The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เศรษฐศาสตร์_

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phannipa, 2022-05-12 21:29:40

Economics

เศรษฐศาสตร์_

เศรษฐศาสตร์

1.เศรษฐศาสตร์เบอื้ งตน้

เปน็ วชิ าวา่ ด้วยการจัดสรรทรพั ยากรที่มีอย่อู ย่างจำกดั เพ่อื ตอบสนองความต้องการท่ีไมจ่ ำกดั

บดิ าของเศรษฐศาสตร์ คอื อดัม สมิท ชาวสก็อตแลนด์ ผเู้ ขยี นงานเรือ่ ง The Wealth of Nation

• ขอบเขตการศึกษาเศรษฐศาสตร์

เศรษฐศาสตรม์ หภาค ศกึ ษาเกีย่ วกับพฤติกรรมภาพรวมทางเศรษฐกิจระดบั ประเทศหรือระดับโลก

ตัวอย่างเชน่ รายได้ประชาชาติ เงนิ เฟ้อเงินฝืด การวา่ งงาน การลงทุน ค่าแรงขน้ั ต่ำ เป็นตน้

เศรษฐศาสตรจ์ ุลภาค ศึกษาเกีย่ วกบั เรอ่ื งราวเศรษฐกิจในหน่วยเลก็ ๆในสังคม เชน่ ทฤษฎีราคา

รายรับรายจ่ายระดับครัวเรอื น

• ปญั หาทางเศรษฐศาสตร์

ทรัพยากรมจี าํ กัด → คนตอ้ งเลอื ก → เกิดต้นทุนคา่ เสียโอกาส

--เราจะพบปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ คอื ความขาดแคลน เน่ืองจากการมีอยอู่ ยา่ งจำกัด (Scarcity) คอื
ทรพั ยากรทุกอยา่ งในโลกล้วนมอี ยู่อยา่ งจำกดั ไม่วา่ จะเปน็ ท่ีดิน ทรัพยากรธรรมชาติ เครือ่ งจักรต่างๆ
เมือ่ นำทรัพยากรเหลา่ นีไ้ ปใช้ในการผลติ สินค้าและบริการจะไดส้ นิ คา้ ในปริมาณจำกัด
--ความจำกัดเปน็ ปรากฎการณ์ในสังคมท่ีเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา
ความไม่สมดุลระหวา่ งความตอ้ งการท่ีไมจ่ ำกดั กับทรพั ยากรท่มี ีอยูอ่ ยา่ งจำกัดน้เี อง ที่ทำให้เกิดทางเลอื ก
(Choice) ต้องเลือกใช้ทรพั ยากรไปในทางท่ีกอ่ ประโยชน์อนั สูงสุด
ทุกการตัดสนิ ใจเลอื กอยา่ งใดอย่างหนงึ่ น้นั จะเกิดส่งิ ท่ีเรยี กวา่ ต้นทุนค่าเสียโอกาสเสมอ

ต้นทุนค่าเสียโอกาส คือ มูลคา่ สูงสดุ ของสินค้าและบรกิ ารที่เราไมไ่ ดเ้ ลอื ก

Trick เอาแค่คา่ สูงสดุ ท่เี ราไมไ่ ด้เลือก ไมต่ ้องบวกกัน

ตวั อยา่ ง

เช่น นาย A เลือกขายเสอื้ ผ้า แต่มีทางทไี่ ม่ไดเ้ ลือกคอื
1. ขายกาแฟ 6,000 บาทตอ่ เดอื น
2. ขายเย็นตาโฟ 9,000 บาท
ต้นทนุ ค่าเสียโอกาส คอื ขายเย็นตาโฟ

• ความสัมพันธข์ องหนว่ ยธรุ กิจ ครัวเรอื น

-ครวั เรอื น คือ เจ้าของปจั จยั การผลิต และเปน็ ผู้บริโภค
-หน่วยผลติ คอื ผดู้ ำเนินการขายสนิ ค้าและบริการต่างๆ

หนว่ ยธุรกจิ หนว่ ยครวั เรอื น

• ปญั หาการจัดสรรทรัพยากร
What จะผลติ อะไร เช่น ผลิตเครอื่ งด่มื ผลไม้
How ผลิตอยา่ งไร เช่น คั่น บรรจหุ อ่
For Whom ผลติ เพื่อใคร เชน่ ทุกคน
• กิจกรรมทางเศรษฐกจิ
หมายถงึ การนำเอาทรพั ยากรมาใช้เพ่ือใหไ้ ด้ประโยชนใ์ นทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วย การผลิต การกระจาย
การแลกเปล่ยี น และการบรโิ ภค
1. การผลติ คือ การนำเอาปัจจัยการผลิต (ที่ดนิ ทุน แรงงาน ผปู้ ระกอบการ)มาสร้างสนิ ค้าและบรกิ าร
• ปัจจยั การผลิต

ท่ีดนิ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นดนิ บนดิน
ผลตอบแทนท่ีไดร้ บั คา่ เช่า

ทนุ ส่ิงที่มนุษย์สร้างขึน้ เพือ่ ใชใ้ นการผลิต
ทนุ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท
1.สนิ คา้ ทุน เป็นสนิ คา้ เพอื่ การผลิตหรือสินคา้ ท่ีนำมาใชใ้ นการผลิต เช่น
รถบรรทกุ สำนกั งาน เครื่องคอมพวิ เตอร์ สตั วเ์ ลยี้ งไวใ้ ช้งาน
2.เงินทนุ คือ ทุนท่ปี รากฎในรูปของเงินเพื่อใช้ในการจดั หาทุน ได้แก่ เงินตรา
เงนิ กู้ พันธบตั ร
ผลตอบแทนทไี่ ดร้ บั ดอกเบ้ีย
เงนิ ทนุ ไมใ่ ชส่ นิ คา้ ทุนนะ (9วชิ าสามญั ’62)

แรงงาน ทรพั ยากรมนษุ ย์
ผลตอบแทน ค่าจ้าง
ผู้ประกอบ
การ ผู้ท่นี ำปจั จัยการผลติ มาสู่สินคา้ และบริการ

ขนั้ ตอนการผลิต

การผลติ ข้นั ต้น การผลติ ข้ันทุตยิ ภูมิ การผลติ ข้ันตตยิ ภมู ิ

การผลิตวัตถดุ ิบ การนำวตั ถมุ าแปรรูป การนำสินค้าเขา้ สกู่ ารบริการ

เช่น เกษตรกรรม เปน็ สนิ คา้ สำเร็จรูป การขนส่ง

การประมง

การป่าไม้

ผลผลิต

สนิ ค้าและบริการ สามารถแบง่ ได้ 2 ประเภท

1.ใช้เป้าหมายของสินคา้ เปน็ เกณฑ์

• สนิ คา้ เพื่อการผลติ หรอื วัตถดุ บิ ข้ันกลาง นำมาใช้ในกระบวนการผลติ

• สนิ คา้ เพื่อการบริโภค หรอื สินคา้ ขัน้ สดุ ท้าย เปน็ สนิ ค้าทมี่ เี ป้าหมายเพอ่ื ผู้บรโิ ภคโดยตรง

2.ใชค้ วามหามาได้ยากเป็นเกณฑ์

• ทรพั ยเ์ สรี หรือสินคา้ ไร้ราคา ทรัพย์ท่เี กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาติ มีปรมิ าณไมจ่ ำกดั

• เศรษฐทรพั ย์ สนิ ค้าทางเศรษฐทรัพย์ สินค้าท่ีต้องจ่ายเงนิ เพราะมีต้นทุนการผลิต

เสน้ ความเปน็ ไปไดใ้ นการผลิต (Production Possibility Curve : PPC)

เปน็ เส้นทแี่ สดงจำนวนของสนิ ค้า 2 ชนดิ ท่ีสามารถผลิตไดโ้ ดยใชท้ รัพยากรทม่ี ีจำกดั ขณะน้นั ก็คือ
เส้นทแ่ี สดงความเปน็ ไปได้ในการผลิตสินค้าเพยี งสองชนดิ ภายใต้ทรพั ยากรทม่ี ีอยู่

• เส้นทบ่ี อกระดับสูงสดุ ท่เี ทคโนโลยีจะผลติ ได้ เมื่อมที รพั ยากรอยู่อย่างจำกดั

จำนวนขา้ วทผ่ี ลิตได้ จากกราฟ

•A A คือ
จุดท่ีเปน็ ไปไดใ้ นการผลิตและยังใช้ทรัพยากรผลติ
จำนวนเสื้อผ้าท่ีผลิตได้ •B ไดไ้ ม่เต็มท่ี
B คอื จุดที่เกินศักยภาพในการผลติ
เส้นประบน คอื มปี ัจจยั การผลติ เพิม่
เทคโนโลยีในการผลิตกา้ วหนา้
ทำให้ผลผลิตมากขน้ึ
เสน้ ประล่าง คอื เมื่อมีปัจจัยการผลิตลดลง
ทำให้ผลผลิตไดน้ ้อย

2. การกระจาย
คือ การจำหนา่ ยแจกสินค้าและบรกิ ารซึง่ เปน็ ผลผลิตไปยังผ้บู ริโภค
ตลอดจนการแบ่งสรรผลตอบแทนไปยังผูม้ สี ว่ นร่วมในการผลติ ในทางเศรษฐศาสตรแ์ บ่งออกเป็น 2 ประเภท

1. การกระจายสินค้า ไดแ้ ก่
- กระจายปจั จยั การผลิต
- กระจายผลผลติ

2. การกระจายรายได้ ไดแ้ ก่
- กระจายผลตอบแทนปัจจัยการผลติ (คา่ เช่า ดอกเบย้ี คา่ จา้ ง กำไร)
- กระจายผลตอบแทนผลผลิต

3. การบรโิ ภค

การบรโิ ภค หมายถงึ การใชป้ ระโยชนจ์ ากสนิ ค้าและบริการ
การคมุ้ ครองสทิ ธิผ้บู รโิ ภค
1).สทิ ธผิ บู้ ริโภคทีไ่ ดร้ ับความคมุ้ ครองตามกฎหมาย
พระราชบญั ญัติค้มุ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 ซึง่ แก้ไขเพิม่ เตมิ โดย (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2541
ไดบ้ ัญญตั ิสทิ ธิของผ้บู ริโภคที่จะไดร้ ับความคุ้มครองตามกฎหมาย 5 ประการ ดงั นี้

1.สทิ ธทิ ี่จะได้รบั ข่าวสารรวมทงั้ คำพรรณนาคณุ ภาพท่ถี กู ตอ้ งและเพียงพอเกีย่ วกับสินคา้ หรือบริการ ได้แก่
สิทธิท่ีจะได้รับการโฆษณาตามความเปน็ จรงิ และปราศจากพิษภยั แก่ผู้บรโิ ภค
รวมถงึ สิทธิทีจ่ ะไดร้ ับทราบข้อมลู เก่ยี วกับสนิ คา้ หรอื บรกิ ารอยา่ งถกู ต้อง

2.สทิ ธิทีจ่ ะมอี สิ ระในการเลือกหาสินคา้ หรอื บรกิ าร ไดแ้ ก่
สทิ ธิทจ่ี ะเลอื กซอ้ื สินค้าหรือรับบริการตามความสมัครใจ และปราศจากการชักจูงใจอันไม่เป็นธรรม

3.สิทธิทจี่ ะไดร้ บั ความปลอดภยั จากการใช้สินคา้ หรือบรกิ าร ไดแ้ ก่
สิทธิทจี่ ะได้รบั สินค้าหรือบรกิ ารอย่างปลอดภัย

4.สิทธทิ จ่ี ะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา ไดแ้ ก่
สิทธทิ ี่จะไดร้ ับขอ้ สัญญาโดยไมถ่ กู เอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกจิ
2)สำนกั งานคณะกรรมการคมุ้ ครองสิทธิผ้บู ริโภค

• สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองสทิ ธิผบู้ ริโภค สำนักนายกรฐั มนตรี
ตงั้ ขน้ึ ตามพระราชบญั ญตั ิคุ้มครองผบู้ รโิ ภค พ.ศ.2522 ซง่ึ แก้ไขเพ่มิ เติมโดยพระราชบัญญตั ิค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2541

พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค พ.ศ. 2522 ได้บญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา 20
ให้สำนักงงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ ริโภคมอี ำนาจหน้าที่ ดังน้ี

1. รบั เร่ืองราวร้องทกุ ข์จากผู้บริโภคทไี่ ด้รบั ความเดือดรอ้ นหรอื เสียหาย
อนั เนือ่ งมาจากกรกระทำของผปู้ ระกอบธรุ กิจ เพอ่ื ตอบสนองตอ่ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค

2. ติดตามและสอดสอ่ งพฤตกิ ารณข์ องผปู้ ระกอบธุรกิจซึง่ กระทำการใดๆ
อันมลี ักษณะเปน็ การละเมิดสิทธิของผบู้ ริโภค และจดให้มีการทดสอบ หรือพสิ ูจน์สินคา้ บริการใดๆ
ตามที่เห็นสมควรและจำเป็นเพื่อคุม้ ครองสทิ ธิของผู้บริโภค

3.สนับสนุนหรอื ทำการศกึ ษาและวจิ ัยปญั หาเก่ียวกับการคมุ้ ครองผู้บริโภครว่ มกบั สถาบนั การศกึ ษา
และหนว่ ยงานอ่ืน

4.สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้มกี ารศกึ ษาแกผ่ ู้บริโภคในทกุ ระดับการศึกษาทเี่ กี่ยวกับความปลอดภัย

และอนั ตรายทอ่ี าจได้รบั จากสินคา้ หรอื บริการ
5. ประสานงานกับสว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานของรัฐท่ีมีอำนาจหนา้ ท่เี ก่ยี วกบั การควบคุม

สง่ เสริมหรอื กำหนดมาตรฐานของสินคา้ หรอื บริการ

4. การแลกเปลี่ยน การนำเอาสนิ ค้าอย่างใดอยา่ งนึงไปแลกกบั สนิ ค้าและบริการ

ววิ ัฒนาการของการแลกเปลีย่ น
1. ระบบแลกเปลี่ยนสง่ิ ของ (Barter System) การนำเอาผลผลิตมาแลกเปล่ยี นกนั เช่น ข้าวสารแลกกบั ปุ๋ย
2. ระบบเงนิ ตรา (Money System) การแลกเปล่ยี นโดยมีเงนิ เป็นตัวกลางในการแลกเปล่ียน
3. ระบบเครดิต (Credit System) ในกรณไี ม่มีเงินหรอื เงนิ ไมเ่ พยี งพอในการแลกเปลยี่ น
การแลกเปลย่ี นต้องอาศัยความไว้วางใจตอ่ กนั คือ สินเชอื่ หรือเครดติ เช่น การใชเ้ ชค็ บัตรเครดิตแทนตัวเงนิ
หรอื ระบบเช่าซอื้ (ผอ่ นส่ง)
กลไกทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การแลกเปลยี่ น คือ อปุ สงค์ อุปทาน และ ตลาด

2. ระบบเศรษฐกิจ

คือ หน่วยเศรษฐกิจทร่ี วมตัวกนั ดำเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ
ภายใต้รปู แบบของการปกครองของแตล่ ะประเทศ
สงั เกตดู
การวเิ คราะห์วา่ ประเทศ A ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบใด
ดทู ่ีบทบาทของรฐั หรอื เอกชนในการดำเนนิ เศรษฐกิจในประเทศ
ถา้ บทบาทของเอกชนมีสูงก็หมายความว่าประเทศนน้ั ใช้ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม
ถ้าบทบาทของรัฐสูงมากแตเ่ อกชนแทบไมม่ ีบทบาทเลย คาดคะเนว่าประเทศนั้นอาจใช้
ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม

• ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม
บทบาทของเอกชน > รฐั
-เอกชนมีเสรีในการดำเนินการผลติ และจำหนา่ ย
-เอกชนเปน็ เจา้ ของปจั จยั การผลิตได้ตามกฎหมาย
-ผ้ผู ลติ มีการแข่งขนั มแี รงบนั ดาลใจในการผลิต สง่ ผลใหเ้ กิดประสิทธิภาพของสนิ คา้
-ราคาสินคา้ ถูกกำหนดโดยกลไกราคา

ขอ้ เสียสำคัญ
การกระจายรายไดแ้ ละทรัพยส์ ินไมม่ คี วามเท่าเทียมกนั
การพัฒนาอาจมาพร้อมกบั ปัญหาส่ิงแวดล้อม
เกิดความเสียเปรยี บได้ หากธรุ กจิ ขนาดใหญ่นำไปสู่การผูกขาด

• ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม
บทบาทของรฐั > เอกชน
- รฐั เป็นเจ้าของปัจจยั การผลติ ทัง้ หมด
-เอกชนไมม่ ีสทิ ธใิ นการทำกิจกรรมทางเศรษฐกิจใดๆ
-รฐั ควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกจิ โดยวางแผนจากส่วนกลาง
-การกระจายรายไดแ้ ละทรัพยส์ ินเท่าเทียมกว่าระบบอ่ืน เพราะรฐั ปกป้องความเปน็ ธรรม
-ผลิตสินค้าคราวละมากเพ่อื การประหยัดจากขนาด (Economic of scale) ต้นทุนราคาถกู
ข้อเสีย
เอกชนถกู จำกัดเสรภี าพในการผลติ
สนิ คา้ อาจดอ้ ยคุณภาพเพราะไม่มีการแข่งขัน
สินคา้ และบริการมนี ้อย ขาดแรงจงู ใจในการผลิต

• ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม
ผสมผสานระหว่างทุนนยิ มกับสงั คมนยิ ม
แตร่ ัฐใหเ้ สรีภาพแกเ่ อกชนมบี ทบาทในการดำเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ รัฐเองก็มีบทบาทในการผลติ บางสว่ น
-เอกชนมีสทิ ธ์ิในทรัพย์สินและปจั จัยการผลติ โดยรฐั ควบคุมการใชท้ รพั ยากรบางส่วน
-การดำเนนิ การผลติ สว่ นใหญเ่ ป็นของเอกชน แตร่ ัฐกเ็ ขา้ มาลงทุนในกจิ การบางอยา่ ง เชน่ สาธารณปู โภค
-อาศยั กลไกตลาดและการแข่งขนั บางทีรฐั อาจเข้าไปแทรกแซงเพื่อแกป้ ญั หาความไมเ่ ป็นธรรมตอ่ ผู้บริโภค
ขอ้ เสีย
1.เอกชนมอี ิทธพิ ลทางเศรษฐกิจมาก อาจเกิดปญั หาความเหล่อื มล้ำของรายได้
2.กจิ การทางเศรษฐกิจทีร่ ัฐดำเนนิ การบางอยา่ งไมม่ ีประสิทธิภาพ สภาพไมค่ ลอ่ งตวั ในการแกไ้ ขปัญหา

ขอ้ สอบเกา่ เคยถาม
ขอ้ ใดเป็นข้อเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นยิ มหรอื ตลาดเสรีเมอื่ เปรียบเทยี บกบั ระบบเศรษฐกจิ แบบอน่ื ๆ
1. การจดั สรรทรพั ยากรมีประสิทธิภาพน้อยกว่า
2. การกระจายรายไดแ้ ละทรัพย์สินมกั ไมม่ ีความเท่าเทยี มกัน
3. รฐั บาลมีเสรภี าพมากเกินไป ประชาชนไมส่ ามารถควบคมุ ได้
4. รฐั บาลไม่แทรกแซงตลาดจนทำใหก้ ลไกราคาไมส่ ามารถทำงานได้
5. รัฐบาลแทรกแซงตลาดจนทำใหก้ ลไกราคาไมส่ ามารถทำงานได้
ข้อใดอธบิ ายลักษณะเด่นของระบบเศรษฐกิจสังคมนยิ ม
1. กลไกตลาดทำงานอย่างเสรี
2. รัฐบาลวางแผนจากส่วนกลาง
3. คนในสังคมมสี ิทธ์เิ ลอื กงานทำอยา่ งเสรี
4. ประชาชนเปน็ เจ้าของปัจจยั ในการผลติ
5. ผูแ้ ทนราษฎรเป็นผู้ทไี่ ดร้ บั ความนยิ มมาก

3.กลไกราคา

กลไกราคา/กลไกตลาด = ภาวะทีร่ าคาสนิ ค้าเปลีย่ นแปลงตาม demand และ supply
-จะเกดิ ในตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์และก่ึงแข่งขนั สมบรู ณ์ พบในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนยิ มและผสม
-กลไกราคา กำหนดราคา ปริมาณการผลติ

1)อปุ สงค(์ Demand) คอื ปรมิ าณความตอ้ งการซื้อของผู้บรโิ ภค ต้องมคี วามเต็มใจซอ้ื และอำนาจซ้อื
กฎของอุปสงค์

ราคา สูง àอุปสงค์ ลด
ราคา ต่ำ àอปุ สงค์ เพ่มิ
ราคา กบั อปุ สงค์ จะสวนทางกันเสมอ เพราะ มนั แปรผกผันกนั
กราฟของอุปสงค์

ราคา

อุปสงคส์ ่วนเกนิ
ความต้องการซ้อื > ความตอ้ งการขาย
ส่งผลให้ สนิ คา้ ขาดตลาด

ปรมิ าณ

ตวั กำหนดอปุ สงค์ หรือ ปัจจยั ทที่ ำให้อปุ สงคเ์ ปลีย่ นมี 2 แบบ สำคัญมากกก ออกบอ่ ยยย

1. ตัวกำหนดอปุ สงคโ์ ดยตรง คอื ราคาสินค้านนั้ ๆเลย เชน่ ถ้าราคากาแฟเพ่มิ ขึน้
เรากอ็ ยากซื้อกาแฟน้อยลง
ลกั ษณะน้จี ะเปล่ยี นแปลงขนึ้ ลงอย่บู นกราฟเสน้ อปุ สงคเ์ ส้นเดมิ เราเรียก move (ซ่ึงในข้อสอบใช้คำวา่
ปริมาณซอ้ื รึ ราคาเพิม่ ลด โดย ปัจจยั อื่นๆคงที่)

2. ตัวกำหนดอุปสงคแ์ บบทางอ้อม คอื ปจั จัยนอกเหนือราคาสินค้านน้ั ๆ
ลักษณะน้จี ะเกดิ เสน้ อปุ สงคเ์ ส้นใหม่ เราเรยี ก shift (จะพูดต่อในการเปลี่ยนแปลงอปุ สงค)์
ก็จะมี

-ราคาสนิ ค้าทดแทน ถา้ ราคาสินค้าหนง่ึ เพิ่ม คนจะหนั ไปซ้อื อนั อื่นแทน
-รายได้ของผู้บรโิ ภค ถา้ รายไดเ้ พมิ่ ข้นึ คนอยากซ้ือมากขึน้
-การคาดคะเนในอนาคต เชน่ เทศกาลตรุษจนี มผี ลตอ่ การซอ้ื

-จำนวนประชากร ประชากรทม่ี าก จะทำใหอ้ ปุ สงค์โดยรวมเพ่มิ ขน้ึ

*เรามักจะเหน็ ในข้อสอบพดู ว่า ปัจจัยอื่นๆ ก็ คอื ปัจจัยนอกเหนอื ราคา(รายได,้ ราคาสนิ ค้าอน่ื ,คาดคะเน,

etc)

• อุปสงค์ต่อราคา

สนิ ค้าทดแทนกนั ได้ สนิ คา้ ท่ใี ช้ควบคกู่ ัน

เป็นปัจจัยของการเปลยี่ นแปลงอุปสงค์ อุปทาน

เกดิ ข้นึ เมอ่ื สินค้าชนดิ A ราคาสูง ผ้บู ริโภคหนั มาซอื้ สินคา้ B

สนิ ค้าประกอบกัน

ถา้ ราคาสินคา้ ชนดิ หนึ่งสูงขน้ึ จะส่งผลใหอ้ ุปสงคอ์ กี ชนิดลดลง

เช่น ถ้าราคากาแฟแพงขึ้น คนอยากซอ้ื นำ้ ตาลก็นอ้ ยลง

• อุปสงคต์ ่อรายได้

สินคา้ ดอ้ ย สินค้าทีป่ รมิ าณซือ้ กับรายไดท้ ิศทางตรงกันขา้ ม

ถ้ารายได้ผู้บริโภคสูง สง่ ผลให้ อยากซ้ือน้อยลง(อปุ สงค์ลด)

ถ้ารายได้ผบู้ ริโภคลดลง มีแนวโนม้ ว่า อยากซอื้ เพิ่ม(อุปสงค์เพิม่ )

เช่น มาม่าช่วงใกลส้ ้นิ เดอื นเหมือนส้นิ ใจ T^T คนซ้อื มาม่ามาก แตถ่ า้ คนทร่ี ายได้เพมิ่ ขนึ้ จะซื้อมาม่านอ้ ยลง

!!!!! สนิ ค้าด้อย ไมไ่ ด้แปลวา่ สนิ คา้ ดอ้ ยคณุ ภาพ จา้

สินคา้ ดอ้ ยสง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพ (หัวขอ้ การเปลีย่ นแปลงดลุ ยภาพ อยู่ในเรอ่ื งดุลยภาพนะ)

ผูบ้ รโิ ภครายได้เพม่ิ อปุ สงค์ต่อสนิ คา้ ด้อยลดลง = เส้นอปุ สงค์Shiftทางข•วeา = aราคาและปริมาณดลุ ยภาพลด
Tro oinnoiooeoonwoh's
annal bstiooiusassianngis dreams qoooonwoon

"

p d

ri: ex:&:&:#Emitters

dezae , Q Ezslemofooeuonowooog
Qezihannsnnedonwnnns


• การเปลย่ี นแปลงของอุปสงค์

Move คอื การเปลีย่ นแปลงบนเส้นเดิม
Shift คือ การเปลีย่ นแปลงทยี่ า้ ยไปเสน้ ใหม่
1.การเปล่ยี นแปลงปริมาณซือ้ ถ้าราคาสนิ คา้ เปลยี่ นไป
ทำให้ปรมิ าณซ้อื สินคา้ เปลย่ี นตามกฎของอปุ สงค์โดยที่ปจั จัยอ่นื ๆจะต้องคงท่ี
มองเปน็ กราฟอุปสงคจ์ ะอยบู่ นเส้นอุปสงคเ์ ดมิ (Move) โดยย้ายจากจุดหนงึ่ ไปจุดหนง่ึ บนเส้นเดมิ
แสดงเฉพาะ ปริมาณซือ้ กับ ราคา เท่านั้น ปัจจยั อ่ืนๆคงที่

ตอบสนองแค่ ราคาสนิ คา้ กับ ปริมาณซือ้
แค่ Move จากจุดนงึ ไปจุดนึง บนเสน้ เดิม

สมมตวิ า่ ราคากาแฟเพิ่มจะทำให้ปริมาณซื้อลดลง ถ้าดเู สน้ กราฟ
การเปล่ียนแปลงจะเกดิ แคย่ า้ ยจุดนงึ ไปจดุ นงึ บนเสน้ อุปสงค์เสน้ เดิม
ไม่มีการย้ายเส้น

แบบฝกึ หดั

ข้อสอบเก่า Onet62
เมอื่ ราคาสินค้าชนิดหน่ึงสูงขน้ึ จะทำใหเ้ กิดเหตกุ ารณใ์ ด
กับสินคา้ ชนดิ นน้ั

1. เสน้ อุปทานเคลื่อนยา้ ยไปทางขวาทั้งเสน้
2. เส้นอปุ สงคเ์ คลื่อนยา้ ยไปทางขวาทั้งเส้น
3. เส้นอุปสงคเ์ คลอ่ื นย้ายไปทางซ้ายท้ังเสน้
4. ปรมิ าณซือ้ ลดลงโดยเคลอื่ นยา้ ยไปบนเส้นอุปสงค์เดิม
5. ปรมิ าณขายลดลงโดยเคล่ือนย้ายไปบนเสน้ อปุ ทานเดิม
keyword
พดู แคร่ าคาสนิ คา้ แต่ไมพ่ ดู ถงึ ปัจจัยอ่ืน(รายได้ การคาดคะเน ราคาสนิ ค้าทดแทน)
จะมีแค่ move บนเส้นเดมิ ไมเ่ กิดการ shift ทง้ั เสน้
ฉะนน้ั ตดั ข้อ 1-3 ทิง้

2.การยา้ ยเส้นอุปสงคท์ ง้ั เส้น(Shift) เกิดมาจากปจั จยั นอกเหนือจากราคาเปลี่ยนแปลง
สง่ ผลตอ่ ปรมิ าณซ้ือเพิ่มขึ้นหรอื ลดลง เชน่ รายได้ที่เพ่ิมขึ้น,การคาดคะเนในอนาคต,ราคาสนิ คา้ ที่เก่ยี วขอ้ ง
เป็นต้น
-การเปล่ียนแปลงนั้น อาจเพ่ิมขีน้ หรือลดลงแล้วแต่กรณี ซ่ึงขนี้ กับตัวกำหนดอปุ สงคโ์ ดยออ้ ม

ตวั กำหนดอุปสงค์โดยออ้ ม ทำให้อปุ สงคเ์ พ่ิมข้ึน à Shift ขวา
ตัวกำหนดอุปสงคโ์ ดยอ้อม ทำใหอ้ ุปสงค์ลดลง à Shift ซา้ ย

สมมติ เทศกาลตรุษจีน เป็นสาเหตุทท่ี ำให้คนซือ้ หมูมากขึน้ ปจั จยั นอกเหนอื ราคาน้ี คือ เทศกาลตรษุ จนี

ซงึ่ มีผลตอ่ การยา้ ยเสน้ อปุ สงค์ จะทำใหเ้ ส้นอุปสงค์ยา้ ยไปทางขวาท้ังเสน้

ตอ้ งรนู้ ะ !

ย้ายเสน้ อุปสงค์ไปทางซา้ ยทัง้ เสน้ แสดงวา่ อปุ สงคล์ ด

ย้ายเส้นอุปสงค์ไปทางขวาท้ังเส้นแสดงว่าอปุ สงค์เพ่ิม

อปุ สงค์ลด shiftซ้าย อุปสงค์เพ่ิม shiftขวา

การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์ทีค่ วรรู้ shift ซา้ ย Shiftขวา
ปัจจยั
รายไดข้ องผู้บรโิ ภค ถ้ารายไดล้ ด ถา้ รายไดเ้ พิม่ ขึน้
อุปสงคต์ ่อสินค้าลด อุปสงค์สินค้าเพ่มิ
รสนิยมของผบู้ รโิ ภค
การคาดคะเนอนาคต คนซ้อื น้อยลง คนซ้ือเพมิ่
สง่ ผลถึงปจั จบุ ัน
อนาคตราคาจะลด อนาคตราคาจะมาก
ปจั จบุ ันคนจะซอ้ื นอ้ ยลง ปจั จบุ นั คนซ้อื มากขึน้

จำนวนประชากรผู้ซ้ือ คนนอ้ ยซือ้ น้อย คนมากซอื้ มาก
เทศกาล ฤดูกาล
ชว่ งไมม่ ีเทศกาลอาจมีความต้องก ชว่ งเทศกาลความตอ้ งการซอ้ื มาก
ารซื้อน้อย

ข้อสอบเคยถาม
เมอ่ื ถงึ เทศกาลตรุษจนี คนมคี วามตอ้ งการซือ้ หมูมากข้ึน การเปลี่ยนแปลงดลุ ยภาพจะเปน็ อยา่ งไร
คิด 1. คนซอื้ มากกอ็ ุปสงคม์ าก กราฟจะ shift ขวา ในข้อสอบก็จะเขยี นวา่ เส้นอปุ สงคย์ ้ายไปทางขวาทง้ั เสน้

2)อปุ ทาน (Supply) คือ ปริมาณสินค้าท่ีผผู้ ลิตเต็มใจผลิตและเสนอขาย

กฎของอปุ ทาน

ถา้ ราคาสงู à อปุ ทานสงู
ถ้าราคาต่ำ à อปุ ทานต่ำ
ราคา กับ อุปสงค์ จะไปในทศิ ทางเดียวกันเสมอ เพราะ มนั แปรผนั ตรงกัน
แนวคิดของผูผ้ ลติ คอื ผลกำไร เม่ือราคาสินคา้ เพ่มิ จะทำให้ผู้ผลติ ไดก้ ำไร จึงอยากจะผลติ สินค้าเพ่มิ
กราฟของอปุ ทาน

ราคา

อปุ ทานส่วนเกนิ นัน่ หมายความวา่
สนิ ค้าที่ขายออกมามากเกนิ ความต้องการของผู้บริโภค
มันก็จะเกิดภาวะสนิ ค้าล้นตลาดไงละ่ จะ้

ปรมิ าณ

ตัวกำหนดอปุ ทานหรือ ปจั จัยทที่ ำใหอ้ ปุ ทานเปลยี่ น
1.ตวั กำหนดอปุ ทานโดยตรง
ราคาสินคา้ เมื่อราคาสินคา้ มมี ากขนึ้ ผู้ผลิตจะมรี ายได้เพมิ่ ขน้ึ จึงอยากผลติ มากขึน้
2.ตวั กำหนดอปุ ทานโดยอ้อม
-จำนวนผู้ขายในตลาด ถ้าจำนวนผู้ขายในตลาดเพ่ิมข้นึ อุปทานสินค้าชนดิ นน้ั จะเพม่ิ

-การคาดคะเนในอนาคต ถา้ ผูผ้ ลติ คาดการณว์ ่าในอนาคตราคาสนิ ค้าจะสงู ขนึ้
ผูผ้ ลติ จะกักตนุ สินค้าไว้ขายในอนาคต
-ราคาต้นทนุ การผลิต ถา้ ราคาตน้ ทุนการผลิตสูงขึ้น ความต้องการขายจะลดลง
-เทคโนโลยีการผลิต ถา้ สนิ คา้ ชนดิ หนง่ึ อาศัยเทคโนโลยที ำใหไ้ ด้ผลผลิตในปริมาณมากและรวดเร็ว
การเปลี่ยนแปลงอุปทาน
1.การเปลย่ี นแปลงปรมิ าณขาย การที่ตวั กำหนดราคาโดยตรงกค็ อื ราคาสินคา้ นนั่ แหละได้เปลยี่ นไป
ปริมาณการขายกเ็ ปลย่ี นตามกฎของอปุ ทาน โดยทีต่ วั กำหนดอุปทานทางออ้ มหรือปัจจัยอ่ืนๆคงที่
-มองเป็นกราฟอปุ ทาน จะอยบู่ นเส้นอปุ สงคเ์ ดมิ (Move) โดยย้ายจากจดุ หน่ึงไปจดุ หน่ึงบนเสน้ เดิม
แสดงเฉพาะ ปริมาณขาย กบั ราคา เทา่ นั้น ปจั จยั อืน่ ๆคงท่ี
2.การย้ายเสน้ อุปทานท้งั เสน้ (Shift) เกดิ มาจากปจั จัยนอกเหนอื จากราคาเปล่ียนแปลง
สง่ ผลต่อปรมิ าณขายเพ่ิมข้ึนหรอื ลดลง เช่น รายได้ท่ีเพิ่มขึน้ ,การคาดคะเนในอนาคต,ราคาสินคา้ ทเ่ี กี่ยวข้อง
เปน็ ตน้
-การเปลีย่ นแปลงนั้น อาจเพมิ่ ขี้น หรอื ลดลงแล้วแต่กรณี ซงึ่ ข้ีนกบั ตวั กำหนดอุปทานโดยออ้ ม

ตวั กำหนดอุปทานโดยออ้ ม ทำใหอ้ ปุ ทานเพิ่มขน้ึ ---à Shift ขวา
ตวั กำหนดอปุ ทานโดยอ้อม ทำใหอ้ ปุ ทานลดลง ---à Shift ซา้ ย

สมมติ นักลงทุนเลง็ เห็นว่าธุรกจิ ร้านอาหารญปี่ ุ่นแบบบฟุ เฟ่ตจ์ ะทำใหค้ นหนั มากินมากขน้ึ อุปทานเพมิ่
การคาดการณ์ คอื ตวั กำหนดอปุ ทานทางออ้ มหรือปัจจัยนอกเหนือราคา เกิดการยา้ ยเสน้ อุปทานไปทางขวา
ต้องรนู้ ะ!!!
เส้นอปุ ทานยา้ ยไปทางซา้ ยแสดงว่าอุปทานลด
เส้นอุปทานย้ายไปทางขวาแสดงว่าอุปทานเพิม่

อปุ ทานลด Shiftซา้ ย อปุ ทานเพิ่ม Shiftซา้ ย

การเปล่ียนแปลงอปุ ทานนอกเหนอื จากราคา

ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่ออุปทาน ผลกระทบ
ราคาของปจั จยั การผลติ ถา้ ราคาของปัจจัยการผลิตสูงขน้ึ อปุ ทานต่อสนิ ค้าลดลง

จำนวนผขู้ ายในตลาด ถา้ จำนวนผ้ขู ายในตลาดเพิม่ จะทำให้อปุ ทานเพิม่ ขึ้น
เทคโนโลยใี นการผลติ
การใช้เทคโนโลยีในการผลติ ท่ีสงู จะทำให้ผลิตสินคา้ ได้ปริมาณมาก
สภาพภมู อิ ากาศ
จะส่งผลต่ออุปทาน

เทคโนโลยีก้าวหน้า อปุ ทานสงู

เทคโนโลยถี ดถอย อุปทานต่ำ

ถ้าอากาศไมเ่ อื้ออำนวย อุปทานต่ำ

3)ดุลยภาพ

ราคาดุลยภาพ คอื ราคาสนิ ค้าและบริการทีผ่ ้บู รโิ ภคพงึ พอใจท่จี ะซือ้ และผูผ้ ลิตกพ็ ึงพอใจทีจ่ ะขาย

ผลของภาวะดุลยภาพ คอื สินคา้ จะขายหมด

ตารางแสดงดุลยภาพ

ราคาส้มต่อกโิ ลกรมั ปริมาณซือ้ ปริมาณขาย ผลกระทบ การปรับตัว

กก. กก. ลดลง
ลดลง
70 20 60 อุปทานส่วนเกนิ ลน้ ตลาด คงที่
เพ่มิ ขึน้
60 30 50 อปุ ทานสว่ นเกนิ ล้นตลาด เพมิ่ ขึ้น

50 40 40 หมดพอดี

40 50 30 อปุ สงค์สว่ นเกิน ขาดตลาด

30 60 20 อุปสงคส์ ว่ นเกนิ ขาดตลาด

ข้อสังเกต
ถา้ ระดบั ราคาใดที่ ปริมาณซ้อื (อปุ สงค)์ = ปริมาณเสนอขาย(อุปทาน) แปลวา่ น่ันคอื ราคาดลุ ยภาพ

(a) จุดดุลยภาพ(E)
(b) D
Qe
ปรมิ าณดุลยภาพ

จุด(E) ดุลยภาพ : ราคาดุลยภาพ(ราคาท่อี ปุ สงค์=อปุ ทาน)
เป็นจุดที่ราคาสนิ คา้ อยใู่ นระดับท่ผี ู้บรโิ ภคพอใจที่จะซือ้ และผู้ขายพงึ พอใจทจี่ ะขาย
เปน็ จุดที่ราคาสินค้าหมดพอดี
อปุ สงคส์ ว่ นเกินและอุปทานสว่ นเกิน = 0

(a) คอื อุปทานส่วนเกิน สินคา้ ลน้ ตลาด(ความตอ้ งการขาย>ความต้องการซอ้ื )
เนือ่ งจากราคาสินค้าอยใู่ นระดบั สงู กวา่ ราคาดุลยภาพ ราคาสูงเกนิ ไป
ผล ทำใหผ้ ู้ขายตอ้ งปรบั ราคาสนิ คา้ ลดลง

(b) คือ อุปสงคส์ ว่ นเกนิ สินค้าขาดตลาด (ความตอ้ งการซอื้ > ความต้องการขาย)
เนอ่ื งจากราคาสินคา้ อยูใ่ นระดับตำ่ กวา่ ราคาดลุ ยภาพ ราคาตำ่ เกนิ ไป
ผล ทำให้ราคาสินคา้ เพมิ่ ขึน้ ความตอ้ งการซอ้ื ของผ้บู ริโภคอาจลดลงในอนาคต

4) การเปลี่ยนแปลงดลุ ยภาพ

-โดยปกติ ถ้าไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลงของอปุ สงค์ อปุ ทาน ราคาจะว่งิ เขา้ ส่ดู ุลยภาพเสมอ

-จะเกดิ ข้ึนตอ่ เมอ่ื ปจั จัยนอกเหนอื ราคาทำให้อปุ สงค์หรอื อปุ ทานเปลยี่ นไป

-จะเข้าใจการเปลี่ยนแปลงดลุ ยภาพ ต้องเขา้ ใจการเปลยี่ นแปลงของอุปสงค/์ อปุ ทานก่อน

กรณีอุปสงค์เปลี่ยน

ลักษณะคอื อุปสงคเ์ ปล่ียนอยา่ งเดียว อุปทานไมเ่ ปลย่ี น

ต้องดวู า่ อปุ สงค์มากหรอื นอ้ ย อุปสงคม์ าก-à กราฟยา้ ยไปทางขวาทง้ั เสน้

ราคาดลุ ยภาพสงู ขน้ึ ปริมาณเพิม่ ขน้ึ

อปุ สงคน์ ้อย -à กราฟยา้ ยไปทางซา้ ยทั้งเส้น

ราคาดลุ ยภาพลดลง

1)กรณีอปุ สงค์มาก อปุ ทานคงท่ี

ราคา S ทวนจ้า

ถ้าปัจจัยที่ไม่ใชร่ าคาทําให้อุปสงคเ์ ปลยี่ น

E’ ในกราฟเส้นอุปสงค์จะย้ายท้ังเส้น เรียก Shift

จากกราฟอธิบายว่า

E เสน้ อุปสงคย์ ้ายไปทางขวาทง้ั เส้น

เสน้ อุปทานคงท่ี (สฟี า้ )

D1 D2 จาก D1 ย้ายไป D2
E = จุดราคาดุลยภาพเดมิ

E’ = จุดราคาดุลยภาพทเ่ี พ่ิมขน้ึ ปริมาณเพ่ิม

ปริมาณตวั อย่าง

D=อุปสงค์ของไอติม S=อุปทานของไอตมิ

ช่วงหนา้ ร้อนเปน็ เหตุให้คนต้องการซอ้ื ไอติมมากขนึ้ อปุ สงค์สนิ ค้าไอตมิ มาก ทำให้เส้นอุปสงค์ย้ายไปทางขวา

เกิดการเปล่ยี นแปลงภาวะดุลยภาพด้วย สังเกตว่ามีจุดดุลยภาพใหมค่ ือ E’

ถา้ ดูเป็นกราฟ ควรระวัง !! ถา้ โจทย์บอกแคอ่ ปุ สงค์เปลี่ยน แต่อปุ ทานคงท่ี เสน้ ทีเ่ ปลี่ยนคอื เส้นอุปสงค์ (D)

2) กรณีอปุ สงค์ลดลง อปุ ทานคงที่ จากกราฟอธิบายว่า
ราคา เสน้ อุปสงคย์ ้ายไปทางซา้ ยท้งั เส้น
เส้นอุปทานคงที่ (สฟี า้ )
A จาก D1 ย้ายไป D2
B A = จุดราคาดุลยภาพเดิม
B = จุดราคาดุลยภาพที่ลดลง ปริมาณลดลง
ปริมาณ

ตวั อย่าง
D= อุปสงค์ของปลาดิบ S=อุปทานของปลาดบิ
มขี ่าวแจ้งมาวา่ พบพยาธิในปลาดิบ ทำใหผ้ ู้บริโภคกลัวและไม่กลา้ กนิ ปลาดบิ อปุ สงคล์ ดลง
ทำให้เส้นอุปสงค์ยา้ ยไปทางซา้ ยนน่ั เอง เกดิ การเปลยี่ นแปลงดลุ ยภาพตามไปด้วย

3) กรณอี ปุ ทานลดลง อุปสงคค์ งที่ จากกราฟอธิบายว่า
ราคา S2 S1 เส้นอุปทานยา้ ยไปทางซา้ ยท้ังเส้น
เสน้ อุปสงค์(D)คงที่
จาก S1 ยา้ ยไป S2
A = จุดราคาดุลยภาพเดิม
B =ราคาดุลยภาพเพ่ิมขึน้ ปริมาณลดลง

ปริมาณ
ตัวอย่าง
D=อปุ สงคข์ องทุเรียน S=อุปทานของทเุ รยี น
เกดิ เหตุน้ำท่วมฉบั พลนั สง่ ผลกระทบต่อไร่ทเุ รียนชาวสวน อปุ ทานของทเุ รยี นจึงลดลง
ทำใหเ้ สน้ อุปทานยา้ ยไปทางซ้าย

4) กรณีอุปทานเพ่ิม อุปสงค์คงที่ จากกราฟอธิบายว่า
ราคา S1 S2 เสน้ อุปทานย้ายไปทางขวาทั้งเสน้
เสน้ อุปสงค์(D)คงท่ี
E จาก S1 ย้ายไป S2
E = จุดราคาดุลยภาพเดิม
E’ E’ =ราคาดุลยภาพลดลง ปริมาณเพ่ิมขนึ้
D
ปรมิ าณ

ตวั อย่าง
D=อปุ สงค์ของหน้ากากอนามยั S=อุปทานของหน้ากากอนามยั
ชว่ ง 1 เดือนทผ่ี ่านมาประเทศไทยมีคา่ ฝุ่น pm2.5 เพ่ิมสงู นักลงทุนเลง็ เหน็ ว่าถ้าผลติ หน้ากากอนามยั ขายจะได้
อปุ ทานเพ่มิ ทำใหเ้ ส้นอุปทานยา้ ยไปทางขวา เกิดการเปล่ียนแปลงดลุ ยภาพ

ขอ้ สอบเก่าถาม
ถา้ ถั่วลิสงเปน็ สนิ คา้ ดอ้ ย (inferior good) หากรายไดผ้ ูบ้ ริโภคเพมิ่ สูงข้นึ จะสง่ ผลใหม้ ีการเปล่ยี นแปลง
ดุลยภาพของตลาดถัว่ ลสิ งอย่างไร

1. ราคาและปรมิ าณดลุ ยภาพลดลง
2. ราคาและปรมิ าณดุลยภาพเพิ่มขึ้น
วิธคี ดิ
โจทยถ์ ามอะไร การเปล่ยี นแปลงดลุ ยภาพของถว่ั ลสิ งจะเปน็ อยา่ งไร ?
ตอ้ งรกู้ ่อนนะวา่ สง่ิ ที่โจทย์บอก คืออะไร ? สินค้าด้อยคือสินค้าทป่ี รมิ าณซอ้ื กับรายได้ทศิ ทางตรงกนั ขา้ ม
ถ้ารายไดผ้ ู้บรโิ ภคสงู ส่งผลให้ อยากซอื้ นอ้ ยลง ถ้ารายไดผ้ ู้บริโภคลดลง มีแนวโนม้ ว่า อยากซ้อื เพ่ิม
การเปล่ยี นแปลงดุลยภาพ เปลย่ี นเพราะ อุปทานหรอื อปุ สงค์เปลย่ี น
อยา่ งใดอยา่ งหนึ่งหรอื ท้งั หมดแล้วแตส่ ถานการณ์ โจทยบ์ อกอะไร? รายได้ผู้บรโิ ภคสูงขึ้น นนั้ กแ็ ปลวา่
ถา้ รายไดผ้ ู้บรโิ ภคสงู ส่งผลให้ อยากซอ้ื น้อยลง (อุปสงค์ลด) จำไดไ้ หมวา่ อุปสงค์ลด
เส้นอปุ สงคย์ ้ายไปทางซ้ายทงั้ เสน้ แปลว่าราคาและปรมิ าณดลุ ยภาพลดลงจา้

ขอ้ สอบเก่าเคยถาม
หากผ้บู รโิ ภคคาดว่ารถจกั รยานยนตใ์ นอนาคตมีราคาสูงขน้ึ อกี 50%
จะสง่ ผลให้ราคาและปริมาณดลุ ยภาพของตลาดจักรยานยนตใ์ นปจั จุบนั เปลย่ี นไปอย่างไร
1. ราคาและปริมาณดุลยภาพลดลง
2. ราคาเพ่ิมข้ึน และปรมิ าณดุลยภาพลดลง
3. ราคาและปรมิ าณดุลยภาพเพิ่มขึ้น
วิธีคิดคอื สงิ่ ทีโ่ จทย์ใหม้ านัน่ เป็นเร่ืองของ อุปสงค์ สงั เกตวา่ มผี บู้ ริโภค
การคาดคะเนอนาคตถอื เป็นตวั กำหนดอปุ สงค์ทางออ้ มหรือปัจจยั นอกเหนอื ราคา
ถ้าดูเป็นกราฟเสน้ อปุ สงคจ์ ะยา้ ยทง้ั เสน้ โจทย์บอกวา่ การคาดคะเนของผู้บริโภคในอนาคตราคาสงู
นน่ั แปลว่าในปัจจุบัน อุปสงค์จะมากขนึ้ พออุปสงคม์ ากขน้ึ กราฟจะยา้ ยไปทางขวาทั้งเส้นแปลว่า
ราคาและปริมาณดลุ ยภาพสงู ข้ึน ตอบ 3 จ้า

ในกรณีที่อุปทานของสินคา้ ลดลง แต่อปุ สงค์สำหรบั สินค้ายงั คงเดมิ
จะสง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงในราคาและปรมิ าณดุลยภาพของตลาดสนิ คา้ นนั้ อย่างไร
1.ราคาดลุ ยภาพจะลดลง และปริมาณดลุ ยภาพลดลง
2.ราคาดุลยภาพจะเพิม่ ข้ึน และปรมิ าณดลุ ยภาพเพมิ่ ขึน้
3.ราคาดลุ ยภาพจะลดลง แตป่ รมิ าณดลุ ยภาพเพ่มิ ขน้ึ
4.ราคาดลุ ยภาพเพม่ิ ข้นึ แต่ปริมาณดุลยภาพจะลดลง
วิธีคิด คือ การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพจะเกดิ ข้นึ กต็ ่อเมอื่ ไมอ่ ุปสงคก์ อ็ ปุ ทานเปลย่ี น
แมวสม้ แนะนำวา่ ให้มองเป็นกราฟจะชัวรส์ ุด กลบั ไปดกู ารเปลยี่ นแปลงดลุ ยภาพ กรณีอปุ ทานเปลยี่ น แต่
อุปสงคค์ งท่เี น้อ ท่ีจดุ ดลุ ยภาพใหม่ คอื จดุ ท่ีราคาดุลยภาพเพิ่มข้ึน แต่ปริมาณดลุ ยภาพลดลง ตอบ 4 จา้

4.การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาล
-เมอ่ื เกดิ ปัญหาความเดือดรอ้ นของผูผ้ ลิต ผู้บริโภค
รัฐบาลจะใช้มาตรการเพอื่ กำหนดราคาสนิ ค้าแทนการปลอ่ ยให้กลไกราคาดำเนินไปเอง มวี ิธีดงั น้ี
1.กำหนดราคาข้ันต่ำ หรือ การประกันราคา เพื่อช่วยเหลือเกษตรกร
2.กำหนดราคาข้นั สูง เพือ่ ชว่ ยเหลอื ช่วยผบู้ รโิ ภค
3.กำหนดค้าจา้ งขน้ั ตำ่ เพอ่ื ชว่ ยเหลอื แรงงานทถี่ กู กดราคา

