 22:25-26; ฉธบ. 24:12-13) เน่ืองจากในภาพน้ี ฝ่ายผถู้ ูกกระทาท่ี
เต็มใจจะต้องลงเอยด้วยการยนื เปลอื ยเปล่าอยู่ในศาล คาสอนของพระเยซูเจ้าขอ้ น้ี ไม่น่าจะหมายความตาม
ตวั อกั ษรอกี เช่นกนั มนั เป็นเรอ่ื งของความรสู้ กึ มนั่ คงปลอดภยั ในการทต่ี นเป็นทย่ี อมรบั ของพระผเู้ ป็นเจา้ จนทา
ให้บุคคลผู้หน่ึงไม่พยายามจะอ้างสทิ ธิของตน ไม่ว่าจะเป็นสิทธดิ ้านกฎหมายและอ่ืนๆ และสามารถสละสง่ิ
เหล่านนั้ เพอ่ื ประโยชน์ของผอู้ ่นื ซง่ึ เป็นมมุ มองเกย่ี วกบั ชวี ติ ของผเู้ ป็นศษิ ยท์ ไ่ี ดร้ บั การยนื ยนั โดยนกั บุญเปาโล (1

คร. 6:1-11; 8:1-10:33; รม. 14:1-15:7)

อทุ าหรณ์ทส่ี ามสะทอ้ นถงึ แนวปฏบิ ตั ขิ องชาวโรมนั ทร่ี บั มาจากชาวเปอรเ์ ซยี คอื ทหารและเจา้ หน้าทข่ี อง
รฐั สามารถบงั คบั ใหพ้ ลเมอื งของประเทศทต่ี นยดึ ครองบอกทศิ ทางหรอื แบกเครอ่ื งมอื อุปกรณ์ใหต้ ามระยะทางท่ี
กาหนด (เทยี บ 27:32 ซโี มนถูกบงั คบั ใหแ้ บกกางเขนของพระเยซูเจา้ ไปจนถงึ สถานทป่ี ระหาร) แทนทจ่ี ะต่อต้านรฐั บาลทช่ี วั ่ รา้ ยหรอื
วางแผนหาทางแกแ้ คน้ ศษิ ยก์ ลบั ถกู บญั ชาใหท้ ายง่ิ กวา่ สงิ่ ทก่ี ฎหมายบงั คบั เสยี อกี

5:43-48 “ความรกั ทใ่ี หก้ บั ศตั รู” (Love Extends to the Enemy) นักบุญมทั ธวิ เคยใชเ้ น้ือหาจากเอกสาร
แหล่ง Q ในปฏพิ จน์ทผ่ี ่านๆ มาแลว้ แต่เกบ็ พระบญั ญตั เิ ร่อื งความรกั ไวใ้ นจุดสาคญั สูงสุดตรงน้ี โดยออกแบบ
เป็นปฏพิ จน์อนั ทห่ี กและเป็นอนั สุดทา้ ย ลนต. 19:18 ไดบ้ ญั ญตั เิ ร่อื งความรกั เพ่อื นบา้ นเอาไว้ แต่บรบิ ทช่วยให้
เราเขา้ ใจชดั เจนว่า “เพ่อื นบา้ น” ในทน่ี ้ีหมายถงึ ชาวอสิ ราเอลดว้ ยกนั เท่านนั้ (19:17 “พน่ี ้องของเจา้ ” (Your Kin); ทงั้ 19:16
และ 19:18 นาคาวา่ “ชนชาตขิ องเจา้ ”(Your People)และ “เพอ่ื นบา้ นของเจา้ ” (Your Neighbor) มาค่ขู นานในลกั ษณะท่เี ป็นคาพอ้ งความหมาย) ไมม่ ี
บญั ญัติท่สี งั่ ให้เกลยี ดศตั รูของตนอยู่ในพระคมั ภีร์พนั ธสญั ญาเดมิ แต่มขี อ้ ความท่กี ล่าวว่าพระเป็นเจ้า “ทรง
เกลยี ดชงั คนทาชวั ่ ทงั้ หลาย” (สดด. 5:5 เทยี บ 31:6) และคนอ่นื ๆ ท่ที าเช่นนัน้ และเหน็ ว่าเป็นสงิ่ ท่คี วรทา (ฉธบ. 23:3-
7;30:7;สดด. 26:5; 139:21-22) ความหมายหลกั ของคาสอนน้ีไม่ได้มุ่งไปท่เี ร่อื งความพยาบาทอาฆาตแค้นหรอื การดู
หมนิ่ เหยยี ดหยาม แต่มุ่งไปทก่ี ารไม่ยอมรบั (ในทางศาสนา)ผทู้ ไ่ี ม่ใช่คนของพระเป็นเจา้ และไม่ไดร้ กั ษาธรรมบญั ญตั ิ
ชุมชนทางศาสนามกี ารสถาปนากลุ่มบุคคลภายในท่สี มาชกิ สมควรให้ความรกั และบุคคลภายนอกอนั เป็น “ท่ี
เกลยี ดชงั ” และไม่จดั ว่าเป็นสมาชกิ ของกลุ่ม สงิ่ น้ีเหน็ ไดอ้ ย่างชดั เจนในชุมชนคุมราน ทย่ี ดึ ถอื หลกั การพ้นื ฐาน
ของความเช่อื ว่าพวกเขาจะต้อง “รกั บุตรแห่งแสงสว่างทุกคนและเกลยี ดบุตรแห่งความมดื ทุกคน” (1QS 1:9-10; cf.
1:3-4) จากมุมมองทางกฎหมาย คาถามคอื คาจากดั ความของ ”เพ่อื นบา้ น” นัน้ ควรครอบคลุมกวา้ งเพยี งใด (เทยี บ
ลก. 10:25-29. 30-37) ศาสนายดู ายไม่ควรถูกนาไปลอ้ เลยี นวา่ คบั แคบและจากดั อยภู่ ายในกลุ่มอยตู่ ลอดเวลา เพราะมี
องคป์ ระกอบและแนวโน้มทม่ี ุง่ ไปสคู่ วามรกั สาหรบั ผคู้ นทงั้ มวล รวมถงึ ศตั รดู ว้ ย

พระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ทาให้ความรกั พระเป็นเจ้าและความรกั เพ่อื นบ้านเป็นบญั ญัติ
สาคญั ทเ่ี ป็นพน้ื ฐานใหก้ บั บญั ญตั ขิ อ้ อ่นื ๆ (ดู 22:34-40 ในเร่อื งความหมายของคาว่า agape) ทาใหพ้ ระบญั ญตั ทิ ใ่ี หร้ กั ศตั รมู ี
ความเจาะจงและเป็นรูปธรรม ในความเดด็ ขาดและเป็นรูปธรรมน้ี ไม่มสี งิ่ ใดคู่ขนานอยู่ในคาสอนในลทั ธนิ อก
ศาสนา (Paganism) หรอื ในศาสนายดู ายเลย เราไมค่ วรทาความเขา้ ใจบญั ญตั ขิ อ้ น้ใี นแบบทเ่ี ป็นนามธรรมวา่ “จง
รกั คนทุกคน แมแ้ ต่คนทเ่ี ป็นศตั ร”ู ในสถานการณ์ของพระเยซูเจา้ บญั ญตั นิ ้สี อ่ื ถงึ กองกาลงั โรมนั ทเ่ี ขา้ มายดึ ครอง
ดงั นนั้ จงึ หมายถงึ ศตั รูของชาติ กลุ่มศาสนาทแ่ี ขง่ ขนั กนั และศตั รสู ว่ นบุคคล สาหรบั นักบุญมทั ธวิ กรณีตวั อย่างท่ี
สาคญั คอื สถานการณ์อนั เป็นรปู ธรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ชุมชนทถ่ี ูกเบยี ดเบยี นของทา่ น แต่จุดกาหนดทศิ ทาง (Point Of
Orientation) ทเ่ี ป็นรปู ธรรมอยา่ งยงิ่ เชน่ น้สี ง่ ผลใหค้ วามรกั กลายเป็นสงิ่ สากล

พระเยซูเจ้าไม่ได้วางรากฐานของบัญญัติน้ีไว้บนอุดมคติแห่งความเป็นมนุษย์ หลักการเร่ืองสิทธิ
มนุษยชน กลยุทธ์ หรอื วตั ถุประสงค์เชงิ ผลประโยชน์ (ชนะใจศตั รูเพ่อื ให้มาอยู่ฝ่ายตน) แต่ (a) วางไว้บนอานาจของ

