The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเรื่อง COVID-19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by balltatpong, 2021-09-13 11:17:54

รายงานเรื่อง COVID-19

รายงานเรื่อง COVID-19

ความรู้เกยี่ วกบั COVID-19

ทัตพงศ์ ชอบงาน

รายงานฉบบั น้เี ปน็ สว่ นหนึ่งของรายวิชา วาทวทิ ยาสำหรบั ครู
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี



ความร้เู กยี่ วกบั COVID-19

นายทตั พงศ์ ชอบงาน
รหสั นกั ศกึ ษา 6401103001019

รายงานฉบบั นี้เป็นส่วนหน่งึ ของรายวชิ า วาทวทิ ยาสำหรบั ครู
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี



คำนำ

รายงานเลม่ นี้จดั ทำขนึ้ เพอื่ เป็นสว่ นหนง่ึ ของวิชาวาทวิทยาสำหรบั ครู รหสั วิชา ETH0101 ของ
หลกั สูตรวิชาภาษาองั กฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เพอ่ื ใหไ้ ด้ศึกษาหาความรู้
ในเรื่องราวของโรค COVID-19 โดยไดศ้ ึกษาผา่ นแหลง่ ความรตู้ ่างๆ อาทิเชน่ แหลง่ ความรู้จากเว็บไซต์
ต่างๆ โดยรายงานเลม่ นต้ี ้องมีเนอื้ หาเกี่ยวกบั ความร้ทู ว่ั ไปเกย่ี วกบั COVID-19 แหล่งทม่ี า แนวทางการ
ป้องกัน ผลกระทบ การดูแลรกั ษา ขั้นตอนการไดร้ ับเช้ือ รวมไปถงึ การวินจิ ฉัยโรค และการตรวจทาง
หอ้ งปฏิบัตกิ าร

ขอขอบพระคุณอาจารย์อชั นา ปลอดแก้ว อาจารยป์ ระจำรายวิชาวาทวิทยาสำหรับครูทก่ี รุณาให้
คำแนะนำและตรวจสอบเพ่ือปรบั ปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ จนทำใหเ้ อกสารเล่มน้ีมีความถกู ต้องมาก
ขึน้ ทา้ ยทีส่ ุดขอขอบพระคุณผ้เู ปน็ เจ้าของตำราทุกเล่มท่ผี ูเ้ ขยี นใช้อ้างองิ ทม่ี สี ว่ นให้ความรู้ ความคิด
อันเป็นประโยชน์ และเกิดแนวทางในการเขียนและเรียบเรียงความรทู้ ั่วไปเกีย่ วกับCOVID-19ใหส้ ำเร็จได้
ดว้ ยดี

ทตั พงศ์ ชอบงาน
กันยายน 2564



สารบญั

เร่ือง หน้า
บทนำ........................................................................................................................... .............. 1
ความรู้ทวั่ ไป............................................................................................................................. 1
ความเป็นมา COVID-19……………………………………………………………………………………………… 1
ขนั้ ตอนจากการรบั เชอื้ ถึงการป่วย………………………………………………………………………………… 3
ลักษณะของโรค COVID-19 และการดูแลรกั ษา…………………………………………………………..... 4
การติดเชอ้ื ทางเดินหายใจจากไวรสั ………………………………………………………………………………. 4
การดำเนนิ โรค………………………………………………………………………………………………………….... 4
การวนิ จิ ฉยั โรค และการตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการ…………………………………………………………… 6
การดแู ลรักษาผูต้ ิดเชื้อและภมู ิตา้ นทานหลงั ตดิ เชื้อ…………………………………………………………. 8
การแพร่เชือ้ และการรับเช้อื …………………………………………………………………………………………. 9
แหล่งเช้ือโรค COVID-19 และการแพร่เชอ้ื …………………………………………………………………….. 9
ระยะเวลาแพร่เชอื้ จากผู้ติดเช้อื ……………………………………………………………………………..…….… 9
การแพร่เช้ือ COVID-19 และการรบั เชื้อ………………………………………………………………….……… 10
การคลุกคลีใกลช้ ดิ (close contact) …………………………………………………………………………….. 11
การรบั เช้อื COVID-19…………………………………………………………………………………………..……… 11
R0, ตวั ชว้ี ัดโอกาสทีจ่ ะแพร่เชื้อ………………………………………………………………………....……..…… 11
การปอ้ งกนั การแพร่เชอื้ และการติดเชือ้ …………………………………………………………………………. 12
บทสรปุ …………………………………………………………………………………………………………………………. 14
บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………………..…. 15

1

บทนำ

ปจั จุบนั ประเทศไทยรวมถงึ ประเทศทัว่ โลกกำลังเผชิญกับเช้อื ไวรสั COVID-19 เชื้อไวรสั ได้อยูก่ ับ
โลกของเรามาเป็นเวลากว่า 2ปีแลว้ ด่งั กับว่ามันได้เป็นส่วนหน่งึ ของโลกเรา และเป็นสว่ นหน่งึ ใน
ชวี ติ ประจำวันท่เี ราจะต้องพบเจอ เม่อื ออกจากบ้านผู้คนก็ต้องสวมหน้ากากอนามยั ราวกับว่ามนั เป็น
สว่ นหน่งึ ของร่างกายเราไปแล้ว สาธารณะสุขพยายามคิดหาวิธีชว่ ยเหลือประชาชน อธิบายความ
อันตรายวิธีปอ้ งกนั ต่างๆ จังหวัดต่างๆในประเทศไทยเกือบจะทงั้ หมดกลายเปน็ พืน้ ท่คี วบคุม การเข้า
ออกระหวา่ งจังหวดั จำเป็นต้องผา่ นจุดคดั กรองเพือ่ ความปลอดภัย COVID-19 มีระยะฟักตวั และมี
อาการท่สี ามารถสังเกตได้ และรวมถึงแนววธิ ปี อ้ งกนั ก็มีด้วยเช่นกัน

ความร้ทู ั่วไปเก่ียวกบั COVID-19

ความเปน็ มาของโรคโควดิ -19 (COVID-19)

ไวรัสโคโรนาเป็นไวรัสในสตั ว์ มหี ลายสายพนั ธ์ุ โดยปรกติไม่ก่อโรคในคน แต่เมอ่ื กลายพนั ธเุ์ ปน็
สายพนั ธุใ์ หม่ท่ีกอ่ โรคในมนุษยไ์ ด้ (ซ่งึ มกั เกิดจากการจัดการทผี่ ดิ ธรรมชาตโิ ดยมนษุ ย)์ ในขณะทีม่ นษุ ย์
ยังไม่รู้จักและไมม่ ภี ูมิต้านทาน กจ็ ะเกดิ การระบาดของโรคในคน

โรคโควิด-19 (COVID-19, ยอ่ จาก Coronavirus disease 2019) เปน็ โรคตดิ เช้ือทางเดนิ หายใจ
ทเ่ี กิดจากไวรสั โคโรนา ซึ่งมีชื่อทางการว่า SARS-CoV-2ทำใหเ้ กิด ไข้ ไอ และอาจมปี อดอกั เสบ เริม่ พบ
ผู้ปว่ ยครง้ั แรกเม่ือเดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ที่เมืองอูฮ่ ัน่ เมอื งหลวงของมณฑลหูเป่ย์
ภาคกลางของประเทศจนี ซ่งึ เป็นเมืองใหญ่มผี ู้คนหนาแน่น จงึ เกิดการระบาดใหญ่ได้รวดเรว็ การดแู ล
รกั ษาเป็นไปอย่างฉกุ เฉิน มคี นปว่ ยหนักและตายมากเกนิ ท่ีควรจะเปน็ จนประเทศจีนต้องปดิ เมอื ง และ
ปิดประเทศตอ่ มา ขณะนี้ประเทศจนี สามารถควบคุมได้ จนแทบจะไมม่ ผี ้ปู ่วยรายใหม่ แตโ่ ดยธรรมชาติ
แล้ว จะยงั มผี ทู้ ่ีมเี ชือ้ อยู่ ผ้ปู ว่ ยรายแรกทีร่ ับการรกั ษาในประเทศไทย เม่ือวันท่ี 13 มกราคม 2563 เป็น
คนจนี ที่รับเชอ้ื จากการระบาดในประเทศจนี และไดเ้ ดินทางมาประเทศไทย หลงั จากนั้น มผี ปู้ ่วยอีก
หลายรายทีม่ าจากประเทศอน่ื สว่ นผปู้ ว่ ยท่ีติดเชอ้ื ในประเทศไทยรายแรก มีการรายงานเมอ่ื 31
มกราคม 2563 โรคนเี้ กดิ จากไวรัสโคโรนา (Corona virus) ที่กลายพันธ์ใุ นธรรมชาติเป็นสายพันธุใ์ หม่
จากการทีธ่ รรมชาติถกู มนุษย์ทำรา้ ย โดยมสี มมตุ ิฐานว่า ไวรสั อาจจะมีแหล่งเรม่ิ ตน้ คอื คา้ งคาว และ
กลายพนั ธเ์ุ ม่ือผ่านสัตว์ตวั กลาง กลายเป็นไวรสั สายพนั ธใุ์ หมท่ กี่ ่อโรคในคน และคนไปรับเช้ือมาแพร่

2

ระหวา่ งคนสู่คน ทัง้ น้ตี ้องรอการพิสจู นต์ ่อไป เคยมีเหตุการณท์ ค่ี ล้ายคลงึ กนั จากไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์
ใหมท่ เ่ี กิดขนึ้ ในอดตี คอื การเกิดโรค SARS (พ.ศ.2545) และ MERS (พ.ศ.2557) ซึ่งทงั้ สองโรคนนั้
ผ้ปู ่วยมีอาการหนักทั้งหมดและต้องอยใู่ นโรงพยาบาล จึงสกดั การแพร่โรคไดไ้ ม่ยากนัก สว่ นผปู้ ่วยโรค
COVID-19 ทแ่ี พรเ่ ช้ือ มที ัง้ ผู้ทม่ี ีอาการน้อยหรอื อาจไมม่ ีอาการ นอกเหนือจากผูม้ อี าการหนกั ซ่ึงมนี ้อย
กวา่ มาก จึงควบคมุ การระบาดไดย้ ากกว่าการระบาดที่ใกล้เคียงกับคร้ังน้มี ากทสี่ ดุ คือการระบาดของ
ไขห้ วดั ใหญ่สายพันธ์ุใหม่ 2009 (Influenza A (H1N1) pdm09 virus) ใน พ.ศ.2552 ซงึ่ เร่ิมจาก
อเมรกิ าแลว้ ระบาดหนักไปทัว่ โลก แตค่ นที่ติดเชอ้ื โควดิ -19 สามารถแพรเ่ ชอื้ ได้ในช่วงเวลาของการตดิ
เชื้อไดน้ านกวา่ การระบาดจึงน่าจะกว้างขวางกวา่ และควบคมุ ยากกว่า

ในขณะน้ี โรคโควดิ -19 ได้ระบาดไปท่ัวโลกแลว้ 11 กุมภาพันธ์ 2563 ได้มีการกำหนดช่ือโรค
และช่อื ไวรสั อย่างเปน็ ทางการ ดงั น้ี

โรค COVID-19 (อา่ นว่า โควดิ ไนน์ทนี ยอ่ มาจาก Corona Virus Disease 2019) กำหนดชือ่ โดย
องค์การอนามยั โลก (WHO) ไวรสั SARS-CoV-2 (อ่านวา่ ซาร์สคอฟทู ยอ่ มาจาก Severe Acute
Respiratory Syndrome Corona Virus 2) ก าหนดชื่อโดยคณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วย
อนุกรมวธิ านของไวรสั

( ICTV ) โดยทชี่ ่วงแรกของการระบาด ใช้ช่ืออย่างไมเ่ ป็นทางการ เช่น ไวรสั อ่ฮู ัน่ 2019-nCoV (2019
novel coronavirus หรือ ไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ 2019) แตม่ ักจะเรยี กกันง่ายา ว่า ไวรัสโควดิ 19
ส่วนไวรัส SARS-Co-1 คือไวรัสท่ีเปน็ สาเหตุของโรคตดิ เชือ้ ทางเดนิ หายใจรนุ แรง หรือ SARS ทร่ี ะบาด
ใน พ.ศ. 2545-2546 ไวรสั ทก่ี อ่ โรคระบาดในครง้ั นจ้ี ึงเป็นชนดิ ที่ 2 หรอื SARS-CoV-2 ไวรัส SARS-
CoV-2 เป็นเชอื้ โรคทีต่ อ้ งอยู่ในเซลลเ์ น้ือเยอ่ื หรือมีเมอื กคลุมอยู่ เช่น เสมหะ ไม่สามารถอยเู่ ปน็ อสิ ระ
นอกจากน้ี ยังเปน็ ไวรัสทีเ่ กราะดา้ นนอกเป็นไขมัน ซ่ึงจะสลายตัวเมือ่ สมั ผสั กบั สารซักฟอกหรอื สบู่