• กำหนดราคาขัน้ ตำ่
จำวา่ ให้ขายราคาสูงกว่าเดิม
-เปน็ มาตรการทีช่ ่วยเหลือผู้ผลิตโดยเฉพาะเกษตร ซึ่งมาตรการน้ีเปน็ การกำหนดราคาใหส้ งู กว่าดลุ ยภาพ
เพราะถ้าปลอ่ ยใหร้ าคาต่ำกว่าดลุ ยภาพเดิม
ผผู้ ลติ จะขาดทุนไดร้ บั ความเดือดร้อนจากการทร่ี าคาสินคา้ ต่ำเกนิ ไป
วิธกี ารของรัฐบาลในการกำหนดราคาสินค้าขัน้ ตำ่ มี 2 วธิ ี
1. รัฐบาลรบั ซ้อื อปุ ทานสว่ นเกนิ หรือผลผลิตสว่ นเกินทมี่ ีอยใู่ นทอ้ งตลาด
เมื่อรัฐบาลกำหนดราคาสนิ คา้ ข้ันตำ่ ของสนิ คา้
พอ่ คา้ ต้องซ้อื สนิ คา้ จากเกษตรกรให้มากกว่าหรือเท่ากบั ราคาสินคา้ ทร่ี ฐั บาลกำหนด หากมีสินค้าเหลือในตลาด
รฐั บาลต้องรับซอื้ สนิ ค้าทเ่ี หลือของเกษตรกรทัง้ หมด
2. รฐั บาลจ่ายเงนิ อดุ หนนุ ให้แก่เกษตรกร
เม่อื รัฐบาลกำหนดราคาขน้ั ต่ำของสนิ คา้ แล้วเกดิ สินค้าลน้ เหลอื ในตลาด แตร่ ฐั บาลไมต่ อ้ งการซ้อื
ใหเ้ กษตรกรขายกนั ตามกลไกราคา ซ่ึงทำใหร้ ายไดข้ องเกษตรกรลดลง
รฐั บาลจะจา่ ยเงนิ ชดเชยให้เท่ากับส่วนต่างระหว่างราคาขน้ั ต่ำกบั ราคาตลาด
ข้อสังเกต
วธิ ีที่ 1 ใชง้ บประมาณรฐั คอ่ นขา้ งสงู กว่า วิธที ี่ 2

• กำหนดราคาขน้ั สงู
-เป็นมาตรการทช่ี ว่ ยเหลือผู้บริโภคที่เดือดร้อนจากราคาสนิ ค้าทส่ี ูงขึ้น
โดยจะกำหนดใหร้ าคาสนิ ค้าต่ำกว่าราคาดลุ ยภาพ
ใช้ในช่วงภาวะเงินเฟ้อซ่งึ เปน็ ช่วงทภ่ี าวะเศรษฐกิจราคาสินค้าแพงขน้ึ เรื่อยๆ
-เมื่อกำหนดราคาตำ่ กวา่ ดลุ ยภาพจะทำใหเ้ กิดอปุ สงคส์ ่วนเกิน สนิ ค้าขาดแคลน
รฐั บาลจะตอ้ งมีการกำหนดโควตาสินคา้ จำกดั การบริโภค เพือ่ ลดปญั หาตลาดมืด (Black Market)
ผลที่เกิดจากการกำหนดราคาข้ันสูง
1.สนิ คา้ นั้นจะมคี วามขาดแคลน
2.ผู้ซ้ือจะมีปรมิ าณซอ้ื มากข้ึนกวา่ เดมิ
3.ผู้ผลิตจะผลติ ในปรมิ าณน้อยลง
4.ปรมิ าณซือ้ ขายกันจรงิ ๆจะมากกวา่ ปริมาณซ้อื ขายกอ่ นการกำหนดราคาสนิ คา้

5. เกดิ ตลาดมืดท่ีขายสินค้าในราคาสงู มาก

• กำหนดค่าจา้ งขั้นต่ำ

เปน็ มาตรการของรัฐบาลทเ่ี ข้ามากำหนดอัตราค่าจา้ งข้ันต่ำเพอ่ื ให้นายจา้ งไม่เอาเปรยี บลกู จา้ ง

ห้ามนายจา้ งจา่ ยราคาคา่ จ้างตำ่ กว่าที่รัฐบาลกำหนด

วิธีคอื รฐั บาลจะกำหนดราคาค่าจา้ งข้นั ตำ่ ให้สูงกวา่ ราคาดุลยภาพ

ผลจากการกำหนดราคาค่าจ้างขน้ั ตำ่

เกดิ อุปทานแรงงานส่วนเกนิ คือ ความตอ้ งการเสนอขายแรงงานมากกวา่ ความต้องการซ้อื แรงงานของนายจ้าง

สรปุ

วิธกี ารแทร สาเหตุการแทรกแซง ผลตอ่ ภาวะตลา ปัญหาจากการแทรกแซ แนวทางการป้องกัน
กแซงตลาด ดง

กำหนดราค ผผู้ ลติ ขาดทนุ จากการขาย กำหนดให้ราคา จะเกดิ ภาวะสนิ คา้ ล้นต รบั ซอื้ อุปทานสว่ นเกิ
าขนั้ ตำ่ สนิ คา้ ในราคาทต่ี ำ่ เกินไป สงู กว่าดลุ ยภาพ ลาด(อุปทานสว่ นเกิน) นหรือ
จา่ ยเงนิ อุดหนนุ ใหเ้ ก
ษตรกร

กำหนดราค ผู้บริโภคเดือดรอ้ นเนื่องจา กำหนดให้ราคา เกิดภาวะสินค้าขาดตล จำกัดปริมาณการบริ
าขัน้ สูง กราคาสนิ ค้าแพงเกนิ ไป ตำ่ กวา่ ดุลยภาพ าด(อุปสงค์สว่ นเกนิ โภคของประชาชน

ขอ้ สอบเกา่ เคยถาม

ขอ้ ใดไม่ใชผ่ ลที่เกดิ จากการกำหนดราคาข้นั สูงในตลาดสินค้าชนิดนัน้ โดยรัฐบาล

1.ราคาท่ีซ้ือขายกนั จรงิ จะราคาตำ่ กวา่ ราคากอ่ นการกำหนดราคาขั้นสงู

2.ปริมาณซอ้ื ขายกนั จรงิ ๆจะมากกว่าปรมิ าณซอื้ ขายก่อนกำหนดราคาขน้ั สงู

ขอ้ ใดเป็นผลทเี่ กิดขน้ึ เมื่อรฐั บาลกำหนดราคาข้ันสูงของตลาดสินคา้

1.ภาวะสนิ คา้ ขาดตลาด 2.ภาวะสินคา้ ลน้ ตลาด

3.อุปทานสนิ ค้าเพ่มิ ขน้ึ 4.อปุ สงค์สินคา้ ลดลง

5.ตลาด
ตลาด คอื กระบวนการแลกเปล่ยี นสนิ ค้าและบรกิ าร ในทางเศรษฐศาสตร์ ตลาดไม่ไดห้ มาย

ตลาดแขง่ ขันสมบูรณ์

ถือว่าเปน็ ตลาดในอุดมคติ ไมม่ ีอยู่จรงิ บนโลก

-รัฐไมเ่ ข้ามายุ่ง เสรีมาก

-เน้นกลไกราคา ไม่มีใครมอี ำนาจในการกำหนดราคาตลาด

-ผู้ซอื้ ผขู้ ายจำนวนมาก สนิ ค้าในตลาดเหมือนกนั

-ผบู้ รโิ ภคสามารถรู้ขอ้ มูลราคาสินค้าในตลาดไดเ้ ท่าเทียม

-ผู้ผลิตมกี ารแขง่ ขนั จำนวนหลายราย

-สนิ ค้าหลากหลายและทดแทนกันได้

-ผู้บรโิ ภคมีการตอบสนองสงู ต่อราคาสนิ ค้า

ตลาดก่ึงแข่งขนั สมบูรณ์

ผู้ซื้อผขู้ ายจำนวนมาก

ผู้ผลติ แขง่ ขนั กนั สรา้ งความแตกต่างให้กบั สินค้าของตน

สนิ ค้าแตกต่างกนั ไมม่ าก

ผขู้ ายสามารถกำหนดราคาสนิ ค้าของตนได้

การแข่งขนั ในรปู ของโฆษณา

ตลาดผกู ขาด Economic of Scale
-ผขู้ ายรายเดียว ไม่มีการแข่งขัน การผลิตคราวละมากๆ

-ผ้ผู ลติ มอี ำนาจในการกำหนดราคา เพ่ือลดตน้ ทุนการผลิต

-อปุ สรรคสำหรบั ผลู้ งทุน ผผู้ ลติ รายใหมร่ สู้ ึกว่าเข้าสูต่ ลาดยาก

-ผู้ผลติ น้อยรายเขา้ ถงึ ทรัพยากร

-มลี ักษณะการประหยัดต่อขนาด (Economic of Scale)

-สนิ ค้าทใี่ ชท้ ดแทนกนั หายาก

-ผบู้ รโิ ภคมกี ารตอบสนองต่อราคาสินคา้ ตำ่ มาก เชน่ ค่ารกั ษาพยาบาล คา่ ยา ซ่ึงราคานจี้ ะเปลี่ยนแปลงนอ้ ย

6.สหกรณ์
• ความหมาย
คณะบุคคลเข้ารวมกนั ดำเนินกิจการชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกัน
• ลักษณะสหกรณ์
1.การจดั การแบบหน่งึ หลายคนมารวมกนั เปน็ สมาคม

2.เป็นความสมคั รใจของตนเอง

3.มีผลประโยชนร์ ว่ มกัน

4.ถือความเสมอภาคเปน็ หลัก

• จุดมงุ่ หมายของสหกรณ์

-ชว่ ยสมาชกิ ได้รับประโยชน์จากธุรกิจ

-องคก์ รไม่แสวงกำไร

-ยกระดบั ความเป็นอยทู่ ้งั ทางเศรษฐกจิ และสังคม

• ในการจัดตง้ั สหกรณ์ตอ้ งมผี ้รู ่วม 10 คนขึน้ ไป

• บิดาสหกรณโ์ ลก คอื นายโรเบริ ต์ โอเวน ตัง้ สหกรณ์ New Harmony ทสี่ หรัฐอเมรกิ า

• สาเหตทุ ตี่ งั้ สหกรณ์

-เล็งเห็นความบกพรอ่ งของระบบทุนนิยมทเ่ี อารัดเอาเปรียบคนจน

-เพอ่ื ท่จี ะให้คนจนสามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ จงึ รวมตัวจัดต้งั องคก์ ารร่วมมอื กัน ประกอบกจิ กรรมของตนเอง

ทุกคนตา่ งเปน็ เจ้าของทรพั ย์สนิ และร่วมมอื กนั ทุกคนเสมอภาค

ผลประโยชนท์ ่เี กิดขน้ึ นำมาแบ่งปันสมาชิกอยา่ งเท่ียงธรรม

บดิ าสหกรณ์ไทย คือ พระวรวงศเ์ ธอ กรมหมื่นพทิ ยาลงกรณ์ ตงั้ สหกรณว์ ัดจนั ทรไ์ มจ่ ำกัดสินใช้

สหกรณ์ สาระสำคัญ
สหกรณเ์ กษตร จัดต้ังในหมูอ่ าชีพเกษตร ดูแลสินเช่ือ การขายผลผลิตทางการเกษตร
สหกรณป์ ระมง รบั ฝากเงิน กู้เงิน แก้ไขปัญหา อุปสรรคในอาชีพ
สหกรณ์นคิ ม จดั การที่ดินใหเ้ กษตรกร
สหกรณ์ออมทรัพย์ สงเสริมการออมทรัพย์
สหกรณ์รา้ นคา้ ไม่รับฝากกู้ยมื เงนิ จัดจำหน่ายสนิ ค้าแกป่ ระชาชนทัว่ ไป
สหกรณบ์ ริการ
ดำเนินงานเก่ยี วกับอาชีพของตนให้มคี วามมน่ั คงและรกั ษาอาชีพของตนไว้

7.การเงนิ
เงนิ คือ สงิ่ ที่คนในสังคมยอมรับวา่ เปน็ สือ่ กลางในการแลกเปล่ียนสินค้าและบริการ ชำระหน้ี
และเปน็ มาตรฐานในการวดั มลู ค่า

• ประเภทของเงิน
เงนิ ในทางเศรษฐศาสตร์ แบง่ เป็น 3 ประเภท

1.เหรยี ญกษาปณ์ หน่วยงานที่รบั ผดิ ชอบคือ กรมธนารกั ษ์ กระทรวงการคลัง
2.ธนบัตร หน่วยงานที่รับผิดชอบคอื ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
3.เงินฝากกระแสรายวัน หนว่ ยงานท่ีรับผดิ ชอบคือ ธนาคารพาณชิ ย์
สง่ิ ที่ใกลเ้ คียงกับเงนิ
คอื ทรัพย์สนิ ทีส่ ามารถเปลีย่ นเปน็ เงนิ ได้

• หนา้ ท่ี
-หนว่ ยในการกำหนดมูลคา่ ของสินค้าและบริการ
-เป็นสอ่ื กลางในการแลกเปลี่ยนสินค้า
-เป็นมาตรฐานในการชำระราคาสนิ ค้าและบรกิ าร

• ปริมาณเงิน
ปริมาณเงนิ ในความหมายแคบ(M1) = เหรยี ญกษาปณ์ ธนบตั ร เงนิ ฝากกระแสรายวนั
ปริมาณเงินในความหมายกว้าง(M2) = M1 + เงินฝากออมทรพั ย์และประจำ
ปริมาณเงนิ ในความหมายกวา้ งสุด(M3) = M2 + เงนิ ฝากทุกประเภทของสถาบันการเงนิ
ที่รบั ฝากเงนิ จากประชาชน + ต๋วั สัญญาใช้เงิน

• ค่าของเงนิ – อำนาจของเงินทจ่ี ะสามารถซ้อื สนิ คา้ และบรกิ าร
1.ค่าภายใน คือ ความสามารถในการซ้อื สินค้าและบริการของเงนิ 1 หนว่ ย
ถา้ เงิน 1 หนว่ ย สามารถซ้อื สนิ ค้าไดจ้ ำนวนมากขึ้น แสดงวา่ คา่ ของเงนิ สงู
ถ้าเงิน 1 หน่วย สามารถซือ้ สนิ ค้าได้จำนวนนอ้ ยลง แสดงว่าค่าของเงินลด
เช่น เงิน 15 บาท ซ้ือดินสอพอง ได้ 1 กก. ต่อมาตอ้ งใช้เงนิ 18 บาทถงึ จะซ้อื ได้
คา่ ของเงนิ ภายในของเงนิ บาทลดลง
เงนิ 20 บาท ซือ้ นำ้ ตาลได้ 1 กก. ต่อมาใช้เงนิ 15 บาท จึงซื้อได้ แสดงวา่ ค่าของเงินเพ่มิ
2.คา่ ภายนอก คือ คา่ ของเงนิ สกลุ หน่งึ เปรียบเทียบกบั เงนิ สกุลหนง่ึ
เช่น มเี งิน 1 ดอลลาร์ มคี ่าเท่ากับ 30 บาท ต่อมาอัตราแลกเปล่ียนเป็น 1 ดอลลาร์ มคี ่าเทา่ กับ 25 บาท
แสดงว่า ค่าของเงนิ ภายนอกของเงินบาทสูงขึน้

• ดชั นีราคาสินค่้า ( CPI : Consumer Price Index)
หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าในชว่ งเวลาหนงึ่ คำนวณจากราคาเฉลย่ี ของสนิ คา้ ท้ังตลาด

ดัชนรี าคา ค่าของเงนิ ลด อำนาจซ้ือ เพ่ิม
ดชั นรี าคาสินค้าสูง ค่าของเงิน เพิ่ม อำนาจซ้อื ลด
ดัชนรี าคาสินคา้ ลด

คา่ ของเงินลดลง = อำนาจซื้อเพิม่ = เงินเฟ้อ

• เงนิ เฟอ้
ภาวะท่ปี ริมาณเงินหมนุ เวียนในระบบเศรษฐกิจมากเกินไป ทำใหร้ าคาสนิ คา้ และบริการสงู ข้ึนเร่อื ยๆ
สาเหตุ
เนอื่ งจากอุปสงค์ ปรมิ าณเงินในระบบเศรษฐกิจมากเกินไป
ปริมาณเงินมาก à ค่าของเงินสูง à อปุ สงค>์ อุปทาน à สินคา้ ขาดตลาดàราคาสินคา้ สูง
อธบิ ายได้ว่า เม่ือประชาชนมเี งนิ ในมือมากขึ้น ทำให้ค่าของเงินสูงหรือประชาชนมีอำนาจซ้อื มากข้นึ
จะทำให้ผบู้ ริโภคตอ้ งการซือ้ สนิ คา้ มากข้ึน จนเกิดภาวะสินคา้ ขาดตลาด
จากน้นั จะทำใหร้ าคาสนิ ค้าในตลาดเพิ่มสงู
เนอื่ งจากอปุ ทาน ต้นทุนการผลติ ราคาสูงข้ึน คา่ แรงงานเพิ่มขึ้นทำใหส้ นิ ค้าอุปโภคบริโภคมีราคาท่ีสงู ขน้ึ
ผลกระทบ
ผทู้ ไี่ ดร้ บั ประโยชน์ ผูท้ ี่มีรายได้ขน้ึ กับความคล่องของเศรษฐกจิ เชน่ นักธุรกิจ ลูกหนี้
ผู้เสยี เปรยี บ ผ้ทู ม่ี รี ายได้ประจำ ผูบ้ รโิ ภคท่ซี ื้อสนิ คา้ ราคาสงู ข้นึ
เงินเฟ้อแบ่งเป็น 3 ระดบั
1. เงินเฟ้อออ่ นๆ ราคาสงู ไม่เกิน 5%ตอ่ ปี เป็นผลดตี อ่ เศรษฐกิจเพราะเป็นการกระตนุ้ เศรษฐกิจ
2. เงินเฟ้อปานกลาง ราคาสูงระหวา่ ง 5-20%ต่อปี
3. เงินเฟ้อรุนแรง ราคาสูงเกนิ 20%ตอ่ ปี จะเกดิ ปญั หาล้มละลาย

• การแกไ้ ขปัญหาเงินเฟอ้
ใชน้ โยบายการเงนิ แบบหดตัวหรอื เขม้ งวด จากธนาคารแหง่ ประเทศไทย
นโยบายการคลงั แบบหดตัว จากรฐั บาล ผา่ นงบประมาณแผน่ ดินแบบเกินดุล ในการแก้ไขปัญหาเงนิ เฟอ้
Concept คือ ลดปรมิ าณเงิน
1.ธนาคารกลางตอ้ งลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
2.รัฐบาลตอ้ งเพิ่มรายได้เขา้ รฐั บาลมากกวา่ รายจา่ ยเพื่อลดปรมิ าณเงนิ ในมอื ประชาชน

นโยบายการเงนิ นโยบายการคลงั

เพ่มิ อตั ราดอกเบ้ยี เงนิ ฝากและเงนิ กู้ ใชง้ บประมาณแบบเกนิ ดลุ
เพิม่ อตั ราเงนิ สดสำรองตามกฎหมาย เพิ่มการเกบ็ ภาษี
เพ่มิ อัตรารับชว่ งซ้อื ลด ลดการใชจ้ ่ายของรฐั
เพ่ิมการขายพันธบตั รรฐั บาล
ลดการปล่อยสินเชือ่

เพมิ่ เติมเก่ียวกับเงินเฟ้อ

ปัญหาเงนิ เฟอ้ อย่างรุนแรง(Hyper inflation)
เคยเกิดขน้ึ ที่ประเทศเวเนซูเอลา ซิมบับเว

เนือ่ งจากประสบปัญหาขาดดุลอย่างต่อเน่อื ง
ธนาคารกลางแก้ปญั หาดว้ ยการพมิ พ์ธนบัตรเพ่ิม
จนขาดแคลนเงนิ ทุนสาํ รองประเทศ ขาดเสถยี รภาพทางการเงนิ
จนทําให้ประเทศขาดความนา่ เช่อื ถอื เกิดวิกฤตทางการเงนิ อย่างตอ่ เนือ่ ง

• เงินฝืด คอื ภาวะท่ีสนิ ค้าและบริการตา่ งๆลดลง สง่ ผลให้เศรษฐกิจซบเซา อัตราคนวา่ งงาน
มากขึน้ และราคาสินคา้ ลดลง
สาเหตขุ องเงินฝดื
ปรมิ าณเงินในมอื ของประชาชนน้อยเกินไปในระบบเศรษฐกจิ จนทำใหอ้ ุปสงค์โดยรวมนอ้ ยกวา่ อปุ ทาน
สง่ ผลใหร้ าคาสินค้าตอ้ งต่ำลงในท่สี ดุ สาเหตุดังนี้
1.การออมสูงเกินไป ทำให้ไมม่ กี ารเอาเงินออกมาใช้
2.รัฐบาลระดมกู้เงินจากประชาชนมากจนเกนิ ไป กู้ในรูปของการขายพนั ธบัตร
3.ธนาคารกลางควบคมุ การปลอ่ ยสินเชอ่ื ของธนาคารพาณชิ ย์มากจนเกินไป
ผทู้ ไี่ ด้เปรียบ คอื ผู้ท่มี ีรายได้ประจำ
ผทู้ ีเ่ สยี เปรยี บ คือ ผู้ประกอบอาชพี ธรุ กิจ
ระดับของภาวะเงินฝดื
1.เงนิ ฝืดระดับออ่ น เปน็ ผลดตี ่อระบบเศรษฐกิจ
ราคาสินคา้ และบรกิ ารท่ลี ดลงจะกระตุ้นใหก้ ารบริโภคของประชาชนมีมากข้นึ
2.เงินฝดื ระดบั รุนแรง เป็นผลเสยี ต่อประเทศอย่างรุนแรง ราคาสินค้าและบริการจะลดต่ำลงเป็นอย่างมาก
การผลติ และการลงทุนหยุดชะงัก ทำใหเ้ กิดปัญหาว่างงานและเศรษฐกิจซบเซา
การแกไ้ ขปญั หาเงินฝดื

ใช้นโยบายการเงินแบบผอ่ นคลาย จากธนาคารแหง่ ประเทศไทย

นโยบายการคลงั แบบขยายตัว จากรัฐบาล ผ่านงบประมาณแผ่นดินแบบขาดดุล

Concept คอื ต้องเพิ่มปริมาณเงินในมอื ประชาชน

1.ธนาคารแห่งประเทศไทยตอ้ งเพ่ิมปริมาณเงนิ หมุนเวยี นของเงินในระบบเศรษฐกิจ

2.รฐั บาลต้องเพ่ิมรายจา่ ยเพือ่ เพมิ่ ปรมิ าณเงินในมอื ประชาชน

การแกไ้ ขปญั หาเงินฝืด

นโยบายการเงนิ นโยบายการคลงั

ลดอตั ราดอกเบ้ียเงนิ ฝากและเงินกู้ ใชง้ บประมาณแบบขาดดลุ

ลดอตั ราเงินสดสำรองตามกฎหมาย ลดการเกบ็ ภาษี

ลดอตั รารับช่วงซอ้ื ลด เพิม่ การใชจ้ ่ายของรัฐ
ลดการขายพนั ธบตั รรฐั บาล

เพมิ่ การปลอ่ ยสนิ เชอ่ื จากธนาคารพาณิชย์

สรปุ การแก้ปัญหาเงนิ เฟอ้ เงินฝืด

นโยบาย เงนิ เฟอ้ เงินฝดื
ตอ้ งเพ่มิ เงนิ ในมือประชาชน
นโยบายการเงนิ ต้องลดเงนิ จากประชาชน
ลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงนิ กู้
นโยบายการคลัง เพม่ิ อัตราดอกเบีย้ เงนิ ฝากและเงินกู้ ลดอัตราเงนิ สดสำรองตามกฎหมาย
ลดชว่ งอัตรารับชว่ งซ้ือลด
เพิ่มอัตราเงนิ สดสำรองตามกฎหมาย ลดการขายพันธบตั รรัฐบาล
เพม่ิ การปลอ่ ยสินเชือ่ ธนาคารพาณชิ ย์
เพม่ิ ช่วงอตั รารบั ช่วงซือ้ ลด
ทำงบประมาณแบบขาดดลุ
เพม่ิ การขายพนั ธบัตรรัฐบาล ลดการเก็บภาษี
เพิ่มการใช้จา่ ย
ลดการปลอ่ ยสนิ เชื่อธนาคารพาณิชย์ เพิม่ การลงทุนของรัฐบาล

ทำงบประมาณแบบเกนิ ดุล

เพม่ิ การเก็บภาษี

oเoพooิ่มการใชจ้ ่าย named to' w
Hเพิ่มaกmารลmงทนุ a
vos EI win

รู้หรือไม่ ?
ช่วง ค.ศ.1929 เกดิ เศรษฐกิจตกต่ำไปทัว่ โลก เรียกวิกฤตนั้นว่า Great Depression
ชว่ งหลังสงครามโลกครั้งท่ี 1 เกดิ ปญั หาอุปสงคโ์ ดยรวมนอ้ ยกว่าอุปทานมาก ปญั หาเงินฝืดนั่นเอง
ปธน.รูสเวลต์ ไดม้ ีนโยบาย New Deal สรา้ งโครงการใหญๆ่ ของรัฐบาลเพ่ือเกิดการจา้ งงานเพม่ิ ข้นึ
ปรมิ าณเงนิ หมนุ เวยี นเพ่มิ ในระบบเศรษฐกจิ ไงละ่
ข้อสอบเกา่ เอามาออก
แมวสม้ เอาข้อสอบเนอื้ หาโจทยค์ ล้ายๆกันมาให้นอ้ งๆดนู า้
ขอ้ ใดคอื มาตรฐานนโยบายการเงินเมอื่ เกดิ ปญั หาเงนิ เฟ้อ เนือ่ งจากสาเหตุดา้ นอุปสงค์
1.รฐั บาลประกาศลดภาษมี ลู ค่าเพิม่
2.ธนาคารพาณิชยป์ ระกาศลดอตั ราดอกเบยี้
3.ธนาคารประกาศเพิ่มอัตรารบั ช่วงซือ้ ลด
4.ธนาคารกลางประกาศลดอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย
รัฐบาลควรใชน้ โยบายงบประมาณขาดดุลในกรณีที่ประเทศอยใู่ นภาวะใดมากทสี่ ุด
1. เงนิ เฟอ้
2. เศรษฐกจิ ปกติ
3. เศรษฐกจิ ตกต่ำ
4. เศรษฐกิจขยายตัว
5. ราคาสินค้าเพ่มิ สงู ขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง
ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับการใช้นโยบายการเงนิ ในชว่ งทเ่ี กดิ ภาวะเงนิ ฝดื
1. รัฐบาลลดการใชจ้ า่ ยลง
2. รัฐบาลเพ่ิมการเกบ็ ภาษี
3. รฐั บาลใช้งบประมาณเกนิ ดุล
4. ธนาคารกลางลดอตั ราเงินสดสำรองตามกฎหมาย
5. ธนาคารกลางขายพนั ธบัตรรฐั บาล

ข้อใดคอื มาตรการของนโยบายการเงนิ ทร่ี ฐั บาลจะตัดสนิ ใจเลอื กใช้เพ่อื แก้ปัญหาเงนิ เฟ้อท่เี กิดขึ้น
เน่อื งจากปริมาณเงินในมือของประชาชนมากจนเกนิ ไป
1.ประกาศเพิ่มอตั ราภาษมี ลู ค่าเพ่มิ
2.ขายพนั ธบัตรรฐั บาลและขยายวงเงนิ ให้กู้ยมื ของธนาคารพาณิชย์
3.รับซื้อคนื พนั ธบตั รรัฐบาลและลดวงเงินใหก้ ู้ยืมของธนาคารพาณิชย์
4.ประกาศเพมิ่ อัตราเงนิ สดสำรองตามกฎหมาย
5.จดั ทำงบประมาณขาดดลุ และลดอัตราดอกเบ้ียของพันธบัตรรฐั บาล
ในขณะท่ีประเทศประสบปญั หาเศรษฐกจิ ตกตำ่ รุนแรง รฐั บาลควรใชม้ าตรการใด
1. ลดปรมิ าณเงนิ
2.ไถ่ถอนพันธบตั รเก่า
3.รัฐบาลลงทนุ โครงการใหญ่
4.ชักชวนเอกชนประหยัด
5.ออกพันธบัตรขายใหป้ ระชาชน
เงนิ เฟอ้ มผี ลกระทบหลายด้านยกเวน้ ขอ้ ใด
1.ค่าภายในของเงนิ ลดลง
2.ผ้มู รี ายไดป้ ระจำเสยี เปรยี บ
3.ผู้ท่มี ีรายไดจ้ ากภาคธุรกจิ เสียเปรียบ
4.รัฐบาลสามารถเก็บภาษไี ดม้ ากข้ึน

การธนาคาร

ธนาคาร (Bank) เป็นสถาบันการเงนิ ทสี่ ำคัญในระบบเศรษฐกิจ
ก่อใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตวั ในระบบเศรษฐกิจธนาคารแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คือ ธนาคารกลาง
(Central Bank) และธนาคารพาณิชย์ (Commercial Bank)

ธนาคารกลาง (Central Bank) เปน็ สถาบันการเงินสูงสุดของประเทศ
ประเทศเอกราชทกุ ประเทศจึงมธี นาคารกลางเพ่ือควบคุมเกีย่ วกบั การเงินของประเทศ

ประเทศไทยต้งั ธนาคารกลางขึน้ หลงั สงครามโลกคร้ังที่ 2โดยมชี ่อื วา่ “ธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of
Thailand)”

หนา้ ทข่ี องธนาคารกลาง
ธนาคารกลางจะเป็นหน่วยงานทดี่ ูแลปริมาณเงินของประเทศให้อยูใ่ นระดบั ทเ่ี หมาะสมโดยวธิ ี ดงั น้ี

1. ผลิตธนบตั รและออกธนบตั ร
2. เปน็ นายธนาคารของธนาคารพาณชิ ยแ์ ละรัฐบาล
3. ควบคุมและตรวจสอบบัญชกี ารเงินของสถาบันการเงินตา่ งๆ ทวั่ ประเทศ
4. ควบคุมการแลกเปลย่ี นเงนิ ตรา และกำหนดอัตราดอกเบ้ีย
5. รักษาทนุ สำรองระหวา่ งประเทศ
6. กำหนดนโยบายด้านการเงนิ ของประเทศ

ธนาคารพาณชิ ย์ (Commercial Bank) มีหนา้ ทห่ี ลกั คอื

รับฝากเงนิ ประเภทต่างๆ สร้างเงินฝากหรอื ใหก้ ูเ้ งนิ และใหบ้ ริการด้านต่างๆ
ทุกธนาคารทำเหมอื นกันแมแ้ ต่ดอกเบีย้ ท่ีจะจา่ ยใหผ้ ้ฝู ากและเกบ็ จากผูก้ ยู้ มื เป็นอตั ราตามธนาคารกลางกำหนด

ธนาคารพเิ ศษ ซ่งึ ในประเทศไทยมีธนาคารพเิ ศษทเี่ ปน็ ของรฐั บาลอยู่ 3 ธนาคาร คอื

1. ธนาคารออมสนิ มีหนา้ ทีพ่ ิเศษ คือ ระดมเงินฝากเพ่ือนำไปใหร้ ฐั กยู้ ืม
2. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ มีหนา้ ทพ่ี ิเศษคือ ให้กูย้ ืมเงนิ ไปซื้อทีอ่ ย่อู าศัยหรอื ซอ่ มแซมทอ่ี ยูอ่ าศัย
3. ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร (ธ.ก.ส.) มีหนา้ ทพี่ ิเศษ คือ

ให้เกษตรกรไดก้ ยู้ มื เงนิ ไปใชพ้ ฒั นาการเกษตรกรรม

8.การคลัง

คอื กจิ กรรมทางเศรษฐกิจของรัฐที่เกย่ี วกบั การหารายไดข้ องรฐั บาลเพอ่ื นำมาใช้จา่ ยในการบริหารประเทศ
โดยมรี ฐั บาลเปน็ ผ้ดู แู ลเกี่ยวกบั รายรับและรายจา่ ยใหเ้ หมาะสมรายรับของรฐั บาล
ภาพรวมการคลงั

• รายรับของรัฐบาล
1) รายได้ของรฐั บาล ได้แก่ ภาษีอากร การขายส่ิงของและบรกิ าร รฐั พาณชิ ยแ์ ละอน่ื ๆ เช่น คา่ ปรับ
2) หน้สี าธารณะ มีทง้ั เงนิ ก้ภู ายในประเทศและต่างประเทศ
3) เงินคงคลัง เงินทร่ี ัฐบาลมีเหลือจากงบประมาณในปกี อ่ นๆ

• รายจ่ายของรฐั บาล

• นโยบายการคลัง
การจัดทำงบประมาณแผน่ ดิน
• รายรบั ของรัฐบาล หมายถงึ ยอดเงนิ รวมที่รัฐบาลจะได้รับจากแหลง่ ตา่ งๆ รายรับของของรฐั บาล
1) รายได้ของรฐั บาล จุดมงุ่ หมายเพอ่ื แสวงหารายไดน้ ำมาใช้ในการบริหารประเทศ

1.รายได้จากภาษอี ากร เป็นแหล่งรายได้ทใ่ี หญท่ ี่สุด ประเทศไทยใช้การเกบ็ ภาษเี งินได้แบบก้าวหน้า
2.รายไดจ้ ากรัฐวสิ าหกจิ และรัฐพาณชิ ย์ ผลกำไรจากการดำเนนิ กจิ การของรฐั หรอื ที่รัฐเปน็ หนุ้ สว่ น เชน่
กฝผ , สลากกินแบ่ง
3.รายไดจ้ ากการขายส่ิงของและบรกิ ารของรฐั
2) หน้ีสาธารณะ เม่อื เกิดปญั หาขาดดุลของงบประมาณ รฐั บาลต้องสรา้ งรายจา่ ย หรอื อาจจะก่อหน้สี าธารณะ
เพื่อมาชดเชยการขาดดุลของงบประมาณ ถือว่าเปน็ หนี้ภาครัฐบาลโดยขอกจู้ ากธนาคารแห่งประเทศไทย
ธนาคารออมสนิ และสถาบันทางการเงินอน่ื ๆ
ผู้ทสี่ ามารถสร้างหน้ีสาธารณะ คือ รฐั บาล, รฐั วสิ าหกจิ ทร่ี ัฐบาลเป็นผคู้ ำ้ ประกัน

• วตั ถุประสงค์
-เพอ่ื รกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
-เพื่อใชจ้ ่ายในการจัดทำงบประมาณแบบขาดดุล
-เพื่อการลงทุนในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
-เพอื่ รักษาทนุ สำรองระหว่างประเทศ

• ประเภทของเงินกู้
1)แหลง่ เงินก้ภู ายในประเทศ คือ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารพาณชิ ย์ องคก์ าร สถาบัน
มูลนธิ ิ บรษิ ทั และประชาชน

วิธีการกมู้ กั จะเป็น การออกตวั๋ เงินคลัง ขายพนั ธบัตร ตราสาร หรือทำสญั ญากู้

ผลกระทบจากการกเู้ งนิ ในประเทศ
ดอกเบ้ียมีแนวโน้มสูงขึ้น ทำใหเ้ อกชนชะลอการลงทุน
2) แหลง่ เงินกู้ภายนอกประเทศ องคก์ ารระหว่างประเทศ สถาบนั การเงนิ ตา่ งประเทศ และรัฐบาลต่างประเทศ

เงนิ กู้นอกประเทศไมน่ ำมาใส่ในงบประมาณรายรบั ตอ้ งมโี ครงการนำเสนอเงนิ มาใชเ้ ฉพาะโครงการนั้นๆ

ประเทศ ก จะกเู้ งนิ จากกองทุนระหว่างประเทศเม่อื
ขาดดุลชำระเงนิ ระหว่างประเทศและเกิดวกิ ฤตเศรษฐกจิ ระยะสั้น
• ระยะเวลาเงนิ กู้

-หนีร้ ะยะสน้ั กำหนดใชค้ นื 3-6 เดอื น หรอื ไมเ่ กนิ 1 ปี มอี ัตราดอกเบย้ี ต่ำ

-หน้รี ะยะยาว กำหนดใช้คืนตัง้ แต่ 5 ปขี นึ้ ไป

3) เงนิ คงคลัง
เงินรฐั บาลที่เหลือจากการใช้จ่ายจากปีงบประมาณกอ่ นของกระทรวงการคลัง
เปน็ เงินทร่ี ฐั บาลมีอยู่โดยมไิ ดน้ ำมาใช้จา่ ยในโครงการใดๆ รฐั บาลจะนำเงินคงคลงั ออกมาใชก้ รณีดังนี้

-ปัญหารายได้ตำ่ กวา่ งบรายจ่าย

-ไมส่ ามารถหาเงนิ กมู้ าชดเชยกบั งบรายจา่ ยท่ีต้ังไว้

-ไถถ่ อนพนั ธบัตรรัฐบาลก่อนกำหนด

ท่มี าของเงินคงคลัง

1.ในรูปของเงนิ สด รัฐบาลเก็บไวใ้ ชใ้ นยามงบประมาณขาดดลุ

2.เงินฝากไวก้ บั ธนาคารแห่งประเทศไทย,กระทรวงการคลัง หรือมาจากภาษีอากร
ค่าธรรมเนยี มท่ีเก็บมาจากราษฎรแลว้ ยังมไิ ด้จา่ ยออกไป เงินที่รฐั บาลกยู้ ืมมาแตย่ งั มิได้ใช้จา่ ย

• ภาษี คิือ
สง่ิ ท่ีรฐั บาลบงั คบั เกบ็ เงนิ จากประชาชนเพอื่ นำมาใช้ประโยชนต์ ่อสว่ นรวมโดยไมต่ อบแทนโดยตรง
แก่ผเู้ สียภาษี

ประเภทภาษี

1.ภาษที างตรง ภาษที เี่ กบ็ จากผู้มีรายได้โดยตรงหรอื ผู้ท่ีเป็นเจา้ ของทรัพยส์ ิน

ไมส่ ามารถผลกั ภาระใหผ้ ู้อื่นชำระแทนตนได้ เช่นภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา ภาษนี ิติบคุ คล ภาษมี รดก
ภาษดี อกเบี้ย ภาษีทด่ี ิน

2.ภาษีทางอ้อม ภาษีทเ่ี ก็บจากบุคคลหนึง่ แล้วบคุ คลนน้ั ผลกั ภาระการเสียภาษีนน้ั ไปใหอ้ กี บุคคลหนึ่ง

เชน่ ภาษสี รรพสามิต เกบ็ จากการผลิตหรอื จำหนา่ ยสนิ ค้าบางชนิด Ex ยาสูบ สุรา นำ้ มนั
ภาษีศลุ กากร เก็บจากสินค้าท่นี ำเข้าในประเทศและส่งออกนอกประเทศ
ภาษีสรรพากร เช่น การมหรสพ ภาษีมูลคา่ เพิ่ม

• อตั ราภาษี

1. อตั ราภาษีกา้ วหนา้ อตั ราการเสียภาษีจะสูงข้นึ เมือ่ มรี ายได้เพมิ่ ข้ึน
ช่วยลดปญั หาความไมเ่ ท่าเทยี มกันของการกระจายรายได้ในบคุ คล เช่น ภาษเี งินไดบ้ คุ คลธรรมดา

2. อัตราภาษีถดถอย อัตราการเสียภาษีจะตำ่ ลงเมื่อมรี ายได้สูงข้ึน
ซงึ่ อตั ราการเกบ็ ภาษีประเภทนจ้ี ะทำให้เกิดความไม่เทา่ เทยี มกนั ในรายได้ของบุคคล

3. อตั ราภาษีคงท่ี อตั ราการเสียภาษีจะคงท่ีเสมอ ไม่วา่ รายได้จะมากและนอ้ ยเพยี งใด เชน่
ภาษีสรรพสามติ ภาษศี ุลกากร ภาษกี ารคา้ เป็นต้น

อตั ราภาษใี ด
จะชว่ ยลดปัญหาความไม่เท่าเทยี มกันของการกระจายรายไดใ้ นกลุ่มประชาชน
ของประเทศ ? (Quota’KKU59)

ก อตั ราภาษีกา้ วหนา้ ข อตั ราภาษีคงที่
ค อตั ราภาษถี ดถอย ง อตั ราภาษีลอยตัว

• หนว่ ยงานจดั เกบ็ ภาษีในประเทศไทย
กระทรวงการคลัง

1. กรมสรรพากร ภาษีที่จัดเกบ็ ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา ภาษเี งินไดน้ ติ ิบุคคล ภาษีมูลค่าเพม่ิ อากรแสตมป์
อากรรงั นก ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ ภาษเี งินไดป้ โิ ตรเลยี ม

2. กรมสรรพสามติ ภาษที ี่จัดเก็บ ภาษียาสบู ภาษนี ำ้ มนั และผลติ ภณั ฑ์ ภาษีสุรา ภาษเี บยี ร์ ภาษีเครอ่ื งดื่ม
ภาษีไพ่

3. กรมศลุ กากร ภาษีที่จัดเก็บ อากรขาออก อากรขาเขา้
4. กรมตำรวจ ภาษีท่ีจดั เกบ็ ภาษกี ารพนัน

• รายจ่ายของรฐั บาล
เงนิ รวมที่รฐั บาลจะต้องใช้จ่ายในการพฒั นาประเทศ ดังนนั้ เพื่อใหก้ ารดำเนนิ งานเป็นไป
ตามนโยบายจำเปน็ ต้องมีแผนงบประมาณรายจา่ ยประจำปี
วัตถุประสงค์
เพอ่ื จดั สาธารณปู โภคบรกิ ารแก่ประชาชน เช่น การศึกษา การสาธารณสขุ อนามยั การคมนาคม ขนส่ง
เพอ่ื บำบดั ทกุ ขบ์ ำรุงสขุ ใหแ้ กป่ ระชาชน เช่น ป้องกันประเทศ ป้องกนั และปราบปรามอาชญากรรม
เพอ่ื สง่ เสริมและเพ่มิ ผลผลิตทำให้รายไดป้ ระชาชนสูงขนึ้

นโยบายการคลังของรฐั
นโยบายการคลงั หมายถึง นโยบายทเี่ ก่ยี วข้องกับรายรบั และรายจา่ ยของรฐั บาล รวมไปถึงการกยู้ ืมหรือ
การกอ่ หน้ีสาธารณะ รัฐบาลใช้นโยบายการคลัง เปน็ เครือ่ งมือสำคัญเพ่อื รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
มีกระทรวงการคลงั เป็นหน่วยงานสำคัญในการกำหนดนโยบายการคลงั
• การจัดทำงบประมาณแผ่นดิน

• งบประมาณแผ่นดนิ คือ แผนการใชจ้ ่ายเงินของรัฐบาลประจำปี เปน็ แผนการเงินของรฐั บาลที่จดั ทำข้นึ
เพอ่ื แสดงรายได้และรายจ่ายของโครงการตา่ งๆทีร่ ัฐบาลจดั ทำภายในเวลา 1 ปี

รฐั บาลตอ้ งจัดทำนโยบายตามความเหมาะสมตามทีแ่ ถลงไว้กบั รัฐสภา
ส่ิงทีจ่ ะเหน็ ในงบประมาณแผน่ ดนิ คือ
รายจา่ ยของรัฐบาล
แหล่งรายได้

• หนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ
สำนกั งบประมาณ สงั กัดสำนักนายกรฐั มนตรี ซ่ึงต้องตรวจแผนรว่ มกับกรมและกระทรวงตา่ งๆ
หน่วยงานของรฐั เพ่ือจดั ทำร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณประจำปี
วธิ กี ารจัดทำงบประมาณแผ่นดิน
1. หน่วยงานต่างๆของรัฐเสนอรายรบั และรายจา่ ยของหน่วยงานตนมายังสำนับงบประมาณ
2. สำนักงบประมาณและสภาพัฒนาฯจะกลั่นกรอง เพอื่ เสนอให้คณะรฐั มนตรีพจิ ารณาเห็นชอบ
3.คณะรัฐมนตรีนำร่างงบประมาณน้นั เสนอตอ่ รฐั สภาเพ่อื ขออนุมัติใชง้ บประมาณ
4.รฐั สภาจะพจิ ารณาและตรวจสอบแลว้ ลงมตริ ับ หรือ ไมร่ บั ถ้าอนุมัติจะผา่ นเป็นพระราชบญั ญัติ
แต่ถา้ ไม่รับร่างงบประมาณ รัฐบาลตอ้ งจะต้องนำไปปรับปรุงใหม่
ปงี บประมาณ
รฐั สภาอนุมตั ิ ตราเปน็ พ.ร.บ. งบประมาณประจำปี วนั ที่ 1 ต.ค. – 30 ก.ย. ปถี ดั ไป
• ลกั ษณะของงบประมาณแผ่นดนิ
งบประมาณเกินดุล รายจ่าย < รายได้
งบประมาณสมดลุ รายได้ = รายจ่าย
งบประมาณขาดดุล รายจ่าย > รายได้

ร้หู รอื ไม่วา่ 9 วชิ าสามญั และ O-NET ออกบอ่ ย

ชว่ งทเี่ ศรษฐกจิ ตกตำ่ เกดิ เงินฝืด อตั ราการจ้างงานต่ำ มักจะใช้งบประมาณแบบขาดดุล
เพราะยกระดับรายจ่ายมวลรวมของระบบเศรษฐกจิ สง่ ผลใหเ้ ศรษฐกิจขยายตัว
การจ้างงานและรายได้ประชาชาติสงู ขนึ้ ระบบเศรษฐกจิ ขยายตวั

• นโยบายการคลัง (Fiscal Policy)

หมายถงึ นโยบายท่ีเกี่ยวข้องกบั รายรบั และรายจา่ ยของรฐั บาลรวม

1.นโยบายการคลังแบบเขม้ งวด จะใช้ในช่วงเงนิ เฟ้อ รฐั บาลตอ้ งการใหเ้ ศรษฐกิจหดตัว
รัฐบาลจะใชง้ บประมาณแบบเกินดลุ ทำให้รัฐบาลลดการใช้จา่ ย ประชาชนมีกำลังซ้ือลดลง เศรษฐกจิ ชะลอตวั
2.นโยบายการคลงั แบบผอ่ นคลาย จะใชใ้ นชว่ งเงินฝืด รัฐบาลต้องการให้เศรษฐกิจขยายตัว
รฐั บาลจะใชง้ บประมาณแบบขาดดุล ทำให้รัฐบาลเพิม่ การใช้จ่าย กระตนุ้ การใช้จ่ายภายในประเทศ

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
10. การค้าระหว่างประเทศ
• การคา้ ระหว่างประเทศ หมายถงึ การนำสินค้าและบรกิ ารจากประเทศหน่ึงไปแลกเปลย่ี นกบั อกี ประเทศหนึง่
ซงึ่ ลักษณะการแลกเปลีย่ นมีทั้งที่เปน็ การแลกเปลย่ี นสินคา้ กับสินคา้
การแลกเปลี่ยนโดยใช้เงินเป็นสือ่ กลางและการแลกเปลีย่ นโดยใชส้ ินเชื่อหรอื เครดิต
• สาเหตุท่ีเกิดการคา้ ระหวา่ งประเทศ การค้าระหวา่ งประเทศนน้ั เกดิ ขึ้นเน่อื งจากการทป่ี ระเทศต่างๆ
มลี กั ษณะทางกายภาพและทรพั ยากรทีม่ คี วามสามารถในการผลิตแตกต่างกันน่นั เอง
ในการค้าระหวา่ งประเทศนัน้ จะมสี นิ คา้ อยู่ 2 ชนดิ คอื

สินคา้ เข้า (Import) คือ สินค้าทนี่ ำมาจากต่างประเทศเพอื่ เขา้ มาจำหน่าย
สนิ ค้าออก(Export) คอื สินค้าที่ส่งออกไปจำหน่ายตา่ งประเทศ
ประโยชนข์ องการค้าระหวา่ งประเทศ
การค้าระหวา่ งประเทศก่อให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ดังนี้
1. ประเทศต่างๆ มสี นิ ค้าครบตามความต้องการ
2. ประเทศตา่ งๆ จะมกี ารผลิตสนิ คา้ แบบการค้าหรอื มีเศรษฐกจิ แบบการค้า
3. การผลติ สนิ คา้ ในประเทศต่างๆ จะมกี ารแข่งขันกันทางดา้ นคณุ ภาพและประสิทธิภาพ
4. กอ่ ให้เกิดความรูค้ วามชำนาญเฉพาะอยา่ ง แบง่ งานทำตามความถนัด

นโยบายการคา้ ระหว่างประเทศ
นโยบายการคา้ ระหวา่ งประเทศ คือ แนวทางการปฏิบัติทางการคา้ กับประเทศตา่ งๆ มักจะกำหนดข้นึ
เพื่อรักษาไว้ซึ่งประโยชนท์ างเศรษฐกจิ ของประเทศ นโยบายการคา้ ระหว่างประเทศแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท
คือ นโยบายการค้าเสรี นโยบายการค้าคมุ้ กัน

• มาตรการเปดิ เสรี
เป็นนโยบายที่เปิดโอกาสให้มีการส่งสินค้าจากประเทศหน่งึ ไปยงั ประเทศหนง่ึ มักจะไมม่ ีข้อกดี กนั ทางการคา้

ลักษณะดังนี้
1. ไมม่ กี ารตง้ั กำแพงภาษี อาจจะมีการเก็บภาษีบ้างในรายการสินค้าที่มคี วามออ่ นไหว
2. ไมก่ ำหนดสิทธพิ ิเศษทางการคา้ ให้กบั ประเทศใดประเทศหน่ึง (GSP)
3. ไม่มขี ้อจำกดั ทางการคา้ และไมก่ ำหนดโควตาสินคา้
4. ผลติ สินคา้ ตามความเชยี่ วชาญของตน ซึ่งทำให้ทุนการผลิตต่ำ สินค้ามคี ุณภาพ

• มาตรการกีดกนั
เปน็ นโยบายการคา้ ที่จำกดั การนำสินคา้ เข้ามาขายในประเทศตน เพือ่ ปกป้องเศรษฐกิจภายในประเทศ
ใช้เครอื่ งมือกีดกนั การนำเข้า มักจะใช้ในประเทศทก่ี ำลังพัฒนา

1.กำหนดมาตรฐานสนิ คา้ สง่ ออกและนำเขา้
2.การใชก้ ำแพงภาษี
3.การกำหนดสนิ ค้าโควต้านำเข้า
4.การใหเ้ งินอดุ หนุนแก่ผูผ้ ลิตภายในประเทศ
ปริมาณการค้าระหว่างประเทศ คอื มูลค่ารวมของสินค้าเข้าและสินคา้ ออกในระยะเวลา 1 ปี
เพื่อศึกษาวา่ การค้ากบั ต่างประเทศเพิม่ ขนึ้ หรอื ลดลง

• ดุลการค้าระหวา่ งประเทศ หมายถงึ

การเปรียบเทียบระหว่างมลู คา่ ของสนิ ค้าเข้ากบั มูลคา่ ของสินคา้ ออกในระยะเวลา 1 ปี

ดูเพือ่ ศึกษาการคา้ ของประเทศกับตา่ งประเทศ ในรอบปีวา่ ได้เปรียบหรอื เสียเปรยี บ

1. ดุลการค้าเกนิ ดุล คือ มลู ค่าของสินคา้ ออกสงู กว่ามลู ค่าของสินคา้ เข้า (ไดเ้ ปรยี บดลุ การคา้ )
2. ดุลการค้าขาดดุล คือ มลู คา่ ของสนิ คา้ ออกต่ำกว่ามูลค่าของสนิ ค้าเข้า (เสยี เปรยี บดุลการคา้ )
3. ดลุ การคา้ ได้ดลุ (สมดลุ ) คอื มลู คา่ ของสินค้าออกเทา่ กบั มลู คา่ ของสนิ ค้าเขา้
ในการศกึ ษาปริมาณการค้าระหว่างประเทศและดลุ การคา้ ระหว่างประเทศจะต้องศกึ ษาจากมูลคา่ ของสินค้าเข้
าและมลู คา่ ของสนิ ค้าออก

ปัญหาการคา้ ระหวา่ งประเทศของไทย

1. ความผันผวนของเศรษฐกจิ โลกและการพึง่ พาการค้าสูงเกนิ ไป

2. การขาดมาตรฐานสินคา้ ทแ่ี ขง่ ขันได้ในระดบั โลก

3. การกดี กันการค้าด้วยรปู แบบไม่ใช่ภาษี

การคา้ กอ่ น พ.ศ.2540 ไทยประสบปัญหาขาดดลุ การค้ามาโดยตลอด

• ลกั ษณะการค้าระหวา่ งประเทศของไทย

-ใชน้ โยบายการคา้ ภายใตก้ รอบขององคก์ ารคา้ โลก WTO

-ประเทศคู่คา้ สำคญั ของไทย คอื ญีป่ ุน่ สหรัฐอเมรกิ า สหภาพยโุ รป ฮอ่ งกง สิงคโปร์ ไตห้ วนั เกาหลีใต้

11.การเงินระหว่างประเทศ

เป็นการแสดงความสัมพันธท์ างดา้ นการเงนิ ระหว่างประเทศหนง่ึ กบั อกี ประเทศ

สืบเนอ่ื งมาจากการค้าระหว่างประเทศ การกู้ยืมเงินและการชำระหน้ี

การลงทนุ ระหว่างประเทศและการช่วยเหลือกนั ระหว่างประเทศ

การแลกเปลยี่ นเงินตราระหว่างประเทศ คอื การนำเงนิ สกลุ หนึง่ ไปแลกเปลี่ยนกับอกี สกลุ หนึง่

ธนาคารกลางเป็นผู้กำหนด โดยเทยี บคา่ เงนิ ของตนกับทองคำหรอื เงนิ ตราสกลุ อืน่ ๆ

ภายใต้เง่ือนไขทก่ี องทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศกำหนด

กำหนดอตั ราแลกเปลย่ี น 2 แบบ

อัตราซอ้ื (Buying) คือ อตั ราทธ่ี นาคารรับซ้อื สังเกต
อัตราขาย(Selling) คือ อัตราทธ่ี นาคารขายไป อตั ราขายมกั จะราคาสงู กว่าอตั ราซ้อื

ระบบอัตราแลกเปลีย่ นทสี่ ำคัญ

1.ระบบอัตราแลกเปล่ียนแบบคงที่ เปน็ การผูกคา่ เงนิ กับเงนิ สกลุ เดยี ว ทเ่ี รียกวา่ ระบบตระกร้าเงนิ

2.ระบบทม่ี ีความยืดหยุ่นจำกัด อัตราแลกเปล่ยี นสามารถเปลีย่ นในชว่ งทีก่ วา้ งกวา่

3.ระบบท่มี ีความยดื หยุ่นสงู เปลย่ี นแปลงตามกลไกราคา หากต่างประเทศต้องการเงนิ บาทมาก จะส่งผลให้

คา่ เงินบาทแข็งค่าข้นึ หากตา่ งประเทศต้องการเงินบาทน้อยลง จะส่งผลใหค้ า่ เงินบาทออ่ นค่าลง

3.1 ระบบลอยตวั ภายใต้การจดั การ ปลอ่ ยใหค้ ่าเงินยดื หย่นุ ตามกลไกตลาด

แตธ่ นาคารกลางเขา้ ไปแทรกแซงให้เปน็ ไปในทศิ ทางทต่ี ้องการได้ ประเทศไทยเองกใ็ ชร้ ะบบน้ี

3.2 ระบบลอยตัวเสรี ปล่อยใหค้ ่าเงนิ ยดื หยุ่นตามกลไกตลาด

นโยบายการเงนิ ระหว่างประเทศในไทย

• เดมิ ใช้ระบบอัตราแลกเปล่ียนคงท่ีโดยผกู ขาดจะเปรียบเทียบกับมลู คา่ ของทองคำจึงเรียกว่ามาตรฐานทองคำ

• ต่อมาใชร้ ะบบตะกร้าเงิน โดยผูกขาดเงินบาทกับสกลุ เงินท่ปี ระกอบด้วย เงินดอลลารส์ หรัฐ เงนิ เยนญี่ปนุ่

• ต้งั แต่ 2 กรกฎาคม 2540 เปน้ ต้นมา ไทยใชร้ ะบบลอยตัวภายใต้การจดั การ

โดยนำค่าเงินบาทไปเปรยี บเทียบกบั สกลุ เงินตา่ งๆตามกลไกตลาด

ค่าเงนิ

อัตราการแลกเปลี่ยนเงนิ ตราตา่ งประเทศมคี วามสำคัญตอ่ การคา้ ระหว่างประเทศมาก

• คา่ เงนิ แขง็ คอื เงนิ มีค่าสงู ขึน้ เมอื่ เทียบกับเงินสกลุ อน่ื เน่ืองจากเงนิ สกุลนนั้ เปน็ ท่ีต้องการของตลาด

โดยปกติ 1 ดอลลาร์ เทา่ กบั 35 บาท ต่อมา 1 ดอลลาร์ เท่ากับ 32 บาท

นั่นแปลว่า คา่ เงนิ บาทสงู ขนึ้ เม่ือเทียบกับค่าดอลลาร์

ทำใหส้ นิ คา้ ส่งออกของไทยในสายตาชาวตา่ งชาตริ าคาสูง(ต่างชาติจ่ายเพ่ิมขน้ึ เพ่ือซอื้ สินค้าเท่าเดิมจากไทย)

สนิ คา้ นำเข้าจากต่างประเทศมีราคาถูกลง (พูดงา่ ยๆใช้เงินบาทน้อยลงเมือ่ ซ้อื สินคา้ เท่าเดมิ จากต่างชาติ)

• ค่าเงินอ่อน คือ เงินมีค่าลดลงเมือ่ เทยี บกับเงินสกุลอ่นื เน่อื งจากเงนิ สกุลนนั้ ไม่เป็นท่ีตอ้ งการของตลาด

โดยปกติ 1 ดอลลาร์ เท่ากับ 35 บาท ต่อมา 1 ดอลลาร์ เท่ากับ 37 บาท

นั่นแปลว่า ค่าเงินบาทอ่อนตวั ลงเม่อื เทียบกบั เงนิ ดอลลาร์ แตต่ า่ งชาตใิ ชเ้ งินเงนิ ลดลงเมอ่ื ซอ้ื สนิ คา้ ไทย

ในสายตาไทย ใชเ้ งนิ บาทมากขนึ้ เม่ือซอื้ สนิ คา้ ตา่ งชาติ

สมมตดิ คู า่ เงินบาทไทยอ่อนตัว แขง็ ตัวเมือ่ เทยี บเงนิ สกุลอน่ื

เงนิ บาทแขง็ ตวั เงนิ บาทอ่อนตัว
ใช้เงนิ บาทน้อยลงเพื่อให้ไดเ้ งนิ สกุลอื่นเท่าเดมิ ใชเ้ งนิ บาทมากขน้ึ เพ่อื ให้ไดเ้ งนิ สกลุ อน่ื เท่าเดิม
อย่าง การชำระหนีเ้ งนิ กตู้ ่างประเทศจะสูงขึ้น
สินค้าสง่ ออกจากไทยในสายตาต่างประเทศราคาสูง สินคา้ ส่งออกจากไทยในสายตาตา่ งประเทศราคาถกู ลง
สินคา้ นำเข้าจากตา่ งประเทศ ราคาถกู ลง สนิ คา้ นำเขา้ จากต่างประเทศ ราคาสงู ข้ึน
คนไทยไปเทยี่ วตา่ งประเทศมากขน้ึ คนไทยไปเทย่ี วต่างประเทศนอ้ ยลง

ขอ้ สอบเกา่ เคยเอามาออก
ณ ธนั วาคม 2561 อตั ราแลกเปลี่ยนสหรฐั ฯกับไทย (ดอลลาร์ : บาท) เท่ากับ 1 : 34
ณ มกราคม 2562 อัตราแลกเปลย่ี นสหรฐั ฯกับไทย (ดอลลาร์ : บาท) เทา่ กบั 1 : 35
ขอ้ ใดไม่ถูกต้อง
1.เงินดอลลารม์ คี า่ ลดลงเมื่อเทียบกับเงินบาท
2.เงนิ บาทมีคา่ ลดลงเมื่อเทียบกบั เงนิ ดอลลาร์
เรอ่ื งมันมอี ยู่วา่ เราใชเ้ งินบาทไทยมากข้นึ เพ่ือทจ่ี ะถอื เงนิ ดอลลาร์ นนั่ ก็แปลวา่ เงินบาทเราออ่ น
ค่าลงแลว้ นนั่ เอง

การชำระเงินระหว่างประเทศ
การเปรียบเทียบยอดรายไดแ้ ละรายจา่ ยทางการเงนิ ท่ีประเทศได้รบั หรือจา่ ยใหแ้ กต่ า่ งประเทศในระยะเวลา 1
ปี
ดลุ การชำระเงนิ = รายรับทั้งหมดท่ีไดจ้ ากตา่ งประเทศ – รายจ่ายทั้งหมดท่จี ่ายไปตา่ งประเทศ
• สาเหตทุ ต่ี ้องมกี ารชำระเงนิ ระหวา่ งประเทศ
1. มกี ารติดตอ่ คา้ ขายระหว่างประเทศ
2.มีการกู้ยืมเงนิ และการลงทนุ ระหว่างประเทศ
• ความสำคญั ของดลุ การชำระเงนิ
ดลุ การชำระเงินระหวา่ งประเทศจึงเป็นเครอ่ื งมอื บ่งชี้สภาพคล่องทางเศรษฐกจิ
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจและเปน็ บญั ชีแสดงฐานะทางเศรษฐกจิ ของประเทศ
โดยเปรยี บเทยี บระหวา่ งเงินเข้าประเทศซ่ึงเป็นรายรบั และเงนิ ออกนอกประเทศซงึ่ เปน็ รายจา่ ย
ยอดสรุปดลุ ของการชำระเงินระหวา่ งประเทศ เรียกว่า ทนุ สำรองระหว่างประเทศ
ดุลการชำระเงนิ มคี วามสมั พนั ธ์ต่อค่าเงนิ
• ความสำคัญของ ทนุ สำรองระหวา่ งประเทศ
กรณีทขี่ าดดุลการชำระเงิน จะทำใหท้ ุนสำรองระหวา่ งประเทศนอ้ ยลง เพราะต้องนำไปชดเชยสว่ นทขี่ าดดลุ
เมือ่ ทนุ สำรองระหว่างประเทศน้อยลง มนี ัยยะวา่ ประเทศนั้นไมเ่ ปน็ ท่หี มายตาของนกั ลงทนุ
ไม่มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ค่าเงนิ ออ่ นตวั ลง ยกตัวอย่าง วิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง 2540 น่ันเอง
ท่ีพยายามพยุงค่าเงินบาท จนเงนิ ทนุ สำรองระหวา่ งประเทศร่อยหรอ
•การที่ธนาคารแห่งประเทศไทยจะพิมพธ์ นบัตรเพมิ่ ได้ก็ต่อเม่ือทุนสำรองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น

ทนุ สํารองระหวา่ งประเทศ
-เป็นทรัพย์สินของประเทศรปู ของทองคาํ เงินตราตา่ งประเทศ
หลกั ทรพั ย์
-เป็นตวั บ่งชี้เสถียรภาพทางเศรษฐกจิ
สร้างความน่าเช่ือถอื ของการเงนิ ประเทศนน้ั ๆ
-การออกธนบัตรเพ่ิมข้ึนอยกู่ ับว่ามีทุนสาํ รองระหว่างประเทศแค่ไหน

•ประเภทของดุลการชำระเงิน
ดุลการชำระเงนิ เกินดุล เงินเข้าประเทศ > เงินที่ไหลออกนอกประเทศ
ดลุ การชำระเงินขาดดลุ เงินเขา้ ประเทศ < เงนิ ทไี่ หลออกนอกประเทศ
ดลุ การชำระเงินสมดลุ เงินเข้าประเทศ = เงนิ ท่ไี หลออกนอกประเทศ

องค์ประกอบของบญั ชีดุลการชำระเงนิ

ยอดดุลการชำระเงิน = บญั ชีทนุ เคล่อื นย้าย + บญั ชเี ดินสะพัด
-ดุลการคา้
(ทนุ สำรองระหว่างประเทศ) การลงทุน -ดุลรายได้
-ดลุ บริการ
การกูย้ มื

บัญชดี ุลการชำระเงนิ ประกอบด้วย สำคัญโปรดอา่ น
1. บญั ชีเดินสะพดั คือ บัญชีท่ีรวบรวมรายการทเี่ ป็นดลุ การคา้ ดลุ การบริจาค และดลุ รายได้

-บญั ชดี ลุ การคา้ คือ บญั ชแี สดงมลู ค่าสินค้าสง่ ออกและสินคา้ นำเข้า
-บญั ชีดุลบรกิ าร คอื บญั ชแี สดงมูลคา่ การบริการระหว่างประเทศ เช่น การขนส่ง การประกันภยั
การทอ่ งเท่ยี ว ค่าเครอ่ื งหมายทางการค้าและสิทธบิ ตั ร
-บญั ชีดุลรายได้ คอื บัญชีทแี่ สดงรายการเงนิ เดอื น สวัสดกิ ารและรายได้จากการลงทุน
-บญั ชีดลุ บรจิ าค คือ บญั ชีแสดงการรับและใหเ้ งนิ ช่วยเหลือจากตา่ งประเทศ เชน่
คนไทยบรจิ าคเงินแก่ผปู้ ระสบภยั

2. บัญชที นุ เคล่ือนยา้ ย(บัญชที นุ ) คอื บญั ชีที่แสดงรายการไหลทุนเข้าและทุนไหลออก
ว่าด้วยการลงทุนระหว่างประเทศ และการกู้ยมื เงนิ จากต่างประเทศ การชำระหนี้ท่กี ู้ยมื จากชาวตา่ งประเทศมา
จะสง่ ผลให้บัญชเี งนิ ทุนขาดดลุ แต่ถ้าชาวต่างชาติเขา้ มาลงทนุ ในประเทศเรามาก บัญชเี งินทุนกจ็ ะเกินดุล
3. บญั ชที ุนสำรองระหว่างประเทศ คือ บญั ชแี สดงทรพั ย์สินของประเทศประกอบด้วย ทองคำ
เงนิ ตราต่างประเทศ หลักทรัพย์ ทม่ี อี ยู่ในชว่ งระยะเวลาหนงึ่ ๆทกุ ประเทศจำเปน็ ตอ้ งมี

12.ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจ

เป็นความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศดา้ นเศรษฐกจิ อยู่ในรูปของการช่วยเหลือกนั ทางเศรษฐกิจ

การประสานประโยชน์ร่วมกนั

• สาเหตขุ องการร่วมมือทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ

1.สง่ เสรมิ ประโยชน์ดา้ นเศรษฐกิจและการค้า

2.ประสานงานรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ

• ระดับการร่วมมือระหว่างเศรษฐกจิ

เขตการค้าเสรี ยกเลกิ การเกบ็ ภาษแี ละข้อจำกัดทางการคา้

สหภาพศุลกากร ยกเลกิ การเกบ็ ภาษีและขอ้ จำกดั ทางการคา้
ร่วมกำหนดการเก็บภาษีในอตั ราเดียวกนั กับประเทศนอกกลุ่ม

ตลาดรว่ ม ยกเลกิ การเกบ็ ภาษแี ละข้อจำกดั ทางการค้า
ร่วมกำหนดการเกบ็ ภาษใี นอัตราเดยี วกนั กับประเทศนอกกลมุ่
ประเทศสมาชิกยา้ ยปจั จยั การผลติ เขา้ ออกได้เสรี

สหภาพเศรษฐกจิ ยกเลกิ การเก็บภาษแี ละขอ้ จำกัดทางการคา้
รว่ มกำหนดการเก็บภาษีในอัตราเดียวกันกับประเทศนอกกลุ่ม
ประเทศสมาชิกยา้ ยปัจจยั การผลิตเขา้ ออกได้เสรี
กำหนดนโยบายเศรษฐกจิ ใหเ้ หมือนกนั

รูปแบบการรว่ มมอื ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ

องคก์ ร รายละเอียด
World Trade Organization –WTO
องคก์ ารคา้ โลก พฒั นามาจาก GATT
สำนักงานใหญ่ กรงุ เจนีวา สวิสเซอรแ์ ลนด์
กองทุนการเงินระหวา่ งประเทศ วัตถุประสงค์ ส่งเสริมการคา้ เสรี
International Monetary Fund-IMF แกไ้ ขข้อพิพาททางการค้าระหวา่ งประเทศ
พจิ ารณาทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา

เกิดจากการจัดการประชุมเพอื่ จัดระเบยี บการคา้ หลงั WW II
สำนักงานใหญ่ กรงุ วอชงิ ตนั ดี ซี USA
วัตถุประสงค์ ใหก้ ู้ยืมเงินระยะสั้น

กำกบั กติกาการเงินโลก
ดูแลเสถยี รภาพทางการเงินแก่ประเทศสมาชกิ
ไทยได้รบั คำแนะนำเก่ยี วกับการเงิน
IMF เป็นแหลง่ เงินกใู้ ห้ประเทศไทย

สำหรับวกิ ฤตเศรษฐกจิ ตม้ ยำกุ้ง ปี 2540

ธนาคารโลก World Bank สำนักงานใหญ่ กรงุ วอชิงตัน ดี ซี
วตั ถปุ ระสงค์ ให้กูเ้ งินระยะยาว

มุ่งชว่ ยเหลอื ปญั หาด้านเศรษฐกจิ
เปน็ องคก์ รโลกบาลภายใตฉ้ ันทาวอชิงตนั
ไทยไดร้ ับความชว่ ยเหลอื ด้านการเงนิ และกำหนดแผนพฒั นาเศรษ
ฐกิจ ฉบับท่ี 1 ในสมยั จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ย์

สหภาพเศรษฐกจิ ยุโรป พฒั นามาจาก ประชาคมเหล็กและถา่ นหิน (ECSC) +
European Union-EU ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) + ประชาคมปรมาณู
(EURATOM) ต่อมาไดร้ วมกนั เปน็ EU
เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศในยุโรป
ต่อมามกี ารลงนามในสนธิสัญญามาชทริซท์
สำนักงาน กรุงบรัสเซลส์ เบลเยย่ี ม
รายละเอียด ส่งเสรมิ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ใช้สกุลเงินยโู ร

เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนอื (NAFTA) ประเทศในทวปี อเมริกาเหนอื รวมตัวกันเพือ่ สรา้ งความรว่ มมือมี 3
ประเทศ คอื แคนาดา สหรฐั อเมรกิ า เม็กซิโก
องค์กรประเทศผสู้ ง่ นำ้ มนั เป็นสินค้าออก
(OPEC) กำหนดราคาและต่อรองทางการเมืองระหว่างประเทศเรื่องน้ำมนั ดิ


สมาคมประชาชาตเิ อเชียตะวันออกเฉยี งใ มีสมาชกิ 10 ประเทศ คอื ไทย มาเลเซยี สิงคโปร์ ฟลิ ปิ ปินส์
ตห้ รือสมาคมอาเซยี น (Association of อนิ โดนีเซีย เวยี ดนาม ลาว พม่า บรไู น และกัมพชู า
South East Asia Nations : ASEAN จดุ ประสงค์ของอาเซียนตัง้ ขน้ึ เพ่ือส่งเสริมความรว่ มมอื ทางด้านเศ

รษฐกจิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สังคมและวฒั นธรรม
ในหมู่สมาชิก

ข้อสอบเก่าเคยออก
ขอ้ ใดเปน็ การรวมกลุม่ กนั ทางเศรษฐกิจท่ีประเทศสมาชิกสามารถกำหนดนโยบายเศรษฐกิจ
1.ตลาดร่วม
2.สหภาพศุลกากร
3.สหภาพเศรษฐกิจ
4.สหภาพการเมือง

ขอ้ ใดคอื การลงทุนทางออ้ มระหว่างประเทศ
1.คนอินโดนเี ซียนำเงินทุนซอ้ื หลักทรพั ย์ในประเทศไทย
2.คนญี่ปุน่ เข้ามาตง้ั โรงงานตุก๊ ตาในประเทศไทย
3.บรษิ ัทของแก้วกยู้ ืม

13.การพฒั นาเศรษฐกจิ
การพฒั นาเศรษฐกิจ คือ การเพ่มิ รายได้ประชาชาติ รวมถึงการเปลย่ี นแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกจิ
มงุ่ เพิม่ คณุ ภาพชีวติ การกนิ ดีอยดู่ ขี องประชาชน และมาตรฐานการครองชีพ
รวมถึงการเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งเศรษฐกิจและสังคมท่สี ง่ เสริมการกนิ ดีอยูด่ ีของประชาชนในประเทศ
การพฒั นาตอ้ งมที ัง้ เศรษฐกจิ และสงั คมควบคู่กนั ไป
ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ คอื การเพม่ิ ขึน้ ของรายได้ ขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ความสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
1.เพื่อยกระดับรายไดแ้ ละชวี ติ ความเป็นอยูข่ องประชาชน
2.เพอื่ ความมนั่ คงและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ปจั จยั ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ
1.เทคโนโลยี ช่วยในการเพิ่มผลผลิตได้มากข้นึ และมปี ระสทิ ธิภาพ
2. เศรษฐกจิ ซ่ึงมีผลทำให้เกิดการเพม่ิ ขน้ึ ของรายได้ตอ่ บคุ คล
3.การเมือง การบรหิ ารการปกครองโดยทีก่ ารเมอื งตอ้ งมคี วามเสถียรภาพ
และการออกนโยบายบริหารที่เหมาะสม
4.สังคม ค่านยิ มทสี่ ง่ เสริมการพัฒนาในประเทศ
การพฒั นาเศรษฐกิจในชุมชน
สง่ เสรมิ ศกั ยภาพในการผลิตเพม่ิ โอกาสในการแขง่ ขนั
ส่งเสรมิ ความร่วมมือระหว่างสมาชกิ ในชุมชน เพ่อื แกป้ ญั หาท่ีสมาชกิ เผชิญ
สง่ เสริมความรว่ มมอื กบั ชุมชนอืน่ เพือ่ แลกเปลย่ี นประสบการณ์และแนวทางแกไ้ ขปัญหา

รายไดป้ ระชาชาติ (NI) ผลรวมรายไดข้ องประชาชนท้ังประเทศในรอบ 1 ปี

NI = คา่ เช่า + ค่าจ้าง + ดอกเบย้ี + กำไร

หลกั การของรายได้ประชาชาติ
-รายได้ประชาชาตติ ้องเป็นรายได้ทท่ี ำใหเ้ กดิ ผลผลติ จากตลาดสนิ คา้ และบริการขนั้ สุดท้าย
ไมร่ วมเงินคงคลังของรฐั บาล รายได้ประชาชาติจะนบั เฉพาะรายได้ทแ่ี จง้ ไวก้ ับทางการ
รายการท่ีไมร่ วมในรายได้ประชาชาติ

คือ รายไดผ้ ดิ กฎหมาย เงนิ โอน เงินใหเ้ ปล่า เงินนอกระบบ กำไรส่วนทนุ ของมอื สอง กำไรจากการวอื้ ขายหนุ้
สนิ ค้าและบรกิ ารทีผ่ ลติ ข้ึนและไม่ผา่ นตลาด
ข้อจำกัดของตวั เลขรายไดป้ ระชาชาติ
-รายไดป้ ระชาชาตสิ ูงขึน้ ไมส่ ามารถสรุปได้ว่าประชาชนมชี วี ิตความเปน็ อย่ดู ขี น้ึ เสมอไป
เพราะในบางปีอาจเกดิ ภาวะเงนิ เฟอ้
• ตวั ชี้วดั เศรษฐกิจ
ผลิตภัณฑม์ วลรวมในประเทศเบื้องตน้ (Gross Domestic Product : GDP )
คอื มลู คา่ รวมของสนิ คา้ และบริการขัน้ สุดท้ายทีเ่ กิดภายในประเทศภายใน 1 ปี
-เป็นผลผลิตท่ีเกิดจากการผลิตภายในประเทศท้ังหมด ไมว่ า่ ผ้ผู ลติ จะเป็นชาตใิ ดหรอื ตา่ งชาติ
นำมารวมกันเปน็ คา่ GDP

GDP = รายได้คนไทยในไทย + รายไดค้ นไทยทำในตา่ งประเทศ

ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP )
คอื มลู คา่ รวมของสินคา้ และบริการขนั้ สดุ ท้ายท่ีประชาชาติผลติ ข้นึ ใน 1 ปี
-เป็นผลผลิตของคนชาติเดยี วกันไม่ว่าจะผลิตในประเทศหรือตา่ งประเทศ สามารถนำมารวมได้ทัง้ หมดเปน็ ค่า
GNP

GNP = GDP + รายได้สทุ ธจิ ากต่างประเทศ
ขอ้ สังเกต
1. GNP > GDP แปลวา่
ถ้าประเทศใดประชากรออกไปลงทนุ ต่างประเทศมากกว่าชาวตา่ งชาติเข้ามาลงทนุ ในประเทศตัวเอง
2. ประเทศกำลังพัฒนามักจะนิยมใช้ GDP แสดงรายไดข้ องประเทศ
เพราะจะมรี ายได้จากการลงทุนของต่างชาตมิ าลงทุนในประเทศมากกว่าการลงทนุ ตา่ งประเทศ
3.ประเทศที่พฒั นาแล้วนยิ มใช้ GNP แสดงรายได้ของประเทศ เพราะจะมรี ายไดจ้ ากการลงทนุ ในต่างประเทศ
มากกว่าที่ตา่ งประเทศมาลงทุนในประเทศ

14. เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เปน็ แนวทางการพฒั นาท่ตี ้ังอยบู่ นหลักทางสายกลาง และความไม่ประมาท
โดยคำนึงถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสรา้ งภมู ิคุม้ กันที่ดี
ประกอบกบั การเปน็ ผมู้ ีความรู้และคุณธรรม
องค์ประกอบของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

3 คณุ ลักษณะ + 2 เงือ่ นไข

-ความพอประมาณ -ความรู้
-คุณธรรม
-ความมีเหตผุ ล
-ความมีภูมิคมุ้ กันในตวั ทด่ี ี

• ทฤษฎีใหม่

เปน็ แนวทางการปฏบิ ัติของเกษตรกรทนี่ อ้ มนำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ต์ใชก้ ับการดำเนนิ ชวี ิตอนั จะ
นำไปสคู่ วามสามารถในการพง่ึ ตนเองในระดบั ต่างๆ

ข้ันท่ี1 จัดสรรทอี่ ยอู่ าศยั และท่ดี ินทำกิน โดยแบ่งที่ดนิ ดังนี้
30:30:30:10
นาขา้ ว 30% ไวเ้ พอ่ื กนิ ในครอบครวั
พชื ผสมผสาน(พืชไร่ พชื สวน พชื สมุนไพร) 30% ไวเ้ พ่ือบรโิ ภค

สว่ นทีเ่ หลอื สามารถนำไปขายสรา้ งรายได้
แหล่งนำ้ 30% ไวส้ ำหรับใชใ้ นการเพาะปลกู
ทอ่ี ยู่อาศยั 10% ไว้เปน็ บ้าน ที่เลย้ี งสัตว์ ลานเก็บผลผลิตการเกษตรและหมักปุ๋ย

ขั้นท่ี2 สร้างความร่วมมือระดบั ชุมชน
ขั้นที่3 หาเงินทุนมาพัฒนาทุน สร้างความร่วมมอื กบั องค์กรอืน่ ๆในประเทศ

15.แผนพฒั นาเศรษฐกิจ

การวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจ คอื

การวางแผนล่วงหนา้ ของรฐั ที่จะเร่งการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศภายในระยะเวลาท่กี ำหนดไว้

-จดั ทำโดยสำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ

-เร่มิ จดั ตง้ั แตส่ มยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชย์ ในปี พ.ศ. 2504

แผนพัฒนา ชว่ งเวลา สาระสำคญั
1 2504-2509
เนน้ พัฒนาปัจจยั โครงสร้างพ้ืนฐาน เชน่ ไฟฟ้า ประปา ถนน
2 2510-2514 สง่ เสรมิ การลงทนุ ของภาคเอกชน เพอ่ื เกดิ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ
3 2515-2519 เน้นพฒั นาอตุ สาหกรรม
4 2520-2524
5 2525-2529 ดำเนนิ โครงสร้างพ้ืนฐานต่อจากฉบับท่ี 1 เพ่ิมเรอ่ื งการพฒั นาสงั คม
6 2530-2534
7 2535-2539 เริ่มพัฒนาชนบท การกระจายความเจริญสู่ภมู ิภาค การวางแผนครอบครวั
8 2540-2544 พฒั นาคนเพ่ิมมีงานทำ
9 2545-2549
10 2550-2554 เนน้ การกระจายรายได้ท่ีเปน็ ธรรม
11 2555-2559 กำหนดพนื้ ทเ่ี นน้ การแก้ไขปญั หายากจนในชนบท

12 2560-2564 ยกระดับการขยายตัวทางเศรษฐกจิ โดยเพิม่ บทบาทให้เอกชนมีส่วนร่วม
พฒั นาคณุ ภาพประชากรด้านวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เนน้ การพัฒนาที่มคี ุณภาพและย่ังยนื พัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์
คุณภาพชวี ิต ควบคกู่ บั พฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มและทรัพยากรธรรมชาติ

มุ่งเน้นคนเปน็ เป้าหมายหลกั พฒั นาแบบบรู ณาการ
สนบั สนุนการพัฒนาคน

เรม่ิ นำปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงนำมาควบคกุ่ ารพฒั นาท่คี นเป็นศูนย์กลาง

ยงั คงเน้นเรอ่ื งเศรษฐกิจพอพยี งควบคกู่ ับการพัฒนาคน
เอาคนเป็นศนู ยก์ ลาง และสร้างชุมชนเข้มแขง็

พฒั นาประเทศสู่วิสัยทัศน์ 2570 : ภูมใิ จในความเปน็ ไทย พอเพยี ง
มภี มู ิคุม้ กันต่อความเปลี่ยนแปลง
สามารถอยใู่ นประชาคมภมู ิภาคและโลกอยา่ งมีศักดิ์ศรี
และยังคงนอ้ มนำเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เปา้ หมายการพัฒนาท่ียั่งยนื (Sustainable Development Goals:
SDGs) ทำบนพนื้ ฐานกรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี วิสัยทศั น์ มั่นคง มงั่ คั่ง
ยัง่ ยืน

16.วิกฤตเศรษฐกิจ
The Great Depression

เศรษฐกิจตกต่ำทวั่ โลกในทศวรรษที่ 30 เร่มิ ท่ีสหรัฐอเมริกา ค.ศ.1929
สาเหตุ
หลัง WW I สหรัฐฯ สง่ ออกสนิ คา้ ไปยุโรปในขณะที่ยโุ รปหลายประเทศยังไมฟ่ ้นื ตวั ทำใหเ้ กิดการปลอ่ ยกู้
เก็งกำไรสูง จนเกิดวิกฤตฟองสบูใ่ นตลาดหนุ้ สหรัฐฯ ตลุ าคม ค.ศ.1929
ผลกระทบ
ตลาดหุ้นร่วงหนกั ธนาคารหลายตวั ปดิ ตวั ลง ธรุ กิจล้มละลาย คนตกงานในสหรฐั พงุ่ สงู

วกิ ฤตการณต์ ้มยำก้งุ
ค่าเงนิ บาทลอยตัวในประเทศไทย พ.ศ 2540 สง่ ผลใหค้ ่าเงนิ บาทออ่ นตัวลงอยา่ งมาก สง่ ผลให้หน้ีต่างชาตสิ งู
จนไทยสูญเสยี เงินทุนสำรองระหว่างประเทศไปมากในการปกปอ้ งค่าเงินบาท
ตอ้ งขอความช่วยเหลือทางกรเงินจาก IMF
สาเหตุ
ไทยเปดิ นโยบายเสรีทางการเงิน ในช่วงปี ทำใหน้ ักลงทุนกเู้ งินจากตา่ งประเทศมาลงทนุ ในไทย
ซง่ึ เงนิ กู้นัน้ ถูกลงทุนตอ่ จนเกดิ ฟองสบู่ มูลคา่ การลงทุนสูงเกนิ ความเปน็ จรงิ ซงึ่ คา่ เงินบาทกถ็ กู โจมตีโดยจอร์จ
โซรอส

วิกฤตการณ์ Hamburger 2009
ปญั หาความผดิ พลาดท่มี กี ารปล่อยสนิ เช่อื คุณภาพต่ำ (Sub-prime) ส่งผลใหบ้ รรษทั ใหญล่ ม้ ละลายลง
ตอ้ งอัดฉีดเงนิ เข้าไปในระบบ เพ่ือใหเ้ กดิ สภาพคลอ่ ง


Click to View FlipBook Version