รายงานการศึกษาค้นคว้า
เร่อื ง ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
เสนอ
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สาโรช สอาดเอ่ยี ม
จัดทาโดย
นางสาวภทั รยี า ภูผาเวยี ง รหัส ๖๓๑๐๕๔๐๑๓๑๐๒๖
สาขา การสอนภาษาไทย ภาคปกติ ป๓ี ห้อง ๑
รายงานเลม่ นี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาค้นควา้
รหัสวชิ า GE ๔๐๐๕
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตลา้ นนา
รายงานการศึกษาค้นคว้า
เรอ่ื ง ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
เสนอ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สาโรช สอาดเอ่ยี ม
จัดทาโดย
นางสาวภัทรยี า ภูผาเวยี ง รหัส ๖๓๑๐๕๔๐๑๓๑๐๒๖
สาขา การสอนภาษาไทย ภาคปกติ ปี๓ ห้อง ๑
รายงานเลม่ นี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาค้นควา้
รหัสวชิ า GE ๔๐๐๕
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตลา้ นนา
ก
คานา
รายงานเล่มนี้จัดทาข้ึนเพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
รหสั วิชา GE ๔๐๐๕ เพอื่ ให้ไดศ้ ึกษาหาความรูใ้ นเรื่องภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยไดศ้ กึ ษาผา่ นแหล่งความรู้
ต่าง ๆ อาทิเช่น ตารา หนังสือ หนังสือพิมพ์วารสาร ห้องสมุด และ แหล่งความรู้จากเว็ป ไชต์ต่างๆ โดย
รายงานเล่มน้ีมเี น้อื หาเกยี่ วกับ ความเปน็ มาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ลักษณะของคาไทยแท้ คาท่ียืมมาจาก
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาโรช สะอาดเอ่ียม เป็นอย่างสูงท่ีให้ความรู้และแนวทางการศึกษา
และกรณุ าตรวจ ใหค้ าแนะนาเพื่อแก้ไข ใหข้ ้อเสนอแนะตลอดการทางาน
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า การจัดทาเอกสารฉบับนี้จะมีข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจศึกษาเกี่ยวกับ
ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
นางสาว ภัทรียา ภูผาเวยี ง
ผู้จัดทา
วนั ที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๕
สารบญั ข
เรอ่ื ง
คานา หน้า
สารบัญ ก
บทที่ ๑ ความเปน็ มาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ข
ลักษณะของคาไทยแท้ ๘
คาไทยแท้มักเป็นคาโดด ๘
คาไทยแทม้ ักมตี ัวสะกดตรงตามมาตรา ๙
คาไทยแท้ไมม่ กี ารเปลย่ี นรูปคาเพื่อแสดงลกั ษณะทางไวยากรณ์ ๑๐
คาไทยแทม้ เี สยี งวรรณยุกต์ ๑๐
คาไทยแทม้ ลี กั ษณะนามใช้ ๑๐
คาไทยแท้ไมน่ ิยมใชต้ วั การันต์ ๑๐
คาไทยแทไ้ ม่นิยมใชพ้ ยญั ชนะบางตัว ๑๑
การใช้ ใอ และ ไอ ในคาไทย ๑๑
บทที่ ๒ คาท่ียมื มาจากภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ๑๒
คาท่ียืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต ๑๓
คาทย่ี มื มาจากภาษาเขมร
คาท่ียมื มาจากภาษาชวา ข
คาทีย่ ืมมาจากภาษาจีน
คาทย่ี มื มาจากภาษาองั กฤษ ๑๔
คาท่ียมื มาจากภาษาฝรัง่ เศส ๑๔
คาทย่ี ืมมาจากภาษาพม่า ๑๕
บรรณานกุ รม ๑๖
ผ้จู ดั ทา ๑๖
๑๗
๑๘
บทท่ี ๑
ความเปน็ มาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