ไวรัสโคโรน่า ที่กอ่ โรคในมนษุ ย์ในขณะนี้มที ้ังหมด 7 ชนิด

ชนิดท่ี 1-4: โรคหวัดธรรมดา

ชนิดที่ 5: โรค SARS (ซาร์) จากไวรัสสายพันธ์ใุ หม่ เมอื่ พ.ศ. 2545-2546

ชนิดท่ี 6: โรค MERS (เมอรส์ ) จากไวรัสสายพนั ธ์ุใหม่ เม่ือ พ.ศ. 2557

ชนดิ ท่ี 7: โรค COVID-19 (โควดิ -19) จากไวรสั สายพันธุใ์ หม่ในปจั จุบัน

3

แหล่งแพรเ่ ชอ้ื ไวรัส COVID-19
1.คาดว่าเร่มิ จากสตั ว์ปา่ ทีน่ ามาขายในตลาดสดเมืองอู่ฮ่นั ประเทศจนี ซงึ่ คนไปสมั ผัสและน ามา
เผยแพร่ต่อ โดยเริ่มจากไวรัสจากคา้ งคาวท่ีมีการผสมพันธุ์กับไวรสั อืน่ และกลายพันธ์ุ
2.คนที่มีเช้อื แล้วแพรส่ ่คู นอืน่ ทางส่ิงคดั หลง่ั จากทางเดินหายใจ

ข้ันตอนจากการรับเชอ้ื ถึงการปว่ ย
ประกอบดว้ ย การสมั ผัสเช้อื โรค การรับเชื้อ การติดเช้อื และการปว่ ย

ผู้สัมผสั เชือ้ โรค (contact) หมายถงึ ผู้ทสี่ ัมผสั ใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อ หรือ อาจจะสัมผสั กับเชื้อท่ี
ออกมากบั สง่ิ คัดหลง่ั จากระบบหายใจของผปู้ ว่ ย (น้ำลาย เสมหะ น้ำมูก) แลว้ อาจจะนำเข้าส่รู ่างกาย
ทางปาก จมูก ตา (อวยั วะท่ีมีเยื่อเมือกบุ) โดยได้อยใู่ นชุมชนทมี่ ผี ู้ป่วยอยู่ด้วยโดยไมร่ ะมัดระวงั เพยี งพอ
หากมีการสัมผัสดงั กลา่ ว ก็อาจเกิดการติดเช้ือตามมา และเป็นแหล่งแพร่เช้อื ตอ่ ไปได้

ผทู้ ตี่ อ้ งเฝ้าระวงั ในระยะนี้ ได้แก่ ผ้สู มั ผสั หรอื อาจจะสมั ผสั โรค โดยมีประวัติอย่างใดอย่างหนึง่ ใน
ชว่ งเวลา 14 วนั กอ่ นหน้าน้ี (คือ ระยะฟักตัวทีย่ าวที่สดุ ของโรค คอื ตดิ เชื้อแล้วแต่ยงั ไม่มอี าการป่วย)
ดังต่อไปน้ี
1. มปี ระวัติเดินทางไปยงั มาจาก หรืออยู่อาศัย ในพ้นื ที่ทีม่ ีรายงานการระบาด
2. เปน็ ผู้สมั ผัสใกลช้ ิดกับผทู้ ี่มาจากพื้นทท่ี ่ีมรี ายงานการระบาด
3. มปี ระวัตใิ กลช้ ดิ หรือสมั ผสั กับผูท้ ีเ่ ขา้ ขา่ ยหรอื ไดร้ ับการตรวจยนื ยันว่าติดเช้ือ

ผลจากการสัมผัสกบั เชือ้ โรคผูท้ ่สี ัมผัสกบั เช้อื โรคโควิด-19 หากได้รบั เชือ้ โรคมาอาจจะมผี ลเปน็
1.พาหะของเชื้อ คือผู้ทร่ี บั เชื้อโรคแต่ไม่เกิดการตดิ เช้อื ซงึ่ เชื้อมกั จะติดมาทางมอื
2.ผตู้ ดิ เชื้อ คือ ผทู้ ตี่ รวจพบเชื้อ และมปี ฏิกิรยิ าทางอมิ มูนต่อเชอ้ื ซึ่งตรวจพบได้ทางการตรวจเลือด
แบง่ เปน็ ผู้ติดเชอื้ ที่ไม่มีอาการ และผปู้ ว่ ย หรอื ผู้ติดเชือ้ ท่ีมีอาการ ซ่ึงอาจจะมีอาการน้อยหรอื มาก

4

ลกั ษณะของโรค COVID-19

การตดิ เชอื้ ทางเดนิ หายใจจากไวรัส
ระบบทางเดนิ หายใจเร่มิ จากจมกู ลงไปถงึ ถงุ ลมในปอด แบ่งออกเป็นทางเดนิ หายใจสว่ นบน

(จมกู โพรงรอบจมกู หรือไซนสั กลอ่ งเสยี ง) และสว่ นล่าง (หลอดลม และปอด) ความเจบ็ ป่วยจาก
การติดเชือ้ ท่ที างเดนิ หายใจส่วนบน จะไมร่ ุนแรงเท่าการติดเชือ้ ทางเดนิ หายใจสว่ นลา่ ง ไวรสั ท่ชี อบ
ทางเดนิ หายใจสว่ นลา่ งจึงก่อโรครุนแรงกวา่ ความเจ็บป่วยจากการติดเชือ้ ไวรสั ท่ีทางเดินหายใจ
เป็นผลจากท่ไี วรสั เขา้ ไป แบ่งตวั ในเซลลข์ องทางเดนิ หายใจ และเกิดปฏกิ ิรยิ าต่อตา้ นจากรา่ งกาย
ความ รุนแรงของโรคมากนอ้ ยขนึ้ อย่กู บั
1.ลกั ษณะเฉพาะตวั ของไวรสั ซ่งึ ชอบท่จี ะไปอย่ทู ่สี ว่ นไหนของทางเดินหายใจ เช่น ในรูจมกู ทาใหม้ ี
นา้ มกู หรือลงปอดเกิดปอดอกั เสบ และความสามารถในการ กระตนุ้ ปฏิกริ ิยาการอกั เสบ
2.ปฏกิ ริ ยิ าทางอมิ มนู ของผตู้ ิดเชือ้ เพ่อื การกาจดั ไวรสั ซง่ึ อาจก่อใหเ้ กิดการ อกั เสบมากเกินพอ และ
หากกระบวนการยบั ยงั้ ไม่ดี กจ็ ะทาใหโ้ รครุนแรง

การดำเนนิ โรค
การตดิ เชอื้ ไวรสั โควดิ -19 รวมถงึ ไวรสั อื่นท่ีทำใหต้ ิดเชือ้ ท่ที างเดินหายใจ เขา้ สรู่ ่างกายโดยทาง
“ปาก จมูก ตา” โดยที่ไวรัสจะเขา้ ไปเกาะตดิ และเข้าไปแบ่งตวั ในเซลลข์ องเยื่อบทุ างเดนิ หายใจ ไวรัส
ไมเ่ ขา้ ทางผวิ หนงั หรือแผลที่ผิวหนัง
ระยะฟักตัว (Incubation period, IP) หมายถึงระยะเวลาตัง้ แตร่ บั เชอ้ื จนถึงเริ่มมีอาการป่วย
ระยะฟักตัวของโรค COVID-19 เทา่ กับ 2-14 วนั ซ่ึงเปน็ เหตุผลทใี่ ห้ผูส้ มั ผัสโรคกกั กันตวั จากคนอ่ืน 14
วนั
จากรายงานผ้ปู ว่ ยนอกเมอื งอ่ฮู ัน่ ระหว่าง มค.-กพ. 2563 พบวา่ คา่ มธั ยฐาน (median, คา่ กลาง)
ของระยะฟกั ตัวของโรคน้ี ประมาณ 5.1 วัน (95% CI, 4.5 to 5.8 days) และ 97.5% ของผ้ปู ่วยมี
ระยะฟักตวั ของโรคน้อยกวา่ 11.5 วัน (95% CI, 8.2 to 15.6 days)

5

ปัจจัยที่มีผลต่อระยะฟักตวั ได้แก่
1. ปริมาณของเชอื้ ไวรัสท่ไี ด้รับ ถา้ มากจะท าให้เกิดโรคเรว็ คอื ระยะฟักตัวสน้ั
2. ทางเข้าของเชื้อโรค เช่น ไวรัส COVID-19หากเขา้ สปู่ อดโดยตรงทางจมูกและปากจะเกิดโรคเร็วกวา่
การรับเชือ้ ทางเย่อื บตุ า
3. ความเรว็ ของการเพ่ิมจำนวนไวรัสในรา่ งกายมนุษย์
4. สุขภาพของผู้ที่ไดร้ บั เช้ือ
5. ปฏกิ ิรยิ าทางอิมมนู ของผตู้ ิดเช้อื ตอ่ ไวรัส ซง่ึ มผี ลท้งั ในการกำจดั เชอ้ื และ การอักเสบซึ่งมีผลใหเ้ กิด
อาการของโรค เช่น ไข้ ไอ หอบ

อาการป่วย (Symptoms)
โดยทวั่ ไป ผู้ป่วยจะมอี าการคลา้ ยไข้หวดั ใหญ่ มีอาการ “ไข้ และ ไอ” เป็นพื้นฐาน สว่ นใหญ่เริ่ม
จาก ไอแห้ง ตามด้วย ไข้ ผปู้ ่วยสว่ นนอ้ ยคือ รอ้ ยละ 5 มีน้ำมกู เจ็บคอ หรอื จาม ไม่มีอาการเสยี งแหบ
หรอื เสยี งหาย
รอ้ ยละ 98.6 มีไข้ (ไข้อาจจะไมไ่ ดเ้ รมิ่ ในวันแรกของการป่วย)
ร้อยละ 69.6 มีอาการอ่อนเพลยี ผิดปรกติ
รอ้ ยละ 59.4 ไอแห้ง
ความรนุ แรงของโรค
ความรุนแรงของโรค ขนึ้ อยู่กับ
1. ปรมิ าณไวรัสที่ไดร้ ับเขา้ ทางเดินหายใจ
2. ปจั จยั ทางผู้ตดิ เชอื้ เช่น สุขภาพ โรคประจำตวั ปฏิกริ ยิ าอมิ มนู การปฏบิ ัติตนเม่ือเรม่ิ ป่วย
3. การดแู ลรักษาเม่อื ตดิ เช้ือและป่วย
ผตู้ ดิ เชอ้ื สว่ นใหญ่อาการน้อยและส่วนนอ้ ยมากไม่มีอาการป่วยเลยเดก็ ส่วนใหญม่ ีอาการนอ้ ย
ผู้สงู อายุและผู้มโี รคประจำตวั มักจะมีอาการหนกั กว่า

6

-รอ้ ยละ 80 มีอาการน้อย คล้ายไข้หวดั ธรรมดา หรือไข้หวัดใหญ่ที่อาการน้อย หายไดเ้ องหลงั พกั ผ่อน
และดูแลตามอาการ
-รอ้ ยละ 14 มีอาการหนกั จากปอดอักเสบ หายใจผดิ ปรกติ
-รอ้ ยละ 5 มีอาการวกิ ฤติ เช่น การหายใจลม้ เหลว ช็อคจากการปว่ ยรุนแรง
-ร้อยละ 1-2 เสียชวี ติ หลงั จากมีอาการหนัก มักเกดิ กบั ผู้สูงอายุ ผ้มู ีโรคประจำตัวทางหวั ใจและปอด
เบาหวาน ภูมิตา้ นทานตำ่ หรือโรคประจำตัวอนื่ ๆ

ระยะเวลาทป่ี ่วย
ข้อมูลผปู้ ่วย 55,924 ราย ให้ค่ามัธยฐาน (median time หรอื คา่ กลาง) ของระยะเวลาจากเริ่ม
มอี าการ จนถึงวันทีเ่ รมิ่ ฟน้ื ตัวจากการปว่ ย คืออาการเริ่มดีขึ้น ดงั นี้
-ผ้ปู ่วยท่มี อี าการน้อย (mild cases) 2 สัปดาห์
-ผปู้ ว่ ยที่มีอาการหนัก (severe or critical) 3-6 สปั ดาห์
-เรม่ิ ป่วยจนมอี าการหนัก 1 สัปดาห์
-เร่ิมปว่ ยจนถงึ แก่กรรม 2-8 สัปดาห์
อตั ราตายจากการติดเชื้อไวรสั สายพันธ์ุใหม่ ทเี่ คยพบในประเทศไทย
พ.ศ. 2545: โรค SARS ร้อยละ 10
พ.ศ.2553: ไข้หวดั ใหญ่-2009 (Flu-pandemic 2009) ร้อยละ 0.03-0.5
พ.ศ. 2557: โรค MERS ร้อยละ 30
พ.ศ. 2562-2563: โรค COVID-19 รอ้ ยละ 1-2 (ซึง่ นา่ จะต่ำกว่าขณะนี)้
การวินจิ ฉัยโรค และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.ขอ้ มลู จากประวตั ิอาการผดิ ปรกติ และการสัมผัสโรค
-ประวตั อิ าการไม่สบาย ผลการตรวจร่างกาย และการตรวจแล็บพนื้ ฐาน
-ประวตั สิ มั ผัสโรค ตามที่กล่าวแล้วในเรือ่ งผู้สมั ผสั

7

2. การตรวจหาไวรสั SARS-CoV-2 (หรือ ไวรสั โควิดไนนท์ ีน)
วตั ถปุ ระสงค์:
1. การควบคุมการแพร่ระบาด
2. การพิจารณาใชย้ าต้านไวรัสที่ตรงกับชนดิ ของเชือ้
3. การวิจัยเพื่อใช้ในการควบคุมโรค และการรกั ษา การตดิ ตามดกู ารเปลี่ยนแปลงของไวรัส
การตรวจมีการพฒั นาการตรวจเพม่ิ เตมิ และดีขึ้นเรื่อยๆ หลกั การมีดังนี้
1. ส่ิงสง่ ตรวจ
- สารทเี่ ก็บจากดา้ นในของจมูกและคอหอย โดยการเกบ็ ตรวจอย่างถกู ตอ้ งตาม
- เลือด
2. วิธีการตรวจ
-Real-Time RT-PCR for coronavirus จากสง่ิ สง่ ตรวจจากทางเดินหายใจ เปน็ การตรวจหลักใน
ปจั จุบัน ซง่ึ เป็นการตรวจระดับโมเลกุล การเก็บส่ิงส่งตรวจไมด่ ี ทำใหต้ รวจไม่พบไวรสั ได้ บอกไมไ่ ด้
จากผลตรวจวา่ มไี วรัสทม่ี ชี วี ิตหรอื ไม่
-Serology คอื การตรวจเลือดหา immuglobulin ที่เฉพาะต่อเช้ือ ซงึ่ เปน็ สว่ นหนึ่งของปฏิกิริยาภูมิ
ต้านทาน หลักการในการตรวจหาการตดิ เชอ้ื ไวรัสโดยทว่ั ไป จะตรวจ IgM ในสปั ดาหแ์ รก และ IgG
หลงั จาก 1 สัปดาห์ นบั ต้งั แต่ตดิ เชือ้
-Viral culture คอื การเพาะเชื้อไวรสั จากสิง่ ส่งตรวจ ใชใ้ นการวิจยั เปน็ หลัก การป้องกนั อนั ตรายใน
ห้องแลปยากกว่า และคา่ ใช้จ่ายสงู กวา่
3. การตรวจปอดดว้ ยภาพรงั สี (Chest X-ray, CT- Chest)
-ในช่วงทม่ี กี ารระบาดหนกั ในประเทศจีนจนการตรวจทางโมเลกลุ รับไม่ไหว ได้มีการแนะนำการตรวจ
ปอดด้วยภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์เพ่ือการวินจิ ฉยั COVID-19 อาจพจิ ารณาเปน็ ส่วนประกอบของการ
วนิ จิ ฉัยทางการแพทย์ และเป็นทางเลอื ก

8

การดูแลรักษาผู้ตดิ เชอ้ื
โรคน้ีคลา้ ยกบั ไข้หวดั ใหญ่ คอื ผ้ปู ว่ ยส่วนใหญ่ (ประมาณ ร้อยละ 80) มีอาการน้อย และหายได้

เอง แต่ต้องปฏบิ ตั ติ ัวใหร้ า่ งกายไดซ้ อ่ มแซมตวั เอง และป้องกนั คนอื่น
1. การรกั ษา
-การรักษาทั่วไป:
1.พักผอ่ นทนั ทที ีเ่ ร่ิมป่วยและพักผอ่ นให้พอใหร้ ่างกายอบอุ่นกนิ อาหารและดมื่ น้ำให้เพียงพอรักษาตาม
อาการ เชน่ ลดไข้
2.ปรกึ ษาแพทย์ เพื่อการดูแลรักษา ถา้ เปน็ ผู้เส่ยี งต่อการทจี่ ะปว่ ยรนุ แรง เชน่ ผสู้ ูงอายุ ผมู้ โี รค
ประจำตัว หญงิ มีครรภ์ หรือมีอาการหนัก
3.ผูป้ ว่ ยทีม่ ีอาการน้อย สามารถรกั ษาตวั ทบี่ ้าน ผปู้ ว่ ยที่มอี าการหนัก ต้องรับการรกั ษาในโรงพยาบาล
ระยะท่ีผ้ตู ิดเชือ้ ยังไม่มากเกนิ กำลงั ควบคมุ ดูแลมขี ้อกำหนดให้รับผู้ตดิ เชอื้ ไวใ้ นสถานพยาบาลท้งั หมด
เพื่อการดแู ลรักษาและปอ้ งกันการแพร่เช้ือ
- เฉพาะโรค: เร่มิ มยี าตา้ นไวรัสตอ่ ไวรัสชนิดนี้ในขั้นทดลองในวงกวา้ งแลว้
2. การปอ้ งกัน
-ในระยะทค่ี วบคุมการระบาด ตอ้ งรายงานเจา้ พนกั งาน เมื่อมีผตู้ ิดเช้ือ
-ปอ้ งกันการแพรเ่ ช้อื ให้คนอ่ืน ตามขอ้ แนะนำ

ภูมติ ้านทานหลังติดเช้ือ
คนที่เคยติดเช้อื ไวรสั COVID-19 แลว้ จะตดิ เช้ือนี้อกี ไหม?

แมว้ ่าจะยังไม่มขี ้อมลู ท่ีชดั เจนในเรอื่ งนี้ แต่ขอ้ มูลจากการตดิ เชอื้ โคโรนาไวรัสอน่ื ที่คลา้ ยคลึงกัน
เชน่ โรค SARS ในปี 2545 และ MERS-CoV ในปี 2557 ช้ีแนะว่า ภูมติ ้านทานท่เี กิดจากการตดิ เชอื้
ไวรสั โคโรนา ไมใ่ ชภ่ มู ติ ้านทานที่จะอยนู่ าน ไม่น่าจะมีการติดเชื้อซ้ำในระยะเวลาใกลา้ เช่น ภายใน 1ปี
ทัง้ น้ี การสร้างภูมิตา้ นทานต่อ COVID-19 ยังไม่เป็นที่เขา้ ใจดีนัก

9

การแพร่เชื้อ และ การรบั เชอื้

แหล่งเชือ้ โรค COVID-19 และการแพร่เชื้อ
1. คนทตี่ ิดเชอื้

ไอ จาม หรอื พูด โดยไมม่ อี ุปกรณป์ ดิ ปาก ในระยะใกลช้ ดิ (น้อยกว่า 1 เมตร) มีผลใหล้ ะอองฝอย
เสมหะ น้ำมูก น้ำลาย ทีม่ ีไวรัสอยดู่ ้วย ฟ้งุ กระจายออกมา เรียกว่า airborne droplet หรอื หยดน้ำ
เลก็ าที่ลอยในอากาศ (ขนาด >5 micron) ซึ่งจะตกลงบนพื้นในระยะ 1-2 เมตร

ทำให้เกิดการฟงุ้ ของไวรัสในอากาศ โดยการปฏิบัติต่อผูต้ ิดเช้อื บางลกั ษณะในสถานพยาบาล
(เช่น การใช้อปุ กรณพ์ น่ ยาเข้าทางเดนิ หายใจ การใชส้ ายยางดดู เสมหะ การสอ่ งกลอ้ งตรวจภายใน
หลอดลม การใสแ่ ละถอดท่อหายใจให้ผู้ป่วย การดูดเสมหะดว้ ยระบบเปดิ ) ก่อใหเ้ กดิ ละอองขนาดเลก็
มาก (fine mist) เรยี กว่า airborne aerosole (ขนาด <5 micron) ซึง่ คล้ายกับไวรัสท่ีฟุง้ ในอากาศ
ไวรัสโคโรนาจะมีชีวิตสน้ั มากถ้าอากาศแหง้ แต่อยไู่ ดน้ านหลายชัว่ โมงหากอากาศเยน็ และช้ืน

มอื ที่มีเชื้อโรคติดอยู่ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงจากการเอาฝา่ มอื ปิดปากเวลาไอ จาม แล้วไม่ล้างมือ
และใชม้ ือนน้ั สมั ผัสกับผอู้ ่นื หรือสิง่ ของ
2. พ้ืนผวิ วัตถุ หรือสง่ิ ของ ทผ่ี ู้ตดิ เช้อื ไดน้ ำเช้ือโรคมาทิ้งไว้อาจอยู่ไดห้ ลายช่ัวโมงหรอื หลายวัน

ระยะเวลาแพรเ่ ช้อื จากผตู้ ิดเช้ือ (Contagious period)
โดยท่ัวไปแล้ว ผู้ปว่ ยตดิ เชอ้ื ที่เป็นโรคติดต่อ จะแพร่เช้อื เม่ือมีอาการ และแพร่เชือ้ ไดม้ ากทีส่ ุดใน
ระยะท่ีอาการหนักที่สุดของโรคท่ไี มใ่ ช่ผลแทรกซ้อนจากเหตุอ่นื ท้ังนผ้ี ตู้ ดิ เชอื้ ท่ีมีอาการน้อยา อาจจะ
แพรเ่ ชอื้ ได้บา้ ง แต่นอ้ ยกวา่ การแพรเ่ ช้ือในระยะท่ีไม่มีอาการอาจเกดิ ขึน้ ไดเ้ ลก็ น้อย และมักจะอยู่ใน
ระยะ 2-3 วนั ก่อนเริ่มมีอาการป่วย โรคติดเช้ือที่เป็นโรคติดตอ่ แตล่ ะโรคมรี ะยะเวลาแพร่เช้ือแตกตา่ ง
กนั แม้ว่าจะมรี ายงานวา่ อาจจะมีผู้ป่วย COVID-19 ทแ่ี พร่เชอ้ื ในขณะท่ไี ม่มีอาการ แตข่ อ้ มลู ยังไม่
ชดั เจน และหากเป็นจรงิ ก็มีโอกาสเกดิ ข้ึนน้อยมากา เช่นเดยี วกับโรคตดิ ตอ่ อ่ืนๆตอ้ งรอดูข้อมูล
เพิ่มเติม

10

การแพร่เช้ือ COVID-19 และการรับเชื้อ
เกิดจากการตดิ ต่อจากคนท่ีมเี ช้อื สูค่ นอน่ื โดย
1. ทางตรง (direct) โดยทางละอองฝอย (drople)t จากทางเดินหายใจ
- การคลุกคลีใกลช้ ิดกบั ผตู้ ิดเชอ้ื /ผปู้ ว่ ย ในระยะน้อยกวา่ 1-2 เมตร
- โดยทางละอองฝอย (droplet) ของน้ำลาย เสมหะ น้ำมกู ของผู้ป่วย ดว้ ยการ ไอ จาม หรอื การพูดที่
นำ้ ลายกระเดน็
-ละอองฝอยเหล่าน้ี อาจจะเข้า ปาก จมูก ตา ของผทู้ ่ีอยใู่ กล้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมอ่ื หันหน้าเขา้ หากนั
และสดู หายใจเข้าไปเน่ืองจาก ไวรสั COVID-19 เป็นไวรัสที่ต้องอยใู่ นเซลล์จงึ จะมีชวี ิตอยู่ได้ ดังนั้นเม่ือ
ละอองฝอยแห้งลง ไวรัสก็ตาย ไม่ลอยอยู่ในอากาศฟุ้งกระจาย
2. ทางอ้อม (indirect) โดยการสัมผัส (contact)
-โดยการสมั ผสั บริเวณ พน้ื ผิว ส่งิ ของ มอื ของคนอืน่ ทม่ี ีการปนเปื้อนเชื้อโรคจากผปู้ ่วยจากการไอ จาม
แล้วนำไปเขา้ จมูก ปาก ตา ของตนเอง
-มสี ิ่งอนื่ นำเช้อื ไปโดยการสัมผัส เช่น ของเล่นของเด็กทีป่ นเป้อื นเชอื้ สตั วเ์ ล้ียงท่ีมีผนู้ ำเช้อื มาสมั ผสั ท้งิ
ไว้ทขี่ น ทง้ั น้ี ยงั ไม่มหี ลักฐานว่าสัตว์เลี้ยงจะตดิ เชือ้ สายพันธ์นุ ี้
-สุนัขมีไวรสั โคโรนาของสนุ ัข แต่เป็นสายพันธ์ทุ ่ีไมก่ ่อโรคในคน
3. ทาง aerosol เปน็ กรณีเฉพาะ
-Aerosol คือ ละอองฝอยขนาดเล็กกวา่ 5 ไมครอน ลอยในอากาศ
-ไวรัสโคโรนาจากผูป้ ่วยจะลอยเป็นละอองฝอยขนาดเล็ก ในกรณีท่มี หี ตั ถการในการรักษาบางอย่าง
เช่น การดดู เสมหะโดยใชเ้ คร่ืองต่อสายยาง การพน่ ยาเปน็ ละอองเข้าทางเดินหายใจ เป็นตน้
-มขี อ้ มูลบ้างวา่ ในลกั ษณะอากาศบางอยา่ ง อาจจะเปน็ อากาศเย็นและช้นื ไวรสั อาจจะลอยอยู่ใน
อากาศนานขน้ึ ซ่ึงอาจจะสร้างปญั หาของการติดเชื้อในโรงพยาบาล ตอ้ งตดิ ตามขอ้ มูลต่อไป

11

การคลุกคลใี กลช้ ดิ กนั (close contact)
การคลกุ คลีใกลช้ ดิ ผูป้ ว่ ยทำให้มีโอกาสรับเชอ้ื จากผูป้ ว่ ยได้ ทงั้ น้ี หมายถึง
1. การอยใู่ กล้ผู้ป่วย ในระยะนอ้ ยกวา่ 2 เมตร เปน็ เวลานาน เชน่ อย่รู ว่ มห้อง พดู คยุ กนั หันหนา้ เข้า
หากัน เป็นคนดูแลผู้ปว่ ย เป็นต้น
2. มีกิจกรรมท่ีมกี ารสัมผสั โดยตรงกับเช้ือโรคจากน้ าลาย เสมหะของผตู้ ิดเชอื้ เชน่ กอดจูบกัน สัมผสั
ตัว การใชข้ องร่วมกนั เชน่ ชอ้ นซอ่ ม แกว้ น้ า การกินอาหารรว่ มกนั

การท่กี ำหนดระยะใกล้ชดิ ทอ่ี าจจะรบั เช้ือ หรือระยะห่างในการปอ้ งกนั การรบั เช้อื ที่ 1-2 เมตร
เพราะการไอจามของคนทว่ั ไปจะส่งฝอยน้ าลายไดไ้ กลถงึ 1 เมตร แตถ่ ้าคนตวั โตไอแรงมากา อาจจะ
ไกลถงึ 2 เมตร

การรับเชื้อ COVID-19
1. คนท่คี ลกุ คลีใกล้ชดิ (close contact) ได้รับเชือ้ เข้าทางปาก จมูก ตา สว่ นใหญ่เกิดจากการไอ จาม
ของผู้ป่วย
2. มือทสี่ มั ผัสไวรสั จากผปู้ ว่ ย ท่ีปนเปอื้ นอยู่บนผวิ วตั ถุแลว้ นำเข้าสทู่ างเดินหายใจทาง ปาก จมกู ตา
หรือแพร่ไปที่อ่นื ต่อ
3. แม้วา่ จะมีรายงานการตรวจพบไวรสั โคโรนา19 ในอุจจาระ และผปู้ ่วยบางคนมีอุจจาระร่วง การติด
เชือ้ ทางทางเดนิ อาหารไม่เป็นการแพรเ่ ช้ือที่มีความสำคญั

R0, ตัวช้ีวัดโอกาสแพร่เชื้อ
ไวรัสแตล่ ะชนดิ ตดิ ตอ่ ไปยังคนอน่ื ได้มากน้อยตา่ งกัน บางชนิดตดิ ต่อไดง้ ่ายมากไปยังคนท่ียังไม่มี
ภมู ิต้านทาน (ไม่เคยติดเช้ือ ไม่เคยรับวัคซนี ) เชน่ หัด เพราะไวรัสล่องลอยอยู่ในอากาศได้นาน โดยมี
การใชค้ า่ วดั เปรยี บเทียบ คือ R0 (R nought)หรือ จำนวนคนติดเชื้อที่เพมิ่ ข้นึ จากคนติดเชื้อ 1 คน
(reproductive number) ซึง่ เปน็ ค่าแสดงความสามารถการแพรเ่ ชื้อตามธรรมชาติวา่ คนที่ตดิ เช้ือ 1
คน จะแพรใ่ หค้ นอนื่ ประมาณกคี่ น ในประชากรท่ีไม่มีภมู ติ ้านทานมาก่อนและไม่มกี ารควบคุมโรค
ปัจจยั ท่มี ผี ลตอ่ ค่า R0 เช่น ภมู ิตา้ นทานของประชากร ความสามารถในการควบคุมการแพรเ่ ช้อื

12

ตวั อย่าง R0 ของแตล่ ะโรค
-R0 โรคหัด 12-18
-R0 ไข้หวดั ใหญ่ตามฤดกู าล 1.3 to 1.5.
-R0 ไข้หวดั ใหญส่ ายพันธุใ์ หม่ 2009 (novel influenza A (H1N1)) 1.4 and 1.6
-R0 ของ COVID-19 1-5 (จากการประชุมรว่ ม WHO-จีน เม่ือ 24 กพ. 2563)

การแปลค่า R0
-R0 น้อยกวา่ 1 แสดงวา่ จำนวนผ้ตู ดิ เชอ้ื ลดลง และโรคจะหมดไปในทส่ี ดุ
-R0 เทา่ กบั 1 แสดงว่าจำนวนผู้ป่วยจะค่อนข้างคงท่ี ไปเร่ือยๆ
-R0 มากกวา่ 1 แสดงว่าจะนวนผู้ปว่ ยเพ่มิ ขึ้นตามลำดับ และจะเกิดการระบาด

การป้องกนั การแพรเ่ ชอื้ และการติดเชื้อ
1. ลา้ งมอื ดว้ ยน้ำและสบู่ให้ท่ัว และนานพอ (ประมาณ 20 วินาที) และเชด็ มือให้แหง้
-การล้างมอื ด้วยน้ำและสบู่จะกำจัดคราบสกปรก และฆ่าเช้ือไวรัส ไมจ่ ำเปน็ ต้องใช้สบู่ทผ่ี สมสารฆา่ เชอื้
-ถ้าไม่มีนำ้ และสบู่ จึงใช้แอลกอฮอล์(60-70 % ซึ่งมกั อยู่ในรูปเจล หรอื สเปรย)์ ทาทว่ั มอื ที่ไม่เปยี กเพ่ือ
ฆา่ เชื้อโรค (ถ้ามือเปียก แอลกอฮอล์จะเจือจางจนฆา่ เชือ้ ไม่ได้)ทิ้งให้แหง้ หา้ มลา้ งนำ้ ต่อ เพราะจะล้าง
แอลกอฮอล์หมดไป แต่ถา้ มือสกปรกตอ้ งล้างมือดว้ ยนำ้ และสบู่ เพราะแอลกอฮอล์จะไม่สามารถฆา่ เชื้อ
โรคทอ่ี ยูใ่ นคราบเป้อื น
2. ไม่เอามอื จับหน้า ปาก จมูก หรอื ตา ถ้าจ าเป็น ควรทำมือใหส้ ะอาดก่อน
3. เว้นระยะห่าง จากคนอน่ื ท่ีอาจจะแพร่เชื้อ (keep distance) ได้แก่
- คนทม่ี ีอาการซงึ่ อาจจะเกิดจากการตดิ เช้ือทางเดนิ หายใจ เช่น ไข้ ไอ
- หลกี เลีย่ งการไปในที่ที่มคี นหนาแน่น โดยเฉพาะอย่างย่ิงคนท่ีไม่ร้จู กั และอาจติดเชือ้ โดยไม่สามารถ
อยหู่ า่ งกันเกนิ 1เมตร ได้ตลอดเวลา ถา้ จำเป็นควรใส่หน้ากากอนามัย และไมห่ นั หน้าเผชิญกัน เพราะ
เขาอาจไอจามรดได้

13

4. ทำความสะอาดสิ่งแวดลอ้ ม โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ บริเวณทอี่ าจปนเปื้อนเสมหะน้ำมูก นำ้ ลาย จาก
ผ้ปู ่วย และมไี วรสั

คนกลุ่มตา่ งไท่มี ีโอกาสสัมผสั เชื้อโรคน้ี ควรปฏบิ ตั ิดงั นี้
1. คนทุกคน
มอื สะอาด : ลา้ งมอื ดว้ ยน้ำและสบ่อู ย่างถูกวธิ เี ป็นหลกั โดยเฉพาะเม่ือมคี ราบสกปรก ใช้แอลกอฮอล์
เจลเฉพาะเวลาทีไ่ มส่ ามารถใช้นำ้ และสบูล่ า้ งมือ
หนา้ : ไม่สัมผสั ดว้ ยมอื ทยี่ ังไม่สะอาด เพราะปาก จมูก ตา เป็นทางเข้าของเช้ือ
หนา้ กากป้องกนั : คนที่ไมต่ ิดเชอื้ ไมจ่ าเป็นตอ้ งใช้หนา้ กากเม่ืออยู่ในทีช่ ุมชนทแ่ี น่ใจว่าไม่มผี ้ตู ดิ เชื้อ
อาจใชห้ นา้ กากผา้ ท่มี ีคุณภาพ เพอื่ ป้องกนั อุบัตเิ หตุท่คี าดไม่ถงึ ว่าจะมีคนไอจามรด หากเกิดขึ้น รีบเอา
หน้ากากออก ล้างหนา้ หรือเชด็ หนา้ หากไม่เกิดอบุ ตั ิเหตุ จดั การหน้ากากท่ใี ช้ครั้งเดยี วเชน่ เดยี วกับ
ขยะทว่ั ไป สว่ นหนา้ กากผา้ นั้น ซกั แล้วใชใ้ หม่ได้
กิน: อาหารปรุงใหม่าด้วยกระบวนการท่สี ะอาดลา้ งมือก่อนกินอาหารและไม่ปนเปื้อนอาหารส่วนกลาง
ด้วยชอ้ นสอ้ มสว่ นตวั
2. ผปู้ ่วย
-หนา้ กากป้องกัน: ใช้หนา้ กากอนามยั ทางการแพทย์ ใช้และทง้ิ อย่าง ขยะติดเชอื้ ในทีท่ ่ีมีการจดั ไวใ้ ห้ท่ี
เปน็ ลักษณะปดิ หรอื ท้งิ ในถงุ หรอื ถังขยะปิด ที่ใชเ้ ฉพาะ
-ไอ จาม: ใหป้ ลอดภยั ต่อคนอ่ืน เวน้ ระยะห่างและหนั หนา้ ออกจากคนอื่น ใชข้ ้อพบั ศอกด้านในปิดปาก
และจมูก หรือใช้ทชิ ชูปดิ ปากและจมูก แล้วท้ิงในถังขยะตดิ เชื้อ หรือใสถ่ งุ ท่ีปิด หากใสห่ นา้ กากอนามัย
อยู่ ให้ไอ จาม ในหน้ากากอนามัย ถ้าใช้ผา้ เช็ดหน้าปิดปากจมกู เสรจ็ แล้วให้พับด้านเป้ือนไวข้ า้ งใน
เก็บไวใ้ นถุงพลาสติก ก่อนนำไปซัก
-อยู่ห่างจากคนอน่ื : งดหรอื เลีย่ งการเขา้ ใกล้คนอน่ื ในระยะนอ้ ยกวา่ 1 เมตร
3. ผู้ดูแลผปู้ ่วย ถ้าต้องเปน็ ผดู้ ูแลผู้ป่วยท่บี า้ น
1. แยกผปู้ ว่ ยจากคนอน่ื เว้นระยะหา่ งใหเ้ กิน 1-2 เมตร ตลอดเวลา หากเป็นไปได้ ผ้ปู ่วยควรจะอยูใ่ น
หอ้ งแยกและแยกใช้ห้องน้ำจากคนอ่ืน

14

2. หนา้ กากอนามัย ผปู้ ่วยใสห่ น้ากากอนามัยเม่อื อยใู่ นห้องร่วมกบั คนอน่ื คนทดี่ ูแลผปู้ ว่ ยใกล้ชดิ กค็ วร
จะใส่หน้ากากอนามยั เมื่ออยู่ในหอ้ งผปู้ ว่ ย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง เมอ่ื ผ้ปู ่วยใสไ่ ม่ได้
3. ระมดั ระวงั ในการสมั ผสั เสมหะ นำ้ มูก นำ้ ลาย และสงิ่ คัดหลั่งอ่ืน จากผู้ป่วย ใสห่ น้ากากอนามัย ผ้า
กนั เปอื้ น และถงุ มอื ตามกรณี และลา้ งมือ
4. ทำความสะอาดบรเิ วณที่ใชด้ ูแลผปู้ ่วย และสิง่ ของ เชน่ โทรศพั ท์
5. ล้างมอื ดว้ ยสบแู่ ละนำ้ ใช้แอลกอฮอล์เมื่อไม่มสี บู่และนำ้

บทสรุป

ทา้ ยที่สดุ แลว้ เรารูแ้ ละเข้าใจท่ีมา การป้องกนั การรกั ษาเบื้องตน้ มนุษย์กค็ วรทจี่ ะเรยี นรูแ้ ละ
ปรับตัวเพ่ืออยกู่ บั ไวรสั COVID-19 หากมนุษยท์ ุกคนเรยี นรู้ที่จะป้องกนั ตัวเอง มีความรับผดิ ชอบต่อ
ตนเอง ปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนของสาธารณะสุข เราก็จะปลอดภัยจากCOVID-19 และสามารถปรบั ตวั อยู่
กับมนั ได้ และรอวนั ที่โลกของเราไดร้ บั วัคซีนอยา่ งทวั่ ถึง ตอนนี้เราสามารถทำไดแ้ ค่เรียนรู้ทำความ
เข้าใจเกยี่ วกับมันก็ถือวา่ เปน็ การป้องการตัวท่ดี ีท่ีสดุ แล้ว

15

บรรณานุกรม

รพพี รรณ รัตนวงศ์นรา. (2564, เมษายน 23). โควดิ -19. ค้นเม่ือ 10 กันยายน 2564
จาก http://www.brh.go.th/index.php/2019-02-27-04-12-21/270-19

แพทยโ์ รคติดเชื้อและระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลัยมหดิ ล
(2563). ความรูพ้ ื้นฐาน COVID-19. มหาวทิ ยาลัยมหิดล

กุลกญั ญา โชคไพบูลย์กจิ . (2563, เมษายน 8). การป้องกนั โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019. คน้ เม่ือ
10 กันยายน 2564 จาก https://www.thaipediatrics.org/Media/media-

20200409144452.pdf


Click to View FlipBook Version