รายงานการศึกษาค้นคว้า
เร่อื ง ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
เสนอ
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สาโรช สอาดเอ่ยี ม
จัดทาโดย
นางสาวภทั รยี า ภูผาเวยี ง รหัส ๖๓๑๐๕๔๐๑๓๑๐๒๖
สาขา การสอนภาษาไทย ภาคปกติ ป๓ี ห้อง ๑
รายงานเลม่ นี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาค้นควา้
รหัสวชิ า GE๔๐๐๕
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหามกฎุ ราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตลา้ นนา
ก
คานา
รายงานเลม่ นจ้ี ัดทาขึ้นเพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา เทคโนโลยสีารสนเทศเพ่ือการศึกษาค้นคว้า รหัสวิชา
GE ๔๐๐๕ เพ่อื ให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยได้ศึกษาผ่านแหล่งความรู้ต่าง ๆ
อาทิเชน่ ตารา หนังสือ หนังสอื พมิ พ์วารสาร หอ้ งสมุด และ แหลง่ ความรจู้ ากเว็ป ไชต์ต่างๆ โดยรายงานเล่มน้ีต้อง
มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความเป็นมาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ลักษณะของคาไทยแท้ คาท่ียืมมาจาก
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ผ้จู ดั ทาคาดหวังเป็นอยา่ งยิง่ ว่า การจดั ทาเอกสารฉบบั นีจ้ ะมีขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ ผู้ที่สนใจศกึ ษา
เก่ียวกับภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ผู้จดั ทา
นางสาว ภัทรยี า ภผู าเวยี ง
สารบญั ข
เรอ่ื ง
คานา หน้า
สารบัญ ก
บทที่ ๑ ความเป็นมาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ข
ลกั ษณะของคาไทยแท้ ๕
คาไทยแทม้ กั เปน็ คาโดด ๕
คาไทยแทม้ กั มตี ัวสะกดตรงตามมาตรา ๖
คาไทยแทไ้ ม่มีการเปลี่ยนรูปคาเพอ่ื แสดงลกั ษณะทางไวยากรณ์ ๗
คาไทยแทม้ เี สียงวรรณยุกต์ ๗
คาไทยแท้มีลกั ษณะนามใช้ ๗
คาไทยแท้ไมน่ ยิ มใช้ตัวการันต์ ๘
คาไทยแท้ไม่นิยมใช้พยญั ชนะบางตวั ๘
การใช้ ใอ และ ไอ ในคาไทย ๘
บทท่ี ๒ คาที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ๙
คาทย่ี มื มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ๑๐
คาท่ยี มื มาจากภาษาเขมร ๑๑
คาทย่ี ืมมาจากภาษาชวา
คาท่ยี มื มาจากภาษาจนี ข
คาทยี่ ืมมาจากภาษาอังกฤษ
คาทีย่ ืมมาจากภาษาฝร่งั เศส ๑๑
คาที่ยมื มาจากภาษาพม่า ๑๒
บรรณานุกรม ๑๓
๑๓
๑๔
๕
บทท่ี ๑
ความเป็นมาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
ประเทศไทยเรม่ิ มกี ารติดตอ่ กบั ประเทศต่างๆ ทั้งทางดา้ น การคา้ การทูต การสงคราม การเมือง การศึกษา
วรรณคดี ศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและอื่นๆ ทาให้มีการ รับคาในภาษาต่างๆเข้ามาใช้ใน
ภาษาไทย เช่น ภาษาบาลี -สันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษามลายู ภาษาญี่ปุ่น
เป็นตน้
การยมื คาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยทาให้ ภาษามีความเจริญงอกงามและมีคาใช้สาหรับ
การส่อื สารมากย่ิงขน้ึ ประกอบด้วย ๒ ประเดน็ ได้แก่ ลกั ษณะของคาไทยแท้และคายมื ทมี่ าจากภาษาต่างประเทศ
ลักษณะของคาไทยแท้
คาไทยแท้ เป็นคาทีม่ ใี ชด้ ้งั เดมิ อยู่ในภาษไทย มีลักษณะสาคัญ ทสี่ งั เกตได้ ดงั นี้
๑) คาไทยแทม้ กั เป็นคาโดด
คาไทยแท้เป็นคาโดด คือ ไม่ต้องผันคา เพ่ือบอกเพศ พจน์ หรือ กาล และมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง
เมื่อฟงั แลว้ สามารถเข้าใจไดท้ ันทเี ช่น
คาใช้เรยี กเครอื ญาติ เชน่ พอ่ แม่ พ่ี นอ้ ง ป้า อา ลง
คาใชเ้ รียกชอ่ื สัตว์ เช่น ช้าง มา้ ววั ควาย หมู หมา นก
คาใช้เรยี กธรรมชาตเิ ชน่ ดิน นา้ ลม ไฟ อ่นุ เยน็ รอ้ น
คาใช้เรียกเครือ่ งใช้เช่น มีด เขยี ง เตยี ง ตู้ ครก ไห ชอ้ น
คาใชเ้ รียกอวัยวะ เช่น หัว หู หน้า ตา ปาก น้วิ แขน ทั้งนี้
มคี าไทยแท้บางคาทีม่ หี ลายพยางค์ ซ่งึ มีสาเหตุ ดงั น้ี
๑.๑) การกร่อนเสยี ง หมายถึง การทีค่ าเดมิ เป็นคาประสม ๒ พยางค์เรยี งกัน เม่ือพูดเร็วๆทาให้พยางค์มีการ
กรอ่ นเสยี ง ลงไป เช่น หมาก เปน็ มะ , ตวั เปน็ ตะ เปน็ ตน้ ทาให้ กลายเปน็ คา ๒ พยางค์
หมากขาม เปน็ มะขาม
ตัวขาบ เปน็ ตะขาบ
ตาวนั เปน็ ตะวัน
สาวใภ้ เปน็ สะใภ้
อนั ไร เปน็ อะไร
๖
ฉันนั้น เป็น ฉะน้นั
๑.๒) การแทรกเสยี ง หมายถงึ การเตมิ พยางคล์ งไประหว่าง คา ๒ พยางค์ ทาให้เกดิ เปน็ คาหลายพยางค์เช่น
ลกู ตา เปน็ ลูกกะตา
ลูกท้อน เป็น ลูกกระท้อน
นกจอก เปน็ นกกระจอก
นกจบิ เป็น นกกระจิบ
ผักถิน เปน็ ผกั กระถิน
ผกั เฉด เป็น ผกั กระเฉด
๑.๓) การเตมิ พยางคห์ นา้ หมายถึง การเตมิ พยางค์ลงไป หน้าคาพยางค์เดียวหรือสองพยางค์แล้วทาให้เกิด
เป็นคาหลาย พยางค์เชน่
โจน เปน็ กระโจน
ทา เปน็ กระทา
เดย๋ี ว เป็น ประเด๋ียว
ทว้ ง เปน็ ประท้วง
จมุ๋ จิ๋ม เป็น กระจุ๋มกระจมิ๋
ดกุ ดกิ เป็น กระดกุ กระดิก
๒) คาไทยแท้มักมตี ัวสะกดตรงตามมาตรา
ลกั ษณะการสงั เกตคาไทยแทอ้ ีกประการ หนง่ึ คือ คาไทยแทม้ กั มีตวั สะกดตรงตามมาตรา กล่าวคือ อักษรท่ี
นามาเขยี นเปน็ ตวั สะกดจะตรงกับมาตราตัวสะกด ไดแ้ ก่
แมก่ ก ใช้ ก เป็นตวั สะกด เช่น รกั จาก ปีก ลูก
แม่กด ใช้ ด เปน็ ตัวสะกด เช่น คด เลือด ราด ปดิ
แม่กบ ใช้ บ เป็นตัวสะกด เชน่ จบั เจ็บ สิบ โอบ
แมก่ ง ใช้ ง เปน็ ตัวสะกด เชน่ วาง โยง สอง ปงิ้
แม่กน ใช้ น เปน็ ตวั สะกด เชน่ ขนึ้ เส้น กนิ นอน
แม่กม ใช้ ม เปน็ ตัวสะกด เชน่ ตุ่ม แก้ม คมุ้ ลม้
๗
แม่เกย ใช้ ย เปน็ ตวั สะกด เช่น เย้ย สาย คอย
แมเ่ กอว ใช้ ว เป็นตัวสะกด เช่น เหว สาว น้ิว แก้ว
๓) คาไทยแท้ไมม่ กี ารเปล่ยี นรูปคาเพอ่ื แสดงลักษณะทางไวยากรณ์
คาในภาษาอื่นๆอาจมีการเปลี่ยนรูปคาเพ่ือแสดงลักษณะทาง ไวยากรณ์บอกเพศ พจน์ กาล ขณะท่ีใน
ภาษาไทยไม่มกี าร เปล่ียนแปลงรูปคา แต่จะอาศัยการใชค้ าขยายมาประกอบ เชน่
นก เป็น นกตวั ผู้ (แสดงเพศชาย)
คน เปน็ คนเดียว (แสดงเอกพจน์)
น้ี เปน็ พรงุ่ นี้ (แสดงอนาคตกาล)
๔) คาไทยแทม้ เี สียงวรรณยุกต์
เพ่อื ให้เกดิ ระดับเสียงตา่ งกนั ทาใหม้ ี คาใชใ้ นภาษาไทยมากข้นึ เกิดเสียงในภาษาท่ไี พเราะ เชน่
ปา หมายถึง ขวา้ ง
ขาว หมายถงึ ช่ือสีชนิดหนึ่ง
ปา่ หมายถงึ ท่รี กด้วยต้นไม้
ขา่ ว หมายถงึ คาบอกเลา่
ปา้ หมายถงึ พ่ีสาวของพอ่ หรอื แม่
ขา้ ว หมายถงึ อาหาร ประเภทหนึง่
๕) คาไทยแท้มลี ักษณะนามใช้
ลักษณะนามเป็นคาท่ีใช้บอกลักษณะของนามท่ีอยู่ ข้างหน้าซึ่งในภาษาไทยจะใช้คาเหล่านี้แตกต่างจาก
ภาษาอนื่ ชัดเจน เช่น
ลักษณะนามบอกลกั ษณะของคากริยา ขอกอดที
ลกั ษณะนามบอกอาการ พลู ๓ จบี ,ดอกไม้ ๓ กา
ลกั ษณะนามบอกรปู ร่าง แหวน ๑ วง,ดนิ สอ ๒ แท่ง
๘
๖) คาไทยแท้ไมน่ ยิ มใชต้ ัวการันต์
ลักษณะของตัวการันต์ มักเป็นคาท่ียืมมาจาก ภาษาต่างประเทศ เพราะในภาษาไทยจะไม่นิยมใช้การันต์
เชน่ โล่ เสา อิน จนั วัน กา ขาด ปา จกั เปน็ ต้นเปน็ คาไทยแท้
๗) คาไทยแทไ้ ม่นยิ มใชพ้ ยัญชนะบางตวั
คาไทยแท้ไมน่ ยิ มใชพ้ ยญั ชนะบางตวั เช่น ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ภ ศ ษ ฬ และตวั ฤ ฤ ยกเว้น คาไทย
แท้บางค ำ ได้แก่ เฆย่ี น ฆ่า ฆอ้ ง ระฆงั หญงิ ศกึ ใหญ่ ณ ธ เธอ ศอก อาเภอ เปน็ คาไทยแท้
๘) การใช้ ใอ และ ไอ ในคาไทย
คาท่อี อกเสยี ง อัย ใช้รูปไม้ม้วน (ใ) มีใช้เฉพาะคาไทย เพียง ๒๐ ค ำเท่าน้ัน ได้แก่ ใหญ่ ใหม่ ให้ สะใภ้ ใช้
ใฝ่ ใจ ใส่ (หลงใหล ใคร ใคร่ ใบ ใส ใด ใน ใช่ ใต้ ไข้ ใย ใกล้ นอกนนั้ ใช้ไมม้ ลาย (ไ) เช่น ไกล ไส ไป ไข ไอ เป็นตน้
แต่คาทไี่ ม้มลายประกอบ ย ( ไ-ย ) และไม้หันอากาศ ประกอบ ย ( ยั ) มักเป็นคาไทยท่มี าจากภาษาอื่น เช่น
ไวยากรณ์ มาลยั
๙
บทท่ี ๒
คาท่ียืมมาจากภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ภาษาไทยมีการยืมคาจากภาษาต่างๆจากหลายประเทศ เช่น ภาษาบาลีและสันสกฤต (ยืมมาจากอินเดีย)
ภาษาจนี ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาชวา ภาษาพม่า ภาษามลายู ภาษาญ่ีปุ่น ภาษาเวียดนาม
เป็นตน้
การรับคาภาษาต่างประเทศมาใช้น้ันทาให้ภาษาไทยมี คาศัพท์ใช้มากข้ึน ดังน้ัน จึงควรศึกษาเก่ียวกับคาที่
ยืมมาจาก ภาษาต่างประเทศ
๑. คาทีย่ ืมมาจากภาษาบาลี-สนั สกฤต
ภาษาไทยมคี าท่ยี มื มาจากภาษาบาลแี ละสนั สกฤตอยมู่ าก ส่วนใหญ่จะใชใ้ นดา้ นที่ เก่ียวกับศาสนา วรรณคดี
วัฒนธรรม และขนบธรรมเนยี มประเพณีรวมท้ังใช้ในคาสุภาพและ คาศัพท์ท่ัวไป คาท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤต
มีหลักการสังเกต ดังนี้
๑.๑) เป็นคาท่ีมีหลายพยางค์ ส่วนมากใช้เป็นคานาม คากริยา และคาวิเศษณ์ เช่น บิดา มารดา ภรรยา
กรณุ า อนเุ คราะห์ สถาปนา เมตตา พยายาม
๑.๒) เปน็ คาทม่ี ตี ัวสะกดแตกตา่ งไปจากคาไทยแท้ และมกั มีตัวการันตป์ รากฏอยู่ เชน่
แม่กง → องค์ รงค์ สงฆ์ วงศ์ หงส์
แมก่ น → พล กร บญุ สวรรค์ มนต์
แม่กม → พิมพ์ อารมณ์ อภริ มย์ คมั ภีร์ มัชฌมิ
แมก่ ก → สุข เมฆ อคั ร ทกุ ข์ พักตร์
แมก่ ด → ยศ รัฐ บาท ฤทธ์ิ พจน์
แม่กบ → นพ โลภ บาป กาพย์ กษาปณ์
๑.๓) เปน็ คาท่ีประสมด้วยพยัญชนะ ฆ ฌ ญ ฏ ฏ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฤ ฬ คาบาลี สันสกฤตใช้อักษรครบตาม
จานวนอกั ษรในภาษาของตน ทั้งที่เขียนง่ายและยาก ซ่ึงต่างจากคาไทยแท้ เช่น ฆาต มัชฌิม สัญญา กุฎีโกฏิ วุฒิ
เณร พุทธ โลภ เศรษฐี ฤดู จุฬา
๑.๔) เป็นคาที่ใช้พยัญชนะเหมือนกันซ้อนกัน คาท่ียืมมาจากภาษาบาลีมักใช้พยัญชนะเหมือนกันซ้อนกัน
เช่น สักการะ บุคคล วิญญาณ เมตตา นิพพาน บลั ลังก์
๑๐
๑.๕) คาที่มรี ูปวรรณยุกต์และมไี ม้ไตก่ ากบั อยู่ ไม่ใช่คาท่มี าจากภาษาบาลี สนั สกฤต
ตวั อยา่ ง คาภาษาบาลแี ละสนั สกฤตทใี่ ชใ้ นภาษาไทย กีฬา นิพพาน หทัย ปัญญา วัตถุ รัฐ สามัญ อัจฉริยะ
อัคคี วิทยาสังข์ พยัคฆ์ สมภาร สังคม บุปผา วิลาส ปฏิมา กรีฑา ธรรม ภรรยา อัศจรรย์ไอศวรรย์ สวามี ฤดี
พฤกษา ดรรชนี ปริศนา พิศวาส ทฤษฎี พิสดาร สนั ติ ประณีต บษุ บา
๒. คาทย่ี ืมมาจากภาษาเขมร
เขมรกับไทยพรมแดนติดต่อกันและมีการถ่ายทอดวัฒนธรรมและภาษากันมาช้านาน ท้ัง ทางด้านการค้า
การเมือง การสงคราม ศาสนา วัฒนธรรม และพิธีกรรม ซึ่งทาให้มีคายืม ภาษาเขมรอยู่ในภาษาไทยทั้งคาสามัญ
และราชาศัพท์ เช่น
ชนะ หมายถึง ทาใหอ้ กี ฝา่ ยหนง่ึ แพ้
เผดจ็ หมายถึง ตัด,ขจดั ,ขาด
สาเร็จ หมายถงึ เสร็จ,แล้ว,บรรลุผล
ฉบับ หมายถึง ลกั ษณนามเรียกหนังสือต้นเดมิ ของหนังสือ
เพลงิ หมายถึง ไฟ
กังวล หมายถงึ ห่วงใย,มีใจพะวงอยู่
ผจญ หมายถงึ ต่อสู้,สูร้ บ,สงคราม
เสบยี ง หมายถึง อาหารท่จี ะเอาไปกนิ ระหว่างเดนิ ทางไกล
จะสังเกตเห็นว่าคาที่ยืมจากภาษาเขมรมีตัวสะกดบางตัวแตกต่างจากคาไทยแท้ โดยคาที่ยืม มาจากภาษา
เขมรจะปรากฏตัว จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด เพราะภาษาไทยรักษารูปเดิมของคาไว้ แต่จะ ออกเสียงตามแบบ
ภาษาไทย นอกจากนีค้ าที่ยมื มาจากภาษาเขมรสว่ นใหญไ่ ม่ใชร้ ูปวรรณยุกตก์ ากับ
๑๑
๓) คาทยี่ มื มาจากภาษาชวา
ดนิ แดนชวาและไทยมีความสมั พันธก์ นั มาแต่โบราณการติดต่อค้าขาย การเผยแผ่ศาสนาและ วัฒนธรรมทา
ให้ไทยรับภาษาชวามาใช้ในภาษาไทยด้วย เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราช นิพนธ์บท
ละครเร่ือง "อิเหนา" จนได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ทาให้คนไทยคุ้นเคยกับช่ือตัวละคร และซื่อเรียกต่างๆ
ตามที่ปรากฏในเรื่องคา ที่ยืมมาจากภาษาชวาจงึ เป็นทรี่ ้จู ักแพรห่ ลายในประเทศไทย เช่น
กริซ หมายถงึ มดี ปลายแหลม มี ๒ คม
บหุ ลัน หมายถึง ดวงเดอื น,พระจันทร์
บุหรง หมายถึง นกยงู
อังกะลงุ หมายถงึ เครอ่ื งดนตรชี นดิ หน่งึ ทาด้วยปลอ้ งไมไ้ ผ่ ใชเ้ ขย่า
ตนุ าหงัน หมายถงึ หมนั้ ไวเ้ พอ่ื แต่งงาน
ทเุ รียน หมายถงึ ชอ่ื ตน้ ไม้ ผลขรขุ ระ รสหวาน
ซ่าโบะ หมายถึง ผ้าห่ม
มะงมุ มะงาหรา หมายถงึ เท่ียวปา่ อาการที่ดั้นด้นเดินไปโดยไม่รู้ทศิ ทาง
จะสังเกตเห็นว่าคาพื้นฐานของภาษาชวาส่วนใหญ่เป็นคา ๒ พยางค์แต่ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด คา
พ้ืนฐานในภาษาเป็นคาพยางค์เดียว ภาษาชวาไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้า ส่วนภาษาไทยมีพยัญชนะเสียง ท่ี
สามารถควบกล้ากับพยัญชนะ ร, ล, ว ได้ นอกจากน้ีภาษาชวาไม่ใช่ภาษาวรรณยุกต์เมื่อระดับเสียงของคา
เปลี่ยนไป ความหมายของคายังคงเดิม แต่ภาษาไทยเป็นภาษาวรรณยุกต์ เม่ือระดับเสียงของคาเปลี่ยนไป
ความหมายของคายงั คงเดิม แตภ่ าษาไทยเปน็ ภาษาวรรณยุกต์ กล่าวคือ เสียงวรรณยุกต์มีส่วนกาหนด ความหมาย
ของคา
๔. คาท่ียมื มาจากภาษาจีน
ไทยกับจีนมีความสัมพันธก์ นั ตง้ั แต่สมัยพ่อขนุ รามคาแหงมหาราชพระองค์โปรดเกล้าๆ ให้ นาช่างจีนเข้ามา
ทาเครอ่ื งถว้ ยชาม เรียกว่า “ชามสงั คโลก” มีเสียงเพ้ียนมาจาก “สวรรคโลก” คน ไทยและคนจีนติดต่อสื่อสารกัน
มานานจนมีการยืมคาภาษาจนี มาใช้ สว่ นใหญ่เป็นภาษาจนี แต้จว๋ิ และ ภาษาจีนฮกเกี้ยน โดยคาภาษาจีนที่นามาใช้
ในภาษาไทย เชน่
๑๒
พะโล้ หมายถงึ ชอื่ อาหารชนดิ หนึง่
โละ หมายถงึ ทิง้ เสยี , ใส่ลง
เกีย๊ ว หมายถงึ อาหารชนิดหนงึ่ (แป้งหอ่ หมสู ับ)
เกะ๊ หมายถงึ ลิ้นชัก
กุ๊ย หมายถึง คนเลว นักเลง
แตะ๊ เอยี หมายถึง เงินสมนาคณุ
บะหม่ี หมายถึง อาหารชนิดหนงึ่ เปน็ เส้นๆ
ก๋ง หมายถึง ปู่
จะเห็นว่าคาที่ยืมมาจากภาษาจีนส่วนใหญ่มักมีเสียงวรรณยุกต์ตรีหรือจัตวาซ่ึงมีพยัญชนะ ต้นเป็นอักษร
กลาง นอกจากน้ีคาส่วนใหญจ่ ะประสมดว้ ยสระเสียงสน้ั เอยี ะ อวั ะ
๕. คาทยี่ มื มาจากภาษาอังกฤษ
การติดต่อค้าขาย การทูตกับชนชาติตะวันตกต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จนปัจจุบันที่ผู้คนท่ัว โลกสามารถ
ติดตอ่ สื่อสารกันไดอ้ ย่างไร้พรมแดน ดงั น้นั ภาษาไทยจึงรบั เอาภาษาอังกฤษเขา้ มาเป็น สว่ นหน่ึงของภาษา เชน่
ดรัมเมเยอร์ หมายถึง คทากร
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เคร่อื งอิเล็กทรอนกิ ส์แบบอตั โนมัติ
คอรร์ ปั ชนั หมายถงึ การฉ้อราษฎร์บงั หลวง
แอรค์ อนดชิ นั หมายถึง เครื่องปรบั อากาศ
ไวโอลิน หมายถงึ เครอ่ื งดนตรีชนดิ หนึ่ง
เซอร์เวย์ หมายถึง สารวจ ฟุตบอล หมายถงึ ชือ่ กีฬาชนดิ หนึง่
สตารต์ หมายถงึ เรมิ่ ต้น
จะเหน็ ว่าคาท่ยี มื มาจากภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคาหลายพยางค์ โดยที่ภาษาอังกฤษมี การเปล่ียนแปลง
รูปคาตามลักษณะของไวยากรณ์ เช่น violin เป็น violins (ไวโอลิน ๒ ตัวข้ึนไป) แต่ เม่ือไทยยืมเข้ามาใช้จะไม่มี
การเปลี่ยนแปลงรูปคาไปตามลกั ษณะไวยากรณ์ มีการปรับเสียงให้เข้ากับ ระบบเสียงในภาษาไทย เช่น Football
ออกเสียงเป็น ฟดุ บอน นอกจากนยี้ ังมกี ารใชเ้ สยี งพยญั ชนะที่ ไมม่ ีในภาษาไทย เช่น เสียงพยัญชนะควบ ดร ในคา
ว่า ดรัมเมเยอร์
๑๓
๖. คาทยี่ ืมมาจากภาษาฝร่ังเศส
ฝรงั่ เศสเป็นชนชาติยุโรปท่ีเข้ามาติดต่อค้าขายกับไทยต้ังแต่ สมัยกรุศรีอยุธยา ภาษาไทยจึงปรากฏคาท่ียืม
มาจากภาษาฝรั่งเศสอย่เู ป็น จานวนมาก เช่น
โก้เก๋ หมายถึง หรหู รา
คปู อง หมายถงึ บัตรหรอื ตั๋ว
ครวั ซองด์ หมายถงึ ขนมปังประเภทหนงึ่
โซเฟอร์ หมายถงึ คนขบั รถยนต์
๗. คาทีย่ ืมมาจากภาษาพมา่
ภาษาพม่าแพรห่ ลายเขา้ มาในภาษาไทย ผา่ นการทาสงคราม การคา้ ขายและศิลปวัฒนธรรม เชน่
กะปิ (งาป)ิ หมายถึง ของเค็มทาจากกงุ้ หมักเกลือโขลก
ส่วย หมายถึง การเกบ็ ภาษอี ากรสมัยโบราณ
หม่อง หมายถึง คานาหน้าชอ่ื ผชู้ ายชาวพม่า (ในภาษาพมา่ หมายถึง น้อง)
๑๔
บรรณานกุ รม
แน่งน้อย ดวงดารา. (๒๕๔๒). ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. จันทบุรี : คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
สถาบันราชภฏั ราไพพรรณ.ี
สุภาพร มากแจ้ง. (๒๕๓๕). ภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย. พิมพ์ครั้งท่ี ๒. กรงุ เทพฯ : โอเดียนส โตร์.
พฒั น์ เพ็งผลา. (๒๕๕๒).บาลีสนั สกฤตในภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พม์ หาวทิ ยาลัยรามคาแหง.
ลัดดา วรลัคนากุล. (๒๕๕๘). คาภาษาจีนในภาษาไทย. เข้าถึงเม่ือวันท่ี ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๐, จาก
http://www.royin.go.th/?knowledges=. คาภาษาจนี ในภาษาไทย (๑).
๑๕
ช่ือนางสาว ภัทรียา นามสกุล ภผู าเวียง รหัส ๖๓๑๐๕๔๐๑๓๑๐๒๖
สาขาการสอภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยมกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตลา้ นนา
ประวตั ิการศึกษา
ระดบั ประถมศึกษา โรงเรยี นหินลาดนาไฮวิทยาคม อาเภอสามเงา จงั หวดั ตาก
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรียนหินลาดนาไฮวิทยาคม อาเภอสามเงา จังหวดั ตาก
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โรงเรยี นสามเงาวิทยาคม อาเภอสามเงา จังหวดั ตาก