157

พระองคเ์ องในการสรา้ งพระบญั ญตั ขิ น้ึ เทยี บเคยี งกบั ธรรมบญั ญตั เิ ดมิ (5:43) (b) วางไวบ้ นรากฐานพระธรรมชาติ
ของพระเป็นเจา้ ผทู้ รงรกั ทุกสรรพสง่ิ อย่างไม่มแี บ่งแยก (5:45) และ (c) วางไวบ้ นรากฐานของคาสญั ญาเรอ่ื งรางวลั
ตอบแทนในวนั อวสานตกาล (5:46) แนวคดิ เร่อื งรางวลั ตอบแทนน้ีไม่ไดเ้ ป็นความเหน็ แก่ตวั แต่เป็นมติ หิ น่ึงของ
การประกาศหลกั การพน้ื ฐานของพระเยซูเจา้ เร่อื งพระอาณาจกั รของพระเจา้ ทอ่ี ย่ใู นปัจจุบนั และทก่ี าลงั จะมาถงึ
ในฐานะรากฐานท่สี นับสนุนการใชช้ วี ติ แบบสุดโต่ง (Radical Life-Style)ท่พี ระองค์เรยี กให้บรรดาศษิ ย์กระทา
ดงั นนั้ ขอ้ ความทว่ี ่า “เพ่อื ท่านจะไดเ้ ป็นบุตร [ภาษากรกี huioi] ของพระบดิ าเจา้ สวรรค”์ จงึ แสดงถงึ แนวคดิ เร่อื งวนั
พพิ ากษาโลกทน่ี ักบุญมทั ธวิ ไดเ้ รมิ่ ไวอ้ ย่างเป็นทางการว่า ความประพฤตขิ องท่านตอ้ งเหมาะสมกบั สถานะของ
ทา่ นในฐานะบุตรของพระเป็นเจา้ ซง่ึ ท่านเป็นอยแู่ ลว้ (6:4; 6; เทยี บ ว. 18) พระเป็นเจา้ จะทรงเปิดเผยและรบั รสู้ ถานะ
นนั้ ในวนั พพิ ากษาครงั้ สุดทา้ ย (เทยี บ 5:9)

“คนเกบ็ ภาษ”ี ส่อื ถงึ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทไ่ี ดร้ บั เงนิ จา้ งจากผรู้ บั เหมาเกบ็ ภาษชี าวโรมนั โดยทวั่ ไปแลว้ คน
กลุ่มน้ีถูกมองว่าเป็นพวกไม่ซ่ือสตั ย์และเป็นท่เี กลยี ดชงั ในหมู่ประชากรชาวยวิ ท่จี งรกั ภกั ดตี ่อชาติ เน่ืองจาก
อาชีพของพวกเขานัน้ แสดงถึงความไม่รกั ชาติ และพวกเขาเป็นท่ีเกลียดชงั ในหมู่ผู้ท่ีเคร่งครดั ศาสนาด้วย
เน่ืองจากภารกจิ การงานทาใหพ้ วกเขาต้องตดิ ต่อกบั ชนนอกศาสนาอยู่เสมอ ดงั นัน้ พวกเขาจงึ อยู่ในสภาวะท่มี ี
มลทนิ ในเชงิ พธิ กี รรม (Ceremonially Unclean) ถงึ แมว้ า่ จะนาเสนอพระเยซูเจา้ ในฐานะมติ รของคนเกบ็ ภาษแี ละ
คนบาป (ดู 9:11; 11:19) และถงึ แมพ้ ระศาสนจกั รของนกั บุญมทั ธวิ จะมชี นต่างชาตริ วมอย่ดู ว้ ย (28: 18-20) ท่านกย็ งั ใช้
คาศพั ท์ตามธรรมประเพณีดงั้ เดมิ ของชาวครสิ ตท์ ม่ี พี น้ื ฐานมาจากชาวยวิ ซง่ึ ดูหมนิ่ คนเกบ็ ภาษแี ละชนต่างชาติ
ซ่ึงปัจจุบันเข้าใจว่าไม่ได้หมายถึงเช้ือชาติ แต่หมายถึงการเป็นผู้ไม่เช่ือในพระเป็นเจ้าโดยทัว่ ไป (Typical
Unbelievers)

อะไรคอื ความหมายของขอ้ ความ ว. 48 ทก่ี ล่าวว่า “จงเป็นคนดอี ย่างสมบูรณ์” ในพระวรสาร สหทรรศน์
คาพูดน้ีใช้มอี ยู่แต่ในพระวรสารมทั ธวิ เท่านัน้ เขาเปล่ยี นคาว่า “มเี มตตา” (Merciful) จากเอกสารแหล่ง Q ซ่ึง
รูปแบบดงั้ เดิมคงรกั ษาไว้ใน ลก 6:36 และนามาใส่ไว้ในเน้ือหาท่ีมาจากพระวรสารนักบุญมาระโกใน 19:21
ดงั นัน้ คาน้ีจงึ ไม่ใช่คาท่มี ปี ัญหาซ่งึ เขาต้องการผ่อนปรนความหมายลง แต่เป็นคาทเ่ี ขาเลอื กมาสรุปบญั ญตั ขิ อง
พระเยซูเจา้ ใน 5:21-48 ทงั้ ในทน่ี ้ีและใน 19:21 ไมไ่ ดแ้ สดงถงึ หลกั ศลี ธรรมแบบสองชนั้ (Two-Level Ethic) ทค่ี า
ว่าสมบูรณ์แบบมไี วส้ าหรบั กลุ่มผู้ท่ดี ที ่สี ุดเท่านัน้ แต่เป็นบญั ญตั ขิ องพระเยซูเจ้าท่ใี ห้บรรดาศษิ ย์ทุกคนปฏบิ ตั ิ
ตาม คาว่าสมบูรณ์แบบไม่ควรลดหย่อนความหมายลงเพ่อื ให้ศษิ ย์รูส้ กึ สบายใจขน้ึ แต่กไ็ ม่ควรตคี วามในแบบ
ภาษากรกี ทห่ี มายถงึ ความดพี รอ้ มทางจรยิ ธรรมโดยสมบูรณ์ ซง่ึ เป็นอุดมคตทิ ม่ี นุษยไ์ ม่อาจไปถงึ ไดจ้ รงิ สาหรบั
นกั บุญมทั ธวิ ทา่ มกลางความเชอ่ื มโยงเกย่ี วขอ้ งกนั และความคลุมเครอื ของการกระทาทเ่ี ป็นรปู ธรรมในโลกน้ี ซง่ึ
กค็ อื สรรพสง่ิ ทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงสรา้ งขน้ึ แมว้ ่าจะอยใู่ นสภาพตกอย่ใู นบาป (Fallenness) น่ีเองทบ่ี รรดาศษิ ยไ์ ดร้ บั
เรยี กใหเ้ ป็นคนสมบูรณ์แบบ ตรงขา้ มกบั แนวคดิ ของคาว่าสมบูรณ์แบบซง่ึ เป็นนามธรรมในอุดมคตขิ องชาวกรกี
คอื ไม่แปดเป้ือนจากการเขา้ ไปมสี ่วนร่วมทางรูปธรรมกบั โลกแห่งวตั ถุ นักบุญมทั ธวิ ไม่ไดต้ คี วามคาว่าสมบูรณ์
แบบในเชงิ กฎหมายแบบชาวคุมรานว่าหมายถึงการรกั ษากฎขอ้ บงั คบั ทัง้ หมดของชุมชน ซ่ึงเป็นเป้าหมาย
ทางการกระทาภายนอกซง่ึ สามารถบรรลุไดจ้ รงิ แต่ยงั มชี ่องวา่ งเหลอื ไวส้ าหรบั เจตนาทเ่ี หน็ แก่ตวั ของบุคคล นกั
บุญมทั ธวิ นาคาน้ีออกมาจากพระคมั ภรี ไ์ บเบล้ิ ของท่าน (ใชฉ้ บบั เจด็ สบิ (LXX) บ่อยครงั้ ) โดยเฉพาะอย่างยงิ่ จาก ฉธบ.
18:13 “ท่านจะตอ้ งไม่มที ต่ี ติ ่อหน้าพระยาเวห์ พระเป็นเจา้ ของท่าน” คาทอ่ี ย่ใู นพระคมั ภรี ค์ อื !ymt (tAmîm) ซ่งึ