ประเทศไทยเร่ิมมกี ารติดตอ่ กบั ประเทศต่างๆ ทั้งทางดา้ น การคา้ การทูต การสงคราม การเมือง การศึกษา
วรรณคดี ศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและอื่นๆ ทาให้มีการ รับคาในภาษาต่างๆเข้ามาใช้ใน
ภาษาไทย เช่น ภาษาบาลี -สันสกฤต ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษามลายู ภาษาญ่ีปุ่น
เปน็ ตน้
การยมื คาท่มี าจากภาษาตา่ งประเทศมาใช้ในภาษาไทยทาให้ ภาษามีความเจริญงอกงามและมีคาใช้สาหรับ
การสื่อสารมากยิง่ ขนึ้ ประกอบดว้ ย ๒ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ลกั ษณะของคาไทยแท้และคายมื ท่มี าจากภาษาตา่ งประเทศ
ประเภทของการยมื
1. ยมื เนือ่ งจากวฒั นธรรม กลุม่ ท่ีมีลักษณะทางวฒั นธรรมด้อยกวา่ จะรับเอาวฒั นธรรมจาก
กล่มุ ทมี่ ีความเจริญมากกว่า
2. ยมื เนือ่ งจากความใกลช้ ิด การทส่ี องกลมุ่ ใชภ้ าษาตา่ งกันรว่ มสงั คมเดียวกันหรอื มอี าณาเขต
ใกล้ชิดกนั มีความสัมพนั ธก์ นั ในชวี ิตประจาวันทาให้เกิดการยืมภาษาซ่ึงกันและกัน
3. ยืมจากคนตา่ งกล่มุ การยมื ภาษาเดยี วกนั แต่เป็นภาษาของผู้ใช้ที่อยใู่ นสภาพท่ีต่างกัน
อทิ ธิพลของการยมื
การยืมทาให้ภาษาเกดิ การเปล่ียนแปลงมากมาย มีอทิ ธพลตอ่ วงศัพท์ซ่งึ การยมื ทาให้
จานวนศพั ทใ์ นภาษามกี ารเพิ่มพูน เกดิ วาระการใชศ้ พั ทต์ า่ งๆ กนั เปน็ คาไวพจน์ คอื คาทีม่ ีความหมาย
เดียวกัน แตเ่ ราเลือกใช้ตามโอกาสและตามความเหมาะสมทงั้ ยงั มีประโยชนใ์ นการแตง่ บทร้องกรอง
เพราะมีหลากคา
๘
ลักษณะของคาไทยแท้
คาไทยแท้ เปน็ คาทีม่ ใี ชด้ ั้งเดมิ อยูใ่ นภาษไทย มีลักษณะสาคัญ ทสี่ งั เกตได้ ดังน้ี
๑) คาไทยแท้มักเปน็ คาโดด
คาไทยแท้เป็นคาโดด คือ ไม่ต้องผันคา เพ่ือบอกเพศ พจน์ หรือ กาล และมีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง
เมอ่ื ฟังแล้วสามารถเขา้ ใจไดท้ นั ทีเชน่
คาใชเ้ รียกเครอื ญาติ เชน่ พอ่ แม่ พี่ น้อง ป้า อา ลง
คาใช้เรยี กชื่อสัตว์ เชน่ ช้าง มา้ ววั ควาย หมู หมา นก
คาใชเ้ รียกธรรมชาติเช่น ดิน นา้ ลม ไฟ อุ่น เย็น รอ้ น
คาใชเ้ รียกเครอ่ื งใชเ้ ช่น มดี เขียง เตียง ตู้ ครก ไห ช้อน
คาใช้เรียกอวยั วะ เชน่ หวั หู หน้า ตา ปาก น้วิ แขน ทั้งน้ี
มคี าไทยแท้บางคาท่ีมีหลายพยางค์ ซงึ่ มีสาเหตุ ดงั น้ี
๑.๑) การกรอ่ นเสียง หมายถึง การทค่ี าเดิมเปน็ คาประสม ๒ พยางค์เรียงกนั เม่อื พูดเร็วๆทาให้พยางค์มีการ
กรอ่ นเสยี ง ลงไป เช่น หมาก เป็น มะ , ตัว เป็น ตะ เปน็ ต้น ทาให้ กลายเปน็ คา ๒ พยางค์
หมากขาม เป็น มะขาม
ตัวขาบ เป็น ตะขาบ
ตาวัน เป็น ตะวัน
สาวใภ้ เปน็ สะใภ้
อันไร เปน็ อะไร
ฉันน้นั เป็น ฉะน้ัน
๑.๒) การแทรกเสยี ง หมายถงึ การเติมพยางคล์ งไประหวา่ ง คา ๒ พยางค์ ทาใหเ้ กดิ เปน็ คาหลายพยางค์เชน่
ลกู ตา เปน็ ลกู กะตา
ลูกท้อน เปน็ ลูกกระทอ้ น
นกจอก เป็น นกกระจอก
นกจบิ เปน็ นกกระจิบ
๙
ผกั ถิน เปน็ ผักกระถนิ
ผักเฉด เปน็ ผักกระเฉด
๑.๓) การเติมพยางค์หนา้ หมายถงึ การเตมิ พยางค์ลงไป หน้าคาพยางค์เดียวหรือสองพยางค์แล้วทาให้เกิด
เป็นคาหลาย พยางค์เชน่
โจน เปน็ กระโจน
ทา เป็น กระทา
เด๋ยี ว เปน็ ประเดี๋ยว
ทว้ ง เปน็ ประท้วