The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

05 บัตรความรู้ งานระะบบเครื่องยนต์ควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phooniti, 2021-09-13 06:31:25

05 บัตรความรู้ งานระะบบเครื่องยนต์ควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์

05 บัตรความรู้ งานระะบบเครื่องยนต์ควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์

21

บัตรความรู
หนว ยท่ี 5 ระบบจุดระเบดิ

บทนาํ
ในเครื่องยนตแกสโซลีน หนาท่ีของระบบจุดระเบิดคือ การจายประกายไฟเพื่อจุดระเบิด

สวนผสมน้ํามันเชื้อเพลงิ กับอากาศภายในกระบอกสูบ ตามจังหวะการจุดระเบิดท่ีเหมาะสมตามความ
ตอ งการของเคร่ืองยนต ระบบจุดระเบิดของรถยนตในปจจุบัน มีการพัฒนาเปล่ียนแปลงมาก โดย
ไดยกเลิกการใชระบบจุดระเบิดแบบหนาทองขาว และแบบก่ึงทรานซิสเตอร มาเปนแบบ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ท่เี รียกวา แบบทรานซสิ เตอรลวน หรือระบบจุดระเบิดแบบควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส
เพื่อใหความแมนยําในการจุดระเบิดตามความตองการของเครื่องยนตสงผล ใหเครื่องยนต มี
ประสิทธิภาพสูงและลดการบํารุงรักษา ประหยัดนํ้ามันเช้ือเพลิง รวมถึงการลดมลพิษจากไอเสีย
ระบบจุดระเบิดท่คี วบคุมดว ยระบบอิเล็กทรอนิกส มเี นอ้ื หาในการศึกษาดังน้ี

1. ระบบจุดระเบิดควบคุมดวยอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ บบใชจ านจาย
1.1 สว นประกอบของระบบจุดระเบิดควบคุมดว ยอิเล็กทรอนิกสแบบใชจ านจา ย
ระบบจุดระเบิดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกสแบบใชจานจายเขามาแทนที่ระบบจุดระเบิดแบบ

หนาทองขาว ดวยเหตุผลดานความกาวหนาทางเทคโนโลยีอีกทั้งความสะดวกในการบํารุงรักษา
เน่ืองจากการลดช้ินสวนทางกลไก โดยท่ีระบบนี้จะควบคุมการทํางานดวยสัญญาณและอุปกรณทาง
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส

ไทมง่ิ โรเตอร

ขดลวดกาํ เนิดสญั ญาณ แมเหลก็ ถาวร

ภาพท่ี 5-2 สวนประกอบของชดุ กาํ เนดิ สัญญาณจงั หวะจุดระเบดิ

22

1.1.1 ชุดกําเนิดสญั ญาณจงั หวะจดุ ระเบิด
ชุดกําเนิดสัญญาณจังหวะจุดระเบิด จะทําหนาท่ีสงสัญญาณจังหวะการจุดระเบิดใหกับ
ทรานซิสเตอรกําลังในชุดชวยจุดระเบิด ประกอบดวย 2 สวนดวยกัน คือชุดขดลวดกําเนิดสัญญาณ
หรือ ขดลวดพคิ อัพ (Pick-up Coil) ขดลวดพันบนแกนเหลก็ ออ นทีต่ อกบั แทงแมเหล็กถาวร ซ่ึงจะติด
ต้ังอยบู นแผนยดึ แทนหนา ทองขาว สวนไทม่ิงโรเตอร(Timing Rotor) เปนจานเหล็กที่มีฟนเปนซ่ี ๆ
สวมอยูบนแกนเพลาจานจาย จํานวนซ่ีไทมิ่งโรเตอรจะเทากับจํานวนกระบอกสูบของเคร่ืองยนตซ่ึง
หมุนไปกับแกนจานจายในขณะทีเ่ ครอ่ื งยนตหมุน

สญั ญาณออก ขดลวดกําเนิดสัญญาณ

ไทมง่ิ โรเตอร แมเหล็กถาวร

ภาพที่ 5-3 ตัวกาํ เนิดสัญญาณตาํ แหนง ฟนโรเตอรตรงกบั แกนขดลวดสญั ญาณ

1.1.2 ตวั ชว ยจุดระเบดิ และคอยล
ตัวชวยจุดระเบิด หรือ Igniter เปนชุดวงจรอิเล็กทรอนิกสใชสําหรับควบคุมการทํางานของ
คอยลจุดระเบิด ภายในตัวชวยจุดระเบิดจะประกอบดวยวงจรตาง ๆ เชน วงจรขยายสัญญาณ
วงจรควบคุมระยะเวลาในการไหลของกระแสไฟในขดลวดปฐมภูมิ (dwell control) วงจรปรับแกไข
จังหวะจุดระเบิดและทรานซิสเตอรกําลัง (power transistor) คอยลและตัวชวยจุดระเบิดท่ีใชใน
ระบบจุดระเบิดแบบควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ที่ใชในรถยนตในปจจุบันโดยทั่วไปจะมีอยู 2 แบบ
คือ แบบที่ตัวชวยจุดระเบิดแยกกับคอยล และ แบบท่ีตัวชวยจุดระเบิดและคอยลประกอบรวมไวใน
จานจา ย

23
คอยล

ตวั ชวยจดุ ระเบิด
ภาพที่ 5-4 ตวั ชวยจุดระเบิดแยกกับคอยล
ตวั ชว ยจุดระเบิด
และคอยล์

ภาพที่ 5-5 ตวั ชว ยจดุ ระเบดิ และคอยลประกอบรวมไวในจานจา ย

24

1.2 หลักการทาํ งานของระบบจุดระเบิดควบคมุ ดวยอเิ ล็กทรอนิกสแ บบใชจานจา ย
ในหลักการทํางานของระบบจุดระเบิดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกสแบบใชจานจายจะเปนระบบ

จดุ ระเบดิ แบบทรานซสิ เตอร ตัวชว ยจุดระเบดิ คอยลจุดระเบิด และชุดกําเนิดสัญญาณจังหวะการ
จุดระเบดิ จะตอ วงจรการทาํ งานรว มกนั

ไปจานจา ย

คอยลจ ุดระเบิด

แบตเตอรี่ สัญณาณ BC
แรงดันบวก E
วงจรควบคุม

ตวั ชวยจดุ ระเบิด

ภาพที่ 5-6 การทํางานของระบบจุดระเบิดควบคมุ ดวยอเิ ล็กทรอนิกสแ บบใชจานจาย IG ON

1.2.1 เมื่อเปด สวิตชจุดระเบิด ON แตเคร่ืองยนตยังไมมีการหมุน กระแสไฟฟาจากขั้วบวก

ของแบตเตอร่ีไหลจากขั้วAM ผานขั้ว IG ของสวิตชจุดระเบิด ปอนเขาวงจรอิเล็กทรอนิกสภายในตัว

ชวยจดุ ระเบิดสงไฟบวกไปกระตนุ ขา B ของทราสซิสเตอร ไฟบวกอีกสว นปอนเขา ขดลวดปฐมภูมิของ

คอยลจุดระเบิดทางข้ัวบวก และกระแสไฟจากขดลวดปฐมภูมิจะไหลออกทางขั้วลบของคอยลจุด

ระเบิดไปยังขา C ของทรานซสิ เตอรก ําลัง ททต่ี ําําใแหหเนกดิง นสที้นราวามงนจแรซมคิสเวหเบตลคอ็กมรเกก ิดําลขงัึน้ จทะข่ี ตดอลใหวดกประฐแมสภไมู ฟิ ฟาจาก
ขดลวดปฐมภมู ิลงกราวดท ีข่ า E ครบวงจรได

เมอื่ เครือ่ งยนตหมุน ไทม่ิงโรเตอรภายในจานจาย จะหมุนผานแกนเหล็กของขดลวดกําเนิด

สญั ญาณ ทาํ ใหเ กิดการเหน่ียวนาํ แรงดนั ไฟฟา ขณะท่ีไทมงิ่ โรเตอรหมุนเขาใกลแกนเหล็ก ขดลวดจะ

จายสัญญาณแรงดันไฟฟาศักยบวกปอนเขาวงจรควบคุมการทํางานสงไฟบวกไปกระตุนขา B ของ

ทราสซสิ เตอร ทําใหทรานซิสเตอรกําลังทํางานตอวงจรใหกระแสไฟฟาจากขดลวดปฐมภูมิของคอยล

จุดระเบิดไหลผานขา C ลงกราวดท่ีขา E ครบวงจรได ทําใหเกิดสนามแมเหล็กเกิดขึ้นที่ขดลวดปฐม

ภูมิ

25

1.2.2 เมือ่ ไทม่ิงโรเตอรห มุนผานแกนเหลก็ ขดลวดกาํ เนิดสัญญาณจะจายแรงดันไฟฟา

ศกั ยล บ ปอนเขาวงจรควบคมุ การทาํ งานของทรานซสิ เตอร ทาํ ใหทรานซิสเตอรตดั วงจรของกระแสที่

ไปขา B ของทรานซิสเตอร สง ผลใหท รานซิสเตอรตัดกระแสไฟไมใหขา CและEตอ กนั ไฟท่มี าจาก

ขดลวดปฐมภูมิไมสามารถลงกราวดได สงผลใหเกิดการยุบตัวของสนามแมเ หลก็ และเหนี่ยวนาํ

ไฟฟาแรงสงู ขน้ึ ทข่ี ดลวดทุติยภมู ิ ไปจานจา ย

IG

สวติ ชจ ดุ ระเบดิ

คอยลจ ุดระเบดิ

แบตเตอรี่ สัญณาณ BC
แรงดันลบ E
วงจรควบคุม

ตวั ชวยจุดระเบดิ

ภาพท่ี 5-7 การทาํ งานของระบบจุดระเบิดควบคมุ ดวยอเิ ลก็ ทรอนิกแบบใชจ านจา ย
ไทมิง่ โรเตอรห มุนผานแกนเหล็ก

1.3 วงจรไฟฟา ควบคุม ระบบจุดระเบดิ แบบใชจ านจาย
ในชุดจานจาย จะมีข้ัวสายไฟ ตอไปยัง ECM คือ IGT ,IGF,NE-,NE+,G1 การควบคุมการจุด

ระเบิด ECMจะรับทราบรอบเคร่ืองยนตและมุมของเพลาขอเหว่ียง จากชุดสัญญาณ NE-,NE+,G1
แลวควบคุมการจุดระเบิด ดวยการสงสัญญาณไปยัง ข้ัว IGT จากนั้นรับทราบ สัญญาณยืนยันการจุด
ระเบดิ จากขวั้ IGF, เพื่อประมวลผลการจดุ ระเบดิ ในลําดับตอ ไป

1=+B 1=IGT 2=NE-
2=RPM 3=NE- 4=IGF
5=NE+ 6=G1

ภาพท่ี 5-8 ปล๊ักตอสายไฟในจานจาย
ทม่ี า : คูมือการซอมเครอ่ื งยนตแกส โซลนี บริษทั โตโยตาจํากดั

26

ภาพที่ 5-9 วงจรไฟฟาควบคมุ ระบบจุดระเบิดแบบใชจ านจา ย
ที่มา : คูมอื การซอมเคร่ืองยนตแกส โซลีน บรษิ ัท โตโยตา จํากัด

27

2. ระบบจุดระเบิดควบคุมดว ยอเิ ลก็ ทรอนิกสแบบไมใ ชจานจาย
2.1 สวนประกอบของระบบจุดระเบิดควบคมุ ดวยอเิ ล็กทรอนิกสแบบไมใชจานจา ย
ระบบจุดระเบิดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกสแบบไมใชจานจายในปจจุบันเขามาแทนท่ีระบบที่ใช

จานจาย ดว ยเหตผุ ลดา นความกา วหนาทางเทคโนโลยีอีกทั้งความสะดวกในการบํารุงรักษา เน่ืองจาก
การลดชิน้ สวนสายไฟแรงสูง โดยทร่ี ะบบน้ีจะควบคมุ การทํางานดว ยคอมพิวเตอร โดยการควบคุมการ
จุดระบิดจากหนวยควบคุมเครื่องยนต (ECM) หรือท่ีเรียกวาระบบจุดระเบิดแบบควบคุมดวย
คอมพิวเตอร

2.1.1 หนว ยควบคมุ เคร่อื งยนต (ECM)
เปนหนวยควบคุมการจุดระเบิดที่มีความเท่ียงตรงสูง ใชอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่เรียกวา
sensor เปนตัวตรวจจับสภาวะการทํางานตาง ๆ ของเคร่ืองยนต แลวสงสัญญาณทางไฟฟาใหกับ
ประมวลผลกลาง (ECU) จากนั้นประมวลผลกลาง (ECU) จะประมวลผลหาคาองศาการจุดระเบิดท่ี
เหมาะสมจากสัญญาณที่ไดรับกับขอมูลท่ีบันทึกไวในหนวยความจํา แลวสงสัญญาณไฟฟาไปควบคุม
การทํางานของตัวชวยจดุ ระเบดิ

ภาพท่ี 5-10 หนว ยควบคมุ เคร่อื งยนต (ECM) ในรถยนต

2.1.2 ตวั ชวยจดุ ระเบิดและคอยล
ตัวชวยจุดระเบิด หรือ Igniter เปนชุดวงจรอิเล็กทรอนิกสใชสําหรับควบคุมการทํางานของ
คอยลจุดระเบิด ภายในตัวชวยจุดระเบิดจะประกอบดวยวงจรตาง ๆ เชน วงจรขยายสัญญาณ
วงจรควบคุมระยะเวลาในการไหลของกระแสไฟในขดลวดปฐมภูมิ (dwell control) วงจรปรับแกไข
จังหวะจุดระเบิดและทรานซิสเตอรกําลัง (power transistor) คอยลและตัวชวยจุดระเบิดท่ีใชใน
ระบบจุดระเบิดแบบควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส ท่ีใชในรถยนตในปจจุบันโดยท่ัวไปจะมีอยู 2 แบบ
คอื

28
2.1.2.1 คอยลจดุ ระเบดิ รวมหลายสูบ
จะรวมคอยลจดุ ระเบดิ ไวในตวั เดียวและแยกการจุดระเบิดไปตามสายไฟแรงสูงเพ่ือสงไฟแรงสูง
ไปทหี่ วั เทยี น

ตวั ชวยจดุ ระเบิด
และคอยล
ภาพท่ี 5-11 แสดงคอยลจ ดุ ระเบดิ รวมหลายสูบ
2.1.2.2 คอยลจุดระเบดิ แบบแยกสูบ

หรือท่ีเรียกวา direct coil เครื่องยนตหลัง ป 2000 จะใชชนิดน้ีทั้งหมด จะรวมตัวชวยจุดระเบิด
คอยลจ ุดระเบิดไวในตวั เดียว ใช1สบู ตอ1ตวั การสงไฟแรงสูงไปยงั หวั เทียนสงตรงโดยลดระยะทางของ
สายไฟแรงสูงใหส้ันท่ีสุด เพ่ือสงไฟแรงสูงไปที่หัวเทียน คอยลแบบน้ี จึงเปนที่นิยมใชสูงสุดในรถยนต
ปจ จุบัน

ตวั ชว ยจุดระเบิด
และคอยล

ภาพที่ 5-12 คอยลจุดระเบิดรวมแยกสูบ

29

2.2 หลักการทํางานของระบบจดุ ระเบดิ แบบควบคมุ ดวยคอมพิวเตอร
ระบบจุดระเบดิ แบบไมใชจานจาย หรือเรยี กวา ระบบการจุดระเบิดโดยตรง (direct ignition

system : DIS) เปนระบบจุดระเบิดท่ีจายไฟแรงสูงจากคอยล จุดระเบิดไปยังหัวเทียนสูบตาง ๆ
โดยตรงโดยไมตองใชจานจาย ระบบจุดระเบิดแบบน้ีจะมีคอยลจุดระเบิดประจําสูบ ซ่ึงในระบบจุด
ระเบิดทั่วไปจะใชคอยลจุดระเบิดเพียง 1 ตัวจายไฟแรงสูงไปยังหัวเทียนทุกสูบ ระบบจุดระเบิด
แบบไมใชจานจายจะเปนระบบจุดระเบิดท่ีควบคุมดวยคอมพิวเตอร มีใชในรถยนตในปจจุบัน เชน
เคร่ืองยนตโตโยตา รุน 1NZ-FE , 6AR-FSE เคร่ืองยนตนิสสัน CA-16DE, CA-18DE, SR20-DET
เปนตน

คอยลจ ดุ ระเบิด

ภาพท่ี 5-13 เคร่ืองยนตทใี่ ชคอยลจดุ ระเบิด 1 ตัวตอ 1สบู

2.3 วงจรไฟฟาควบคมุ ระบบจุดระเบิดแบบไมใชจ านจา ย
การทํางานเม่ือเปดสวิตชจุดระเบิดตําแหนง ON กระแสไฟฟาบวกจาก แบตเตอร่ีจะไหลผาน

ฟว สค วบคมุ วงจร เขา ทข่ี ัง้ B+-ของ IGNITION เมอ่ื สตารทเคร่ืองยนต เซ็นเซอรมุมเพลาขอเหวี่ยง จะสง
สัญญาณองศาเพลาขอเหวี่ยง และสัญญาณความเร็วรอบของเคร่ืองยนต ไปยัง หนวยควบคุม
เครื่องยนต (ECM) เพ่ือท่ีจะคํานวณองศาการจุดระเบิดแลวสงสัญญาณไฟฟา IGT1, IGT2, IGT3,
IGT4 ไปควบคุมตัวชวยจุดระเบิด 1, 3, 4, 2 ในรอบ 1 รอบการทํางานของ เมื่อมีการจุดระเบิด
ในแตละคร้ัง วงจรในคอยลจุดระเบิด จะสงสัญญาณ IGF กลับมายังหนวยควบคุมเคร่ืองยนต (ECM)
เพ่อื ยนื ยันการจุดระเบดิ ในแตละสบู เพ่อื เปนขอมูลในการสงั่ จุดระเบิดในลําดับตอไป

30

ภาพที่ 5-14 วงจรไฟฟาควบคุม ระบบจดุ ระเบดิ แบบไมใชจานจาย
ท่มี า : คมู อื การซอมเครอ่ื งยนตแ กสโซลนี บรษิ ัท โตโยตาจาํ กดั

31
ภาพที่ 5-15 ชอื่ ขวั้ ตอ Direct coil ยหี่ อตางๆ

32
ภาพที่ 4-15 (ตอ)

33
ภาพที่ 4-15 (ตอ)

34
ภาพที่ 4-15 (ตอ)

35

36
ภาพที่ 4-15 (ตอ)

37
ภาพที่ 4-15 (ตอ)

38
ภาพที่ 4-15 (ตอ)

39

4. หัวเทยี น (Spark plug)
4.1 หัวเทียน เปนหนึ่งในชิ้นสวนสําคัญ...ที่เคร่ืองยนตแกสโซลีนตองใช และมันมี

หนาทีส่ าํ คัญในการกอการจดุ ระเบิดภายในหองเผาไหม ทําใหเคร่ืองยนตมีกําลังมากข้ึน ซึ่ง
ตามปกติแลว ในการจุดระเบิดทาํ ใหหลายคนเล็งเห็นความสาํ คัญของหัวเทียน เม่ือตองการ
เพิ่มสมรรถนะการขับขี่ของรถยนตดวยการเปล่ียนหัวเทียนชนิดตางๆ หัวเทียนสําหรับรถ
ทัว่ ไปปจ จุบนั มีอยปู ระมาณ 3 ประเภทดงั นี้

4.1.1 แบบธรรมดา ปลายเข็มทําจากนิกเกิล สวนขั้วลบเปนเหล็กธรรมดา
โดยทั่วไปเทยี นจะมอี ายุการใชงานราวๆ 20,000 กิโลเมตร

ภาพที่ 5-16 หวั เทยี นแบบธรรมดา

ภาพที่ 5-16 (ตอ)

40

4.1.2 แบบปลายแพตตินมั เปนการพฒั นาของหัวเทียนโดยเอา แพตตนิ มั มาเปน
สวนประกอบ ผลทําใหประกายไฟดีขึ้น แรงข้ึน คงทนข้ึนกวา หัวเทียนแบธรรมดา
โดยทวั่ ไปเทียนจะมอี ายกุ ารใชง านราวๆ 50 ,000 กโิ ลเมตร

ภาพท่ี 5-17 หวั เทยี นแบบปลายแพตตินัม

ภาพท่ี 5-17 (ตอ )

41

4.1.3 แบบปลายอิริเดียม โดยหัวเทียน Iridium นั้น จะมีความพิเศษกวาหัว
เทียนธรรมดาก็คือ จะใหกําลังไฟในการจุดระเปดที่รุนแรงมากย่ิงขึ้น สงผลใหเคร่ืองยนต
ทาํ งานไดสมบูรณ เผาไหมหมดจรด ชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการจุดระเบิด และมีอายุการ
ใชง านทน่ี านกวา ทุกแบบ โดยทั่วไปเทยี นจะมีอายกุ ารใชงานราวๆ 12 ,000 กิโลเมตร

ภาพท่ี 5-18 หัวเทยี นแบบปลายอิริเดยี ม

ภาพท่ี 4-18 (ตอ )

42

4.2 การตรวจสภาพหวั เทียน
ในปจจุบันปกติหัวเทียน น้ันมีอายุการใชงานประมาณ 100,000 กิโลเมตร เม่ือถึง

ระยะเวลาตองทําการเปลี่ยน อยางไรก็ตามการตรวจสภาพของหัวเทียนยังมีความจําเปน
การในวิเคราะหอาการผิดปติของเคร่ืองยนต เมื่อเคร่ืองยนตเกิดปญหากับระบบจุดระเบิด
เนื่องจากการตรวจสภาพหัวเทียน สามารถบอกลักษณะการทํางานของเครื่องยนตได
ต้ังแตการบงชี้วาอัตราสวนผสมของอากาศและนํ้ามันเชื้อเพลิงสัมพันธกันเพียงไร อัตรา
สวนผสมหนาหรืออัตราสวนผสมบางหรือไม ซ่ึงสีของหัวเทียนสามารถบอกลักษณะตางๆ
ไดอยางดี จุดนี้ถือเปนสวนสําคัญอยางย่ิง สําหรับการวินิจฉัยการทํางานของเครื่องยนต
เพอ่ื ทําการปรบั แกไขระบบตา งๆ ทเ่ี กี่ยวของกลบั มาทํางานไดเตม็ ประสิทธิภาพ

ภาพท่ี 5-19 สภาพหวั เทียน
ที่มา : Family M Thailand Fanpage

43

ภาพที่ 5-19 (ตอ)

44

ภาพที่ 5-19 (ตอ )
จากภาพท่ี 4-18

หากหัวเทียนมีสภาพแหง คราบท่ีเกาะบริเวณเขี้ยวหัวเทียนมีสีน้ําตาลออนๆ สภาพ
เชนนี้ เปนลักษณะของการเผาไหม ของเครื่องยนตท่ีสมบูรณแบบ การทํางานของระบบ
ตา งๆ ในเครือ่ งยนตอ ยูในสภาพปกติ –

หากหัวเทียนมีสภาพดําแหง สามารถเช็ดออกไดงาย ลักษณะเชนน้ีบอกใหเราได
ทราบวา สวนผสมของน้ํามันเช้ือเพลิง มีอัตราสวนผสมท่ีมากกวาอากาศ (สวนผสมหนา)
ซ่ึงคราบท่ีพบคือ สวนที่เหลือตกคางของละอองน้ํามันเชื้อเพลิงท่ีมาก เกินกวาความ
ตองการของเคร่ืองยนต การแกไขเบื้องตนคือ ทําการหาสาเหตุของสวนผสมท่ีหนา ซึ่งมี
หลายสาเหตุ อยใู นชุดการสอนท่ี 6 การวเิ คราะหสวนผสมน้าํ มนั กับอากาศ

หากหัวเทยี นมสี ภาพชมุ นา้ํ มันเคร่ือง ลกั ษณะเชน น้คี ือ อาการท่ีบงบอกวาเครื่องยนต
เกิดการสึกหรอ และมีการเล็ดลอดของนํ้ามันเช้ือเพลิงเขาสูหองเผาไหม สาเหตุอาจเกิด
จากลูกสูบและแหวนลูกสูบเกิดการสึกหรอ กระบอกสูบ อาจมีรอยขูดขีดที่ลึกเปนรอง
บริเวณผนังกระบอกสบู หรืออาจเกิดการเส่ือมสภาพของยางไกดว าลว บนฝาสบู

45

หากหัวเทียนมีลักษณะกรอน และไหม เม่ือพบหัวเทียนลักษณะเชนนี้แสดงวาการ
ทํางานของเครื่องยนตอยูใน อุณหภูมิที่สูงเกินไป สาเหตุอาจเนื่องมาจากการเลือกใชเบอร
ของหัวเทียนไมเ หมาะสมกบั สภาพการใชงาน การระบายความ รอนสะสมท่ีเกิดขึ้นกับสวน
ปลายของหัวเทียนไมสามารถคายความรอนออกสูภายนอกไดอยางรวดเร็ว หรืออาจเกิด
จาก การชิงจุดระเบิด (PRE-IGNITION) เนื่องจากเคร่ืองยนตมีอุณหภูมิรอนจัด จนสวน
ปลายของเขี้ยวระอุจนเปน สีแดงเกือบหลอมละลาย

หากพบคราบเขมาสีขาวหรือสีเหลืองจับอยู ลักษณะเชนนี้บงช้ีใหทราบวาองศาการ
จุดระเบิดของเครื่องยนต เกิดขึ้นภายหลังลูกสูบเลื่อนพนศูนยตายบน หรือที่เราเรียกกัน
งายๆ วา ไฟออน การแกไขท่ีควรทําคือ ตรวจสอบการทํางานของระบบจุดระเบิด ควรทํา
การเปล่ยี นหวั เทียน ใหมใ หมขี นาดเบอรทีร่ อนขึ้น

อีกสิ่งที่ควรทําคือ วัดคาระยะหางของเขี้ยวหัวเทียนทุกคร้ังท่ีทําการถอดหัวเทียน
ออกมา เพ่ือประสิทธิภาพของการเกิดประกายไฟจุดระเบิดท่ี ดี โดยคาระยะหางเขี้ยวหัว
เทียนมาตรฐานจะประมาณ 0.6-0.8 มิลลิเมตร (0.024-0.031 นิ้ว) ซ่ึงการต้ังคาระยะหาง
ทีแ่ มน ยาํ ถกู ตอ งควรใชฟลเลอรเ กจในการวัดระยะ


Click to View FlipBook Version