158

หมายถงึ ความครบครนั บรบิ ูรณ์ (Wholeness) ดงั นนั้ การเป็นคนทส่ี มบูรณ์แบบคอื การรบั ใชพ้ ระเป็นเจา้ ดว้ ยสุด
หวั ใจและมุ่งมนั่ อย่างเดด็ เดย่ี วท่จี ะอุทศิ ตวั ตนใหก้ บั พระเป็นเจ้าเท่านัน้ เน่ืองจากพระเป็นเจา้ มคี วามเป็นหน่ึง
เดยี ว ซง่ึ เป็นทศั นคตทิ างจรยิ ธรรมทเ่ี หมาะสาหรบั ศาสนาทม่ี พี ระเป็นเจา้ เพยี งพระองคเ์ ดยี ว (เทยี บ ฉธบ. 6:4-6) เป็น
รปู แบบการดาเนินชวี ติ ทป่ี ฏพิ จน์ทุกอนั เรยี กรอ้ งใหป้ ฏบิ ตั ิ และเป็นบทสรุปทเ่ี หมาะสมแลว้ และสอดคลอ้ งกบั คา
วา่ “มใี จบรสิ ทุ ธ”ิ ์ ใน 5:8

อนึง่ เป็นทคี่ าดหวงั ว่า พระเมสสยิ าหจ์ ะนาธรรมบญั ญตั ทิ ไี่ ดร้ ับการฟ้ืนฟูใหม่มาให้ อนั เป็นธรรมบญั ญตั ิ
ของพระองค์ นกั บุญเปาโลกล่าวถงึ เรอื่ งน้ีไวใ้ นจดหมายถงึ ชาวกาลาเทยี เมอื่ ท่านพดู ถงึ เรอื่ ง “กฎบญั ญตั ขิ องพระ
ครสิ ตเจ้า” (กท. 6: 2) เรอื่ งทนี่ ักบุญเปาโลพยายามปกป้องความเป็นอสิ ระจากธรรมบญั ญัติ ข้นึ ถงึ จุดสูงสุดใน
ขอ้ ความในบทที่5 ทวี่ ่า “เพราะพระครสิ ตเจา้ ทรงปลดปล่อยเราใหเ้ ป็นอสิ ระแลว้ นนั้ จงยนื หยดั มนั่ คง และอย่าเขา้
เทยี มแอกเป็นทาสอกี เลย” (กท. 5: 1) แต่เมอื่ ท่านเน้นย้าเพมิ่ เตมิ ใน กท. 5: 13 ว่า “พระเป็นเจา้ ทรงเรยี กท่านให้
มารบั อสิ รภาพ” นกั บุญเปาโลกเ็ สรมิ วา่ “ขอเพยี งแตอ่ ยา่ ใชอ้ สิ รภาพนนั้ เป็นขอ้ แกต้ วั ทจี่ ะทาตามใจตน แต่จงรบั ใช้
ซงึ่ กนั และกนั ดว้ ยความรกั ” (กท. 5: 13) แลว้ เวลาน้ี นักบุญเปาโลกอ็ ธบิ ายว่าอสิ รภาพนัน้ เป็นอย่างไร กล่าวคอื
เป็นอิสรภาพในการรบั ใช้ความดี เป็นอิสรภาพทีย่ อม ให้ตัวมนั เองได้รบั การนาโดยพระจติ ของพร ะเป็นเจ้า
ยงิ่ กว่านัน้ โดยการนาของพระจติ เจา้ เองทเี่ ขาผูน้ ัน้ จะไดเ้ ป็นอสิ ระจากกฎบญั ญตั ิ แลว้ ทนั ทที ตี่ ่อจากขอ้ ความน้ี
นกั บุญเปาโลกใ็ หร้ ายละเอยี ดเรอื่ งอสิ รภาพของพระจติ วา่ ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง และมอี ะไรบา้ งทไี่ มอ่ าจเขา้ ไดก้ บั
พระจติ ของพระเป็นเจา้

“กฎบญั ญตั ขิ องพระครสิ ตเจา้ ” คอื อสิ รภาพ นีเ่ ป็นภาวะขด้ แยง้ (Paradox) ของสารของนักบุญเปาโลใน
จดหมายถงึ ชาวกาลาเทยี อสิ รภาพน้ีมเี น้ือหา มที ศิ ทางของมนั และมนั ขดั แยง้ ตรงขา้ มกบั สงิ่ ทดี่ ูเหมอื นจะช่วย
มนุษยใ์ หเ้ ป็นอสิ ระ แต่ตามความจรงิ แลว้ มนั กลบั ทาใหม้ นุษยต์ กเป็นทาส “ธรรมบญั ญตั ขิ องพระเมสสยิ าห”์ เป็น
สงิ่ ใหม่ทแี่ ตกต่างไปโดยสน้ิ เชงิ แตก่ ารทมี่ นั เป็นเชน่ น้ี กท็ าใหธ้ รรมบญั ญตั ขิ องโมเสสสาเรจ็ สมบูรณ์ไป

สว่ นทมี่ ากกวา่ เรอื่ งบทเทศน์สอนบนภเู ขา (เทยี บ มธ. 5: 17; 7: 27) กถ็ กู นาเขา้ มาสเู่ รอื่ งสาคญั เดยี วกนั น้ี
นนั่ คอื หลงั จากทมี่ กี ารกลา่ วนาอยา่ งเป็นขนั้ เป็นตอนในรปู ของความสุขแทจ้ รงิ เหลา่ น้ีแลว้ กเ็ ป็นการนาเสนอสงิ่ ที่
เรยี กว่าเป็นธรรมบญั ญตั ขิ องพระเมสสยิ าห์ แม้ในส่วนของผู้รบั สารและความตงั้ ใจจรงิ ของขอ้ ความพระคมั ภรี ์
ตอนน้ี กม็ สี ่วนทสี่ อดคลอ้ งคล้ายคลงึ กบั จดหมายถงึ ชาวกาลาเทยี กล่าวคอื นักบุญเปาโลเขยี นจดหมายฉบบั น้ี
ถงึ ครสิ ตชนชาวยวิ ทเี่ รมิ่ ไมแ่ น่ใจวา่ พวกเขาควรจะตอ้ งถอื ตามธรรมบญั ญตั ทิ งั้ หมดทพี่ วกเขาเขา้ ใจว่ายงั คงเป็น
สงิ่ จาเป็นทจี่ ะตอ้ งถอื นนั้ อกี ต่อไปหรอื ไม่

ความไม่แน่ใจน้ีส่งผลกระทบเป็นต้นในเรอื่ งพิธีการเข้าสุหนัต เรอื่ งบทบัญญัติห้ามเกีย่ วกับอาหาร
กฏเกณฑต์ ่างๆ เรอื่ งการชาระใหบ้ รสิ ุทธ์ิ และเรอื่ งการถอื วนั สบั บาโต นักบุญเปาโลมองเหน็ ว่าความคดิ ในเรอื่ ง
เหล่าน้ีเป็นการหวนกลบั ไปส่สู ภาพเดมิ (Status Quo) ก่อนการฟ้ืนฟูของพระเมสสยิ าห์ เป็นการกลบั ไปส่สู ภาพ
เลวรา้ ยเดมิ ทที่ าใหเ้ น้ือหาสาระสาคญั ของการฟ้ืนฟูนนั้ สญู หายไป กล่าวคอื เรอื่ งการทาใหป้ ระชากรของพระเจา้
แผ่ไปทวั่ สากลโลก ซงึ่ ผลของการเป็นเช่นน้ี ช่วยใหอ้ สิ ราเอลสามารถรวมเอาประชาชาตทิ งั้ หลายของโลกเขา้ ไว้
ในหมู่ประชากรของพระเป็นเจ้าด้วย พระเป็นเจ้าของอสิ ราเอลจงึ ถูกนาเสนอมาสู่ประชาชาตทิ งั้ หลายแลว้ ซึง่
เป็นไปตามคาสญั ญาเหล่านนั้ และบดั น้ีกแ็ สดงใหเ้ หน็ แลว้ วา่ พระองคท์ รงเป็นพระเป็นเจา้ หนึง่ เดยี วของมนุษยท์ งั้
มวล

159

สงิ่ สาคญั มใิ ช่เป็นเลอื ดเน้ือ (the Flesh) คอื การสบื ทอดเช้อื สายมาจากอบั ราฮมั อกี ต่อไป แต่เป็นเรอื่ งจติ
(the Spirit) ต่างหากทสี่ าคญั กล่าวคอื เป็นการสบื ทอดมรดกความเชอื่ และชีวติ ของอสิ ราเอลผ่านทางการสนิท
สมั พนั ธเ์ ป็นหนึง่ เดยี วกบั พระเยซูครสิ ตเจา้ ผทู้ รง “ทาใหธ้ รรมบญั ญตั นิ ัน้ เป็นจติ ” และในการทาเช่นนัน้ กท็ าให้
ธรรมบญั ญตั นิ ัน้ เป็นทางเดนิ ชวี ติ สาหรบั มนุษยท์ ุกคน ในบทเทศน์สอนบนภูเขา พระเยซูเจา้ ตรสั กบั ประชาชน
ของพระองคค์ อื กบั ชนชาตอิ สิ ราเอล ในฐานะเป็นชนกลมุ่ แรกทไี่ ดร้ บั คาสญั ญา แต่ในการมอบธรรมบญั ญตั ใิ หม่แก่
พวกเขา พระองคท์ รงเปิดใจพวกเขาเพอื่ ใหพ้ วกเขาก่อเกดิ เป็นครอบครวั ใหม่ทยี่ งิ่ ใหญ่ของพระเป็นเจา้ ทมี่ าจาก
ชนชาตอิ สิ ราเอลและชนต่างชาตทิ งั้ หลาย

นักบุญมทั ธวิ นิพนธ์พระวรสารของท่านสาหรบั ครสิ ตชนชาวยวิ และทกี่ วา้ งกว่านัน้ คอื สาหรบั โลกของ
ชาวยวิ เพอื่ ทจี่ ะร้อื ฟ้ืนแรงกระตุน้ ใหม่ทพี่ ระเยซูเจา้ ไดท้ รงรเิ่ รมิ่ ขน้ึ ผ่านทางพระวรสารของนกั บุญมทั ธวิ พระเยซู
เจา้ ตรสั แก่ชนอสิ ราเอลในแบบใหมท่ ตี่ ่อเนือ่ งกนั ไป จากพ้นื เพทางประวตั ศิ าสตรท์ นี่ กั บุญมทั ธวิ นิพนธพ์ ระวรสาร
ของทา่ น ทา่ นพดู กบั ครสิ ตชนชาวยวิ เป็นการเฉพาะ ผทู้ ใี่ นตอนนนั้ ไดร้ บั รเู้ รอื่ งราวและประวตั ศิ าสตรต์ ่อเนือ่ งของ
เรอื่ งทพี่ ระเป็นเจา้ ทรงมคี วามสมั พนั ธเ์ กยี่ วขอ้ งกบั มนุษยชาติ เรมิ่ จากอบั ราฮมั เรอื่ ยมาจนถงึ การปฏริ ปู ทกี่ ระทา
โดยพระเยซูเจา้ ในแบบน้ีเองทพี่ วกเขาไดพ้ บทางเดนิ ชวี ติ ของตน

แต่วา่ ธรรมบญั ญตั ขิ องพระเมสสยิ าหม์ ลี กั ษณะเชน่ ไรเล่า? นบั แตแ่ รกเรมิ่ แลว้ กม็ คี ายนื ยนั ทไี่ ม่อาจทาให้
เราหายแปลกใจไดเ้ ลย แบบเป็นคาช้แี จงและกญุ แจแปลความหมาย คายนื ยนั นนั้ บง่ บอกถงึ ความซอื่ สตั ยข์ องพระ
เป็นเจา้ ต่อตวั พระองค์เอง ไวอ้ ย่างชดั เจนยงิ่ นักว่า “จงอย่าคิดว่าเรามาเพอื่ ลบลา้ งธรรมบญั ญตั หิ รอื คาสอนของ
บรรดาประกาศก เรามไิ ดม้ าเพอื่ ลบลา้ ง แต่มาเพอื่ ปรบั ปรงุ ใหส้ มบรู ณ์ เราบอกความจรงิ แกท่ า่ นทงั้ หลายวา่ ตราบ
ใดทฟี่ ้าและดนิ ยงั ไม่สญู ส้นิ ไป แมแ้ ต่ตวั อกั ษรหรอื จุดเดยี วจะไม่ขาดหายไปจากธรรมบญั ญตั ิ จนกว่าทุกอย่างจะ
สาเรจ็ ไป ดงั นัน้ ผใู้ ดละเมดิ ธรรมบญั ญตั เิ พยี งขอ้ เดยี ว แมเ้ ลก็ น้อยทสี่ ุด และสอนผอู้ นื่ ใหล้ ะเมดิ ดว้ ย จะไดช้ อื่ ว่า
เป็นผตู้ า่ ตอ้ ยทสี่ ดุ ในอาณาจกั รสวรรค์ สว่ นผทู้ ปี่ ฏบิ ตั ิตามและสอนผอู้ นื่ ใหป้ ฏบิ ตั ดิ ว้ ย จะไดช้ อื่ วา่ เป็นผยู้ งิ่ ใหญ่ใน
อาณาจกั รสวรรค”์ (มธ. 5: 17-19)

เจตจานงนัน้ มใิ ช่เพอื่ ลบล้าง แต่เพอื่ ปรบั ปรุงธรรมบญั ญตั ใิ หส้ มบูรณ์ และการทาใหส้ มบูรณ็น้ีเรยี กรอ้ ง
การมคี วามชอบธรรมทเี่ หนือกว่าและมใิ ช้ด้อยกว่า ดงั ทีพ่ ระเยซูเจ้าทรงกล่าวต่อไปในทนั ทวี ่า “เราบอกท่าน
ทงั้ หลายว่า ถ้าความชอบธรรมของท่านไม่ดไี ปกว่าความชอบธรรมของบรรดาธรรมาจารย์และชาวฟารสิ แี ล้ว
ท่านจะเขา้ อาณาจกั รสวรรค์ไม่ได้เลย” (มธ. 5: 20) เรอื่ งสาคญั น้ีเป็นเพียงแค่การนบนอบต่อธรรมบญั ญัติให้
เครง่ ครดั มากขน้ึ กระนนั้ หรอื ? ความชอบธรรมทเี่ หนือกว่าเป็นอะไรอนื่ ไดอ้ กี หรอื ถา้ มใิ ชส่ งิ่ นนั้ ?

เป็นความจรงิ ทวี่ ่า นับแต่แรกเรมิ่ ของ “การกล่าวย้าอกี ครงั้ หนึง่ ” นัน่ คอื การอ่านส่วนสาคญั ของธรรม
บญั ญตั นิ ้ีใหม่ มกี ารเน้นถงึ เรอื่ งความซอื่ สตั ยท์ สี่ ุดต่อการถอื ตามธรรมบญั ญตั อิ ย่างต่อเนือ่ งโดยไม่ขาดตอน ถงึ
กระนนั้ เมอื่ เราฟังตอ่ ไป เรากร็ สู้ กึ ประทบั ใจกบั การนาเสนอเรอื่ งความสมั พนั ธก์ บั ธรรมบญั ญตั ขิ องโมเสสกบั ธรรม
บญั ญตั ขิ องพระเมสสยิ าหใ์ นลกั ษณะขดั แยง้ ค่กู นั ไปวา่ “ท่านไดย้ นิ คากล่าวทวี่ ่า...แต่เรากล่าวแก่ท่านทงั้ หลายว่า
...” “เรา” ของพระเยซูเจา้ ณ ทนี่ ้ี เป็นคาทเี่ ขา้ ใจไดด้ กี บั สถานภาพของพระองคท์ ไี่ ม่มอี าจารยธ์ รรมบญั ญตั คิ นใดมี
สทิ ธนิ์ ามาใชก้ บั ตวั เองอย่างถกู ตอ้ งตามกฎหมายได้ ฝงู ชนนนั้ รสู้ กึ ถงึ สงิ่ น้ีโดยทนี่ กั บุญมทั ธวิ บอกเราอย่างชดั เจน
วา่ ประชาชน “ต่างพศิ วง” ในวธิ สี อนของพระองค์ พระองคท์ รงสอนไม่เหมอื นกบั บรรดาธรรมาจารยข์ องพวกเขา
แต่ทรงสอนพวกเขา “อย่างผมู้ อี านาจ” (มธ. 7: 28; เทยี บ มก. 1: 22; ลก. 4: 32) เหน็ ไดช้ ดั ว่าสงิ่ น้ีไม่ใช่หมายถงึ
เรอื่ งคุณภาพทางวาทศลิ ป์ ของพระเยซเู จา้ แต่เป็นการยนื ยนั แบบเปิดเผยวา่ พระองคเ์ องทรงเป็นผถู้ กู ยกใหส้ งู สง่

160

เทยี บเทา่ องคพ์ ระผปู้ ระทานธรรมบญั ญตั ใิ หพ้ วกเขา คอื เทยี บเทา่ พระเป็นเจา้ “การรสู้ กึ ถกู ปลกุ ใหต้ นี่ ตวั (Alarm)
ของประชาชน (ซงึ่ พระคมั ภรี ฉ์ บบั RSV แปลคาน้ีใหอ้ ่อนลงว่า “การรสู้ กึ ประหลาดใจ” หรอื “Astonishment” ) กบั ขอ้ เทจ็ จรงิ
ทวี่ ่า มนุษยผ์ ูห้ นึง่ บงั อาจพูดดว้ ยอานาจของพระเป็นเจา้ อาจเป็นว่า เขาผนู้ ัน้ กาลงั ลบหลู่พระอานุภาพของพระ
เป็นเจา้ ซงึ่ ย่อมเป็นสงิ่ ทนี่ ่าหวาดหวนั่ ยงิ่ หรอื ไม่ก็ เขากาลงั ยนื อยู่ ณ ระดบั สงู สง่ เทา่ กบั พระเป็นเจา้ ซงึ่ ดูเหมอื น
จะเป็นสงิ่ ทไี่ ม่อาจเขา้ ใจได้

แลว้ เราจะต้องเขา้ ใจธรรมบญั ญตั ขิ องพระเมสสยิ าห์น้ีอย่างไร? ธรรมบญั ญตั นิ ้ีบ่งช้เี สน้ ทางเดนิ ไปทาง
ไหน? ธรรมบญั ญัติน้ีบอกอะไรเราเกีย่ วกบั พระเยซูเจ้า เกยี่ วกบั อิสราเอลและเกยี่ วกบั พระศาสนจกั ร? ธรรม
บญั ญตั นิ ้ีบอกอะไรเกยี่ วกบั ตวั เราบา้ ง? ในการแสวงหาคาตอบของขา้ พเจา้ ขา้ พเจา้ ไดร้ บั ความช่วยเหลอื จาก...
นกั ศกึ ษาพระคมั ภรี ช์ าวยวิ ยาโคบ นูสเนอร์...วา่ จงตดิ ตามพระเยซูเจา้ กล่าวคอื พระวาจาของพระเยซูเจา้ ทตี่ รสั
กบั เศรษฐหี นุ่มผนู้ นั้ เป็นหลกั ฐานถงึ “สงิ่ เพมิ่ เตมิ ” ทพี่ ระองคต์ รสั วา่ “ถา้ ท่านอยากเป็นคนดอี ย่างสมบูรณ์ จงไป
ขายทุกสงิ่ ทมี่ ี มอบเงนิ ใหแ้ ก่คนยากจน และท่านจะมขี มุ ทรพั ยใ์ นสวรรค์ แลว้ จงตดิ ตามเรามาเถดิ ” (เทยี บ มธ. 19: 21)
..ความดบี รบิ รู ณ์ อนั เป็นสถานภาพของการเป็นผศู้ กั ดส์ิ ทิ ธ์ิ ดงั ทพี่ ระเป็นเจา้ ทรงเป็นผศู้ กั ดส์ิ ทิ ธ์ิ (เทยี บ ลนต. 19: 2; 11:
44) อย่างเชน่ ทธี่ รรมบญั ญตั เิ รยี กรอ้ งไว้ เวลานนั้ คอื การตดิ ตามพระเยซูเจา้ ... เป็นจดุ น้ีเองทสี่ ารของพระเยซูเจา้
แตกตา่ งโดยพ้นื ฐานไปจากความเชอื่ ของ “อสิ ราเอลนิรนั ดร” (อา้ งแลว้ โยเซฟ รตั ซงิ เกอร,์ หน้า 193-203)

ข้อคิดไตร่ตรอง
1. บางครงั้ ชาวครสิ ต์สมยั ใหม่อ่านพบพระบญั ญตั บิ างขอ้ ในพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ทช่ี ุมชนวดั ของ
ตนไม่ได้นาไปปฏบิ ตั ิ (เช่น การล้างเท้า, ยน. 13:1-15; การจุมพติ ศกั ดสิ์ ทิ ธ,ิ์ รม. 16:16; 1 คร. 16:20; การอดอาหาร, มก. 2:20;
การไม่ใหผ้ ูห้ ญงิ มสี ่วนในการเป็นผนู้ า, 1 คร. 14:33ข-36; การหา้ มหย่ารา้ งโดยเดด็ ขาด, มก. 10:2-12 และอ่นื ๆ) และรสู้ กึ สบั สนกบั
คาถามในใจตน (ไมใ่ ช่แค่คาวจิ ารณ์จากคนนอกเท่านนั้ ) ว่า “หมายความวา่ อย่างไร พระคมั ภรี บ์ อกว่าใหท้ าแบบน้ี
แต่ชุมชนวดั ของเราท่อี ้างว่าเช่อื มนั่ ในพระคมั ภีร์ กลบั ไม่ยอมทาเช่นนัน้ ” คาประกาศท่เี ป็นหมายเหตุ
อารมั ภกถา (Prefactory Declaration) ใน 5:17 เป็นการป้องกนั ล่วงหน้าเก่ยี วกบั สง่ิ ท่ผี ู้อ่านชาวครสิ ต์
บางคนอาจจะคดิ เวลาทพ่ี วกเขาอ่าน 5:21-48 และไตร่ตรองว่าเหตุใดชุมชนวดั ของพวกเขาจงึ ไม่ปฏบิ ตั ิ
บทบญั ญตั บิ างอย่างท่พี ระคมั ภรี ร์ ะบุไวช้ ดั เจน เช่น การเขา้ สุหนัต กฎเร่อื งการรบั ประทานอาหาร การ
บูชาด้วยสตั ว์ (วนั สับบาโต?) คาพูดสอนของพระเยซูเจ้าท่ีกล่าวไว้อย่างชดั เจนว่า “เราไม่ได้มาเพ่ือ
ลม้ เลกิ ธรรมบญั ญตั ”ิ เป็นการกล่าวโดยตรงทงั้ กบั ผู้ทห่ี วนั่ กลวั วา่ อสิ รภาพใหม่ในศรทั ธาของชาวครสิ ตจ์ ะ
เป็นการปฏเิ สธพระคมั ภรี แ์ ละผทู้ เ่ี ฉลมิ ฉลอง (เน่ืองจากเขา้ ใจผดิ ) คดิ ว่าความจรงิ เป็นเชน่ นนั้ และเป็นกจิ การ
ทไี่ ดท้ บทวนตนเองในการตคี วามเพอื่ ตดิ ตามพระเยซูเจา้ อย่างซอื่ สตั ยแ์ ละถูกตอ้ ง กบั เจตนาแทจ้ รงิ บน
เสน้ ทางแห่งชวี ติ ในสถานการณ์ทวี่ ่า “จงอย่าคดิ ว่าเรามาเพอื่ ลบลา้ งธรรมบญั ญตั หิ รอื คาสอนของบรรดา
ประกาศก เรามไิ ด้มาเพอื่ ลบล้าง แต่มาเพอื่ ปรบั ปรุงให้สมบูรณ์ เราบอกความจรงิ แก่ท่านทงั้ หลายว่า
ตราบใดทีฟ่ ้าและดินยงั ไม่สูญส้นิ ไป แม้แต่ตัวอกั ษรหรอื จุดเดียวจะไม่ขาดหายไปจากธรรมบญั ญัติ
จนกวา่ ทุกอยา่ งจะสาเรจ็ ไป ดงั นนั้ ผใู้ ดละเมดิ ธรรมบญั ญตั เิ พยี งขอ้ เดยี ว แมเ้ ลก็ น้อยทสี่ ุด และสอนผอู้ นื่
ให้ละเมดิ ด้วย จะได้ชอื่ ว่าเป็นผู้ตา่ ต้อยทีส่ ุดในอาณาจกั รสวรรค์ ส่วนผู้ทีป่ ฏิบตั ิตามและสอนผู้อืน่ ให้
ปฏบิ ตั ดิ ว้ ย จะไดช้ อื่ วา่ เป็นผยู้ งิ่ ใหญ่ในอาณาจกั รสวรรค”์ (มธ. 5: 17-19)

161

2. ผอู้ ่านพระวรสารนักบุญมทั ธวิ คงสงสยั ว่า ตงั้ แต่ฉากแรก เหตุใดคนชอบธรรมอย่างนักบุญโยเซฟจงึ ได้
รบั คาชมจากการตดั สนิ ใจกระทาสง่ิ ท่ีไม่ตรงกบั ธรรมบญั ญตั ิ (ดู 1:18-25) ใน 5:20 นักบุญมทั ธวิ ไดแ้ นะนา
ใหเ้ รารจู้ กั “ความชอบธรรม/ความเทย่ี งธรรม” (ภาษากรกี dikaiosyne) ทส่ี าคญั ทส่ี ุดอกี ครงั้ หน่ึง คาเทศนาอนั
ยงิ่ ใหญ่ในเอกสาร Q มุ่งเน้นท่ี “ความรกั ” (ภาษากรกี agape) ซ่ึงถอื ว่าเป็นหวั ใจสาคญั สาหรบั พระวรสาร
นักบุญมทั ธวิ เช่นกนั แต่ว่าไม่มสี ่วนท่ีอ้างองิ ถึงความชอบธรรม นักบุญมทั ธวิ จงึ เติมเน้ือหาห้าส่วนท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั dikaiosyne ลงไป ทาใหจ้ ุดทม่ี ุ่งเน้นของบทเทศน์สอนบนภูเขาเปลย่ี นเป็นความชอบธรรม
ในการทาตามพระประสงค์ของพระเป็นเจ้า (5:6, 10, 20; 6:1, 33) ความชอบธรรมของศษิ ย์ไม่ยดึ ตดิ อยู่กบั
มาตรฐานความเป็นอุดมคติ แต่จะเป็นความชอบธรรมของชุมชนผู้ท่เี ช่อื ในอนั ตกาล ซ่ึงใช้ชวี ติ อย่าง
เช่ือมนั่ พระอาณาจกั รได้เรม่ิ ต้นข้นึ แล้วจากการเสด็จมาในโลกของพระเยซูเจ้า และใช้ชีวติ ด้วยการ
ภาวนาเพ่อื และคานึงถงึ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ทก่ี าลงั จะมาถงึ ดงั นัน้ ความชอบธรรมของพวก
เขาจงึ ต้องแสดงออกให้เหน็ ถงึ ความอุดมสมบูรณ์.แห่งลกั ษณะของยุคสมยั พระเมสสยิ าห์ท่จี ะมาถงึ ใน
อนั ตกาล พระบญั ญตั นิ ้ีไม่ไดค้ งลกั ษณะแบบครอบคลุมกวา้ งๆ และเป็นนามธรรม แต่ไดร้ บั การอธบิ าย
ความหมายอยา่ งชดั เจนและเป็นรปู ธรรมโดยทนั ที

3. ใน 5:21-26 เราเห็นปฏิกิริยาตอบสนองระหว่างอาณาจกั รแห่งสวรรค์และวิธีการใช้ชีวิตแบบพระ
อาณาจกั รในชุมชนชาวครสิ ต์ ครง่ึ แรกของเน้ือหาตอนน้ี (5:21-22) ในทางปฏบิ ตั ิหรอื กฎหมายบญั ญตั ิ
แลว้ กล่าววา่ ความโกรธและความประสงคร์ า้ ยทงั้ หมดอยนู่ อกขอบเขต(ธรรมบญั ญตั )ิ พระอาณาจกั รของ
พระเจา้ ส่วนเน้ือหาครง่ึ หลงั (5:23-26) ยอมรบั ว่าชาวครสิ ต์รูส้ กึ โกรธและเจบ็ ปวดกบั ความสมั พนั ธ์ท่ี
แตกสลาย และบอกกบั เราวา่ ควรทาอยา่ งไรเมอ่ื ความเป็นจรงิ เชน่ น้เี กดิ ขน้ึ
ความแตกต่างระหว่างเน้ือหาทงั้ สองตอน ระหว่างวสิ ยั ทศั น์กบั การปฏบิ ตั จิ รงิ ไม่ใช่เร่อื งการหน้า
ซ่อื ใจคด (Hypocrisy) แต่เป็นคาสญั ญาและความหวงั พ่อท่เี ป่ียมด้วยความรกั จะบอกกบั ลูกของตนว่า
“พ่อรกั และหวงแหนลูก ของขวญั ทด่ี ที ุกอย่างทพ่ี ่อรวู้ ่าควรจะใหเ้ ป็นของลูก พ่อสญั ญาว่าจะไม่มีวนั ทส่ี งิ่
ใดจะเปลย่ี นแปลงความรกั ความทุ่มเททพ่ี อ่ ใหก้ บั ลูกได้ เอาล่ะ จงออกไปสโู่ ลกทย่ี ากลาบากและปัน่ ป่วน
และใชช้ วี ติ ตามคาอวยพรน้ี” เช่นเดยี วกนั พระเยซูเจา้ ประกาศว่าของประทานอนั ดขี องพระเป็นเจา้ คอื
โลกท่ไี ม่มคี วามโกรธอยู่เลย ทซ่ี ่งึ ความสมั พนั ธ์แบบทาลายกนั และกันของมนุษย์ไม่อาจอยู่ได้ จากนัน้
ทรงกล่าวว่า “เอาล่ะ จงออกไปสโู่ ลกทย่ี ากลาบากและปัน่ ป่วนและใชช้ วี ติ ตามความจรงิ ทเ่ี ราไดบ้ อกทา่ น
ไวน้ นั้ ” เมอ่ื ลกู ไดท้ าตามคาสอนของพอ่ แลว้ (แสดงวา่ ลกู ไวใ้ จในสงิ่ ทพ่ี อ่ สอน และเขา้ ใจสง่ิ ทพ่ี อ่ ใหป้ ฏบิ ตั อิ ยา่ งทพ่ี อ่ ไดป้ ฏบิ ตั ิ

ใหล้ กู เหน็ ในชวี ติ มาแลว้ ลกู จะประสบความดหี รอื ความสขุ แทจ้ รงิ ในทส่ี ุด)

คาสอนแห่งชวี ติ อาจเป็นสง่ิ ทเ่ี ขา้ ใจยากในเชงิ แนวคดิ คาสอนตามเหตุผลของสามญั สานึก แต่เป็น
สงิ่ ท่เี ขา้ ใจได้เม่อื ได้นาไปปฏิบตั ิ ลงมอื ทาในลกั ษณะชวี ิตท่เี ช่อื ฟังคาสอน นบนอบนาพาชวี ติ ของตน
ตดิ ตามชวี ติ แบบอย่างด้วยความไวว้ างใจ จงึ จะได้พบคุณค่าท่นี าไปสู่คุณความดที ่เี หนือกว่า หรอื อาจ
กล่าวได้ว่า ชีวติ ท่ีเป็นสุขเกิดจากการเช่ือฟัง(คาสอนและธรรมบญั ญัติ) แล้วนาไปปฏิบตั ิด้วยความ
ไวว้ างใจ เปรยี บเสมอื นชวี ติ ได้ติดตามพระเยซูเจ้าด้วยชวี ติ ทงั้ ด้านสตปิ ัญญา(จาคาสอนได้) ร่างกาย
(นาไปปฏบิ ตั )ิ จติ ใจหรอื อารมณ์(ไมล่ งั เลสงสยั )ทฝ่ี ากความหวงั ไวใ้ นพระองคอ์ ยา่ งเตม็ เป่ียม ปฏบิ ตั ติ าม
อย่างดแี ละถูกต้อง(มที ่าทหี รอื เจตคตติ ามทไ่ี ดฝ้ ึกฝนหรอื แบบอย่างทไ่ี ดเ้ รยี นรมู้ า) มใิ ช่เพยี งเพ่อื ปฏบิ ตั ิ

162

หรอื เพ่ือทาตามกฎขอ้ บงั คบั ตามตัวอกั ษร แต่นาพาชวี ติ มุ่งตรงสู่พระประสงค์ของพระเป็นเจ้าอย่าง
แทจ้ รงิ สคู่ วามดหี รอื ความศกั ดสิ ์ ทิ ธดิ ์ ุจดงั พระบดิ าเจา้ สวรรค์
4. ในประเดน็ ศลี ธรรมเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธท์ างเพศ เหนือสง่ิ อน่ื ใดเรามกั ไดย้ นิ คากล่าวว่า “ไมม่ ใี ครมสี ทิ ธิ
จะพดู อะไรกบั ฉนั เรอ่ื งน้ี ทงั้ หมดมนั เป็นเร่อื งสว่ นตวั ของฉนั ” (บางครงั้ จะไดย้ นิ คาต่อทา้ ยวา่ “ตราบใดทฉ่ี นั ไมไ่ ดท้ ารา้ ย
ใคร”) แต่บทเทศน์สอนบนภูเขามองเร่อื งน้ีจากความเช่อื พน้ื ฐานอกี แบบหน่ึง (ก) เร่อื งความสมั พนั ธท์ าง
เพศของเราเหมอื นกบั สง่ิ อ่นื ๆ คอื เป็นของประทานจากพระเป็นเจา้ ไม่ใช่สมบตั สิ ่วนตวั ท่เี ราจะโยนท้งิ
เม่อื ใดกไ็ ด้ (ข) ผดิ หรอื ถูกไม่ไดข้ น้ึ อย่กู บั การตดั สนิ ใจส่วนบุคคล แต่ขน้ึ อย่กู บั พระประสงค์ของพระเป็น
เจา้ ทท่ี รงเปิดเผยกบั เรา (ค) เรอ่ื งความสมั พนั ธท์ างเพศของฉนั เกย่ี วขอ้ งกบั ผอู้ ่นื และมนั อาจทารา้ ยผอู้ ่นื
ไดแ้ มว้ ่าฉันจะไม่ตระหนกั รบั รู้ (ง) ชวี ติ มนุษยม์ รี ะเบยี บและโครงสรา้ งทพ่ี ระผเู้ ป็นเจา้ ทรงวางไว้ ซง่ึ ชวี ติ
สว่ นตวั ของฉนั กค็ วรจะสอดคลอ้ งกบั สงิ่ นนั้ รวมถงึ โครงสรา้ งเรอ่ื งความสมั พนั ธท์ างเพศและครอบครวั (น่ี
คอื สง่ิ ทพ่ี ระศาสนจกั รพยายามจะสอ่ื ในการใหค้ าจากดั ความของการแต่งงานวา่ เป็นศลี ศกั ดสิ์ ทิ ธ)ิ์ (จ) แมก้ ระนนั้ เราไม่ควรตดั สนิ
เร่อื งความผดิ ความถูกโดยใชห้ ลกั การตามอานาจ ตามหลกั กฎหมาย หรอื นาหลกั ศลี ธรรมมาใชใ้ นทางท่ี
ผดิ แตค่ วรลงลกึ ไปถงึ รากเหงา้ ของชวี ติ มนุษยซ์ ง่ึ อยทู่ ่ี (พระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ ) หวั ใจและเจตนารมณ์

พระวาจาของพระเยซูเจา้ ทว่ี า่ “ผใู้ ดละเมดิ ธรรมบญั ญตั เิ พยี งขอ้ เดยี ว แมเ้ ลก็ น้อยทสี่ ดุ และสอน
ผอู้ นื่ ใหล้ ะเมดิ ดว้ ย จะไดช้ อื่ ว่าเป็นผตู้ า่ ตอ้ ยทสี่ ุดในอาณาจกั รสวรรค์ ส่วนผทู้ ปี่ ฏบิ ตั ิตามและสอนผอู้ นื่ ให้
ปฏิบตั ิด้วย จะได้ชือ่ ว่าเป็นผู้ยงิ่ ใหญ่ในอาณาจกั รสวรรค์” เป็นสารช้ีนาทางในการทบทวนใหม่และ
ไตรต่ รองสาหรบั ชวี ติ ตดิ ตามพระเยซเู จา้ มุง่ สคู่ วามสขุ แทจ้ รงิ ในการปฏบิ ตั ติ นสอู่ สิ รภาพแทจ้ รงิ ของชวี ติ
และเป็นผดู้ บี รบิ รู ณ์ดงั พระบดิ าเจา้ สวรรค์ (มธ. 5: 19; 48)
5. องคป์ ระกอบทโ่ี ดดเด่นในหลกั ศลี ธรรมของพระเยซูเจา้ และในบทเทศน์สอนบนภูเขา บางครงั้ มผี อู้ ธบิ าย
ว่าการท่ีพระเยซูเจ้าทรงย้ายตาแหน่งของศีลธรรมไปสู่ “ในหวั ใจ” โดยใช้การปฏิบัติรูปภายนอกคือ
“กฎหมายชาวยวิ ” เป็นสง่ิ หุม้ ห่อ สง่ิ น้ีไม่ถูกตอ้ งในทางประวตั ศิ าสตร์ และเป็นการตคี วามทแ่ี ตกต่างหรอื
พจิ ารณาแก่นแทข้ องคาสอนในมติ ทิ งั้ ครบหรอื เพยี งมติ ภิ ายนอกเทยี บขนานไปกบั มุมมองศาสนายดู าย
ทงั้ พระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาเดมิ รวมทงั้ คาสอนของคนต่างศาสนาและคนยวิ ลว้ นมสี ว่ นทค่ี ่ขู นานไปกบั
“การปฏิบตั ิสู่ภายใน” (Inwardness) ของหลกั จรยิ ธรรมในศาสนาครสิ ต์ ตวั อย่างเช่น “ขา้ ได้ทาพนั ธ-
สญั ญากบั นัยน์ตาของขา้ แลว้ ขา้ จะมองดูหญงิ พรหมจารไี ดอ้ ย่างไร” (โยบ. 31:1 NRSV) เอลเี ซอร์ เบน ไฮร์
คานัส (Eliezer ben Hyrcanus) รบั บศี าสนายูดายทอ่ี ย่ใู นยุคสมยั เดยี วกบั นักบุญมทั ธวิ เขยี นไวว้ ่า “ผูท้ ่ี
เกลยี ดเพ่อื นบ้านของตนเอง จงดูเถดิ เขาเป็นพวกเดยี วกบั ผูท้ ่ชี อบหลงั่ เลอื ด” บทคู่ขนานอ่นื ๆ ได้แก่
“ชายท่นี ับเงนิ จากมอื ของเขา แล้วใหก้ บั หญงิ และนาเงนิ จากมอื หญงิ กลบั มาใหต้ นเอง เพ่อื ว่าเขาจะได้
มองดูเธอ จะไม่รอดพ้นจากการตัดสินพิพากษาของนรก แม้ว่าเขา (ในด้านอ่ืนๆ) จะเป็นเหมือนโมเสส
อาจารยข์ องเรา” “สง่ิ ใดทเ่ี มอ่ื กระทาแลว้ ผดิ เพยี งแคค่ ดิ กเ็ ป็นความผดิ เช่นกนั ” “เราถอื วา่ เป็นบาป หากผู้
หน่ึงทรยศต่อประเทศของตนเอง ใชค้ วามรนุ แรงกบั พอ่ แม่ ปลน้ วหิ าร ซง่ึ การละเมดิ นนั้ อยใู่ นผลของสง่ิ ท่ี
กระทา กเิ ลสทเ่ี ป็นความกลวั ความเศรา้ และตณั หาความปรารถนากเ็ ป็นบาปดว้ ยเชน่ กนั แมว้ า่ จะไมท่ า
ใหเ้ กดิ ผลภายนอกตามมา”

163

มหี ลกั คาสอนหลายขอ้ ในบทเทศน์สอนบนภูเขาท่คี ู่ขนานไปกบั คาสอนของรบั บีในศาสนายดู าย
องคป์ ระกอบพน้ื ฐานทแ่ี ตกต่างโดดเด่นในบทเทศน์สอนบนภูเขาไม่ใช่เร่อื งของเน้ือหาแต่ละขอ้ แต่อย่ทู ่ี
การมองชวี ติ แบบครสิ ตศาสตรแ์ ละความหวงั ในอวสานตกาล โดยคานงึ ถงึ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้
ทก่ี าลงั เรม่ิ ตน้ ขน้ึ แลว้ เทยี บกบั แนวพจิ ารณาแนวคดิ เรอ่ื งพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ทก่ี าลงั รอคอยใน
อนั ตกาลเป็นสาคญั
6. เราจาเป็นต้องตคี วามพระบญั ญตั เิ หล่าน้ีของพระเยซูเจ้าด้วยความจรงิ จงั ท่สี ุด แต่ความพยายามท่จี ะ
ตคี วามตามตวั อกั ษรแบบธรรมบญั ญตั ทิ ม่ี กี ารนาไปใชแ้ บบผดิ ๆ จะนาไปสกู่ ารกระทาอนั ไรเ้ หตุผล การ
ปฏบิ ตั ติ าม 5:40 ตามตวั อกั ษรจะทาใหเ้ กดิ การเปลอื ยกายในทส่ี าธารณะและถกู จบั กมุ การตคี วามหมาย
และการปฏบิ ตั ติ ามกฎขอ้ หา้ มเหล่าน้ีตามตวั อกั ษรจะส่งผลใหเ้ กดิ สถานการณ์ท่สี บั สนวุ่นวายและเพม่ิ
ทวคี ูณความชวั่ รา้ ยท่รี ะบบกฎหมายพยายามจะควบคุม ระบบท่ดี าเนินการด้วยความรุนแรงหรอื การ
ขม่ ขวู่ า่ จะใชค้ วามรุนแรงในโลกทก่ี าลงั ตกอย่ใู นบาป นอกจากน้ีการปฏบิ ตั ติ ามตวั อกั ษรอาจสง่ ผลใหเ้ กดิ
ความทุกขแ์ ละการกดขข่ี ่มเหงกบั ผูท้ ่เี รามหี น้าท่รี กั และปกป้องดูแล คากล่าวเหล่าน้ีแสดงภาพการทา
ธุรกรรมระหว่างสองฝ่าย โดยศษิ ยถ์ ูกทา้ ทายใหย้ อมสละสทิ ธขิ ์ องตนเองและยอมทนรบั ความรุนแรงจาก
การกระทาของผอู้ ่นื แทนทจ่ี ะโตต้ อบ ในทน่ี ้ี ไม่ไดร้ วมถงึ กรณีทก่ี ารละเวน้ การกระทานาไปสกู่ ารบาดเจบ็
หรอื เสยี ชวี ติ ของผอู้ ่นื เพยี งแค่ประเดน็ น้ีเพยี งอย่างเดยี วกแ็ สดงใหเ้ หน็ แลว้ วา่ คาสอนทงั้ หมดไม่ใช่หลกั
ศีลธรรมท่ีจะนามาตีความใช้แบบผิดๆ คากล่าวเหล่าน้ีไม่ได้เรยี กให้เราปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเ ป็น
นามธรรม จนเราต้องสละประโยชน์สุขอนั เป็นรูปธรรมของผอู้ ่นื ถ้าเป็นเร่อื งของการปกป้องผูท้ อ่ี ่อนแอ
และถกู กดขข่ี ม่ เหง โดยทไ่ี ม่ตอ้ งคานงึ ถงึ โครงสรา้ งของความอยตุ ธิ รรม ศษิ ยต์ อ้ งพรอ้ มทจ่ี ะตอ่ ตา้ นความ
ชวั่ รา้ ยนัน้ แต่การทใ่ี ห้ศษิ ยส์ ละสทิ ธขิ ์ องตนเองให้กบั ผูอ้ ่นื มนั เป็นคนละประเดน็ กนั อย่างไรกต็ าม ไม่
ควรตคี วามคาคดั คา้ นและขอ้ ยกเวน้ ต่างๆ เหล่าน้ีทงั้ หมดวา่ เป็นการปฏเิ สธหรอื ผ่อนปรนบทบญั ญตั ทิ ม่ี ี
ความเดด็ ขาดในระดบั ฐานราก หรอื ใชเ้ ป็นขอ้ อา้ งในการเลย่ี งปฏบิ ตั ิ การพจิ ารณาประเดน็ เหล่านนั้ -ไม่ได้
หมายความว่าเราจะต้องปฏิเสธหรอื ทาให้บญั ญัตินัน้ อ่อนลง เพียงแต่ความพยายามท่จี ะปฏิบตั ิตาม
ตวั อกั ษรแบบขอ้ กฎหมายนัน้ เป็นความเขา้ ใจทผ่ี ดิ ราวกบั ว่ามกี ฎหมายใหม่ทเ่ี ราจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามนัน้
ทกุ คา
7. แมว้ ่าบญั ญตั เิ หล่าน้ีจะไม่มกี ารมอบไวใ้ นระดบั สถาบนั (พระเยซูเจา้ ไม่ไดท้ รงออกกฎหมายสาหรบั ศาลบนโลกมนุษย)์
แตม่ ไี วส้ าหรบั ชวี ติ สว่ นตวั ของบรรดาศษิ ย์ ซง่ึ ยงั บ่งชเ้ี ป็นนยั วา่ ชวี ติ สว่ นตวั ของพวกเขามคี วามเกย่ี วขอ้ ง
กับการตัดสินใจด้านสงั คมและการเมือง ซ่ึงชาวครสิ ต์มีหน้าท่ีต้องรบั ผิดชอบด้วย คากล่าวเหล่าน้ี
ชใ้ี หเ้ หน็ ว่าพระเยซูเจา้ ทรงต่อตา้ นแนวทางการใชก้ าลงั รุนแรง(ทางทหาร)ของกลุ่มผทู้ เ่ี ป็นศตั รกู บั โรม ผซู้ ง่ึ
ในทส่ี ดุ นาพาประเทศไปสสู่ งครามแห่งหายนะ (สามญั ศกั ราช 66-70) การคงรกั ษาคากล่าวเหล่าน้แี ละนามาใช้
เป็นจุดสาคัญท่ีสุดของปฏิพจน์แสดงให้เห็นว่านักบุญมทั ธิวอยู่ฝ่ ายเดียวกับกลุ่มผู้ท่ีต่อต้านความ
พยายามอนั รา้ ยกาจในการใช้ “วธิ แี ก้ปัญหาด้วยสงคราม” ซ่ึงท่านและพระศาสนจกั รต้องใช้ชวี ติ ผ่าน
สงครามมาก่อน
8. ทงั้ หมดทก่ี ล่าวมาน้ีไม่มสี ่วนใดเลยทเ่ี ป็นกลยุทธ์ การหนั แก้มอกี ขา้ งหน่ึงใหต้ บ ไม่ไดเ้ ป็นวธิ ที าใหศ้ ตั รู
รสู้ กึ อบั อายหรอื จะเอาชนะใจเขา หรอื ทาใหศ้ ตั รสู านกึ ผดิ การเดนิ แบกของใหผ้ อู้ ่นื ไกลกวา่ ทเ่ี ขาขอ ไมใ่ ช่

164

เรอ่ื งของความฉลาดสุขุมในการทาตวั ไม่โดดเด่นในเวลาทเ่ี ราไม่มอี านาจและจาเป็น “ตอ้ งยอมตาม” แต่
คากล่าวเหล่าน้ีแสดงถงึ เจตคตภิ ายในชวี ติ แทจ้ รงิ หรอื พระประสงคท์ ซี่ ่อนอย่ภู ายในกฎบญั ญตั ทิ แ่ี ทจ้ รงิ
ของพระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ และเป็นหนทางสงู สุดในการทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงจดั การกบั มนุษยชาตผิ ่าน
ทางชวี ติ และความตายของพระเยซูเจ้า ผู้ท่ตี ้องเดนิ ไปสู่ไม้กางเขน การพจิ ารณาในเชงิ อรรถปรวิ รรต
ศาสตรเ์ ชน่ น้ีไม่ใช่เป็นการผอ่ นปรนพระบญั ญตั ิ แสวงหาความหมายทด่ี สู มเหตุสมผลและเราสามารถอยู่
กบั มนั ได้ พระบญั ญัติเหล่าน้ีไม่ได้มไี ว้เพ่ือปรบั “ให้สมเหตุสมผล” เพราะหากพิจารณาเพียงผวิ เผิน
บญั ญตั ดิ ูว่าเป็นภาวะขดั แยง้ กบั “สามญั สานึก” ของโลกน้ีและชไ้ี ปถงึ ความเป็นจรงิ ในอกี ระดบั หน่ึง และ
เป็นขอ้ คดิ ทบทวนตคี วามในอกี มุมมองหน่ึงทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงนาหน้าชวี ติ ของเรา หรอื เป็นขอ้ พจิ ารณา
ไตรต่ รองสาหรบั ชวี ติ ดว้ ยคาถามวา่ เรากาลงั มุง่ ตรงไปสพู่ ระผเู้ ป็นเจา้ ผกู้ าหนดความหมายใหมข่ องคาว่า
อานาจและความเป็นกษตั รยิ ์ในชวี ติ พนั ธกจิ ความตาย และการกลบั คนื พระชนม์ชพี ของพระเยซูเจ้า
แห่งนาซาเรธ็ หรอื ไม่

165

166


Click to View FlipBook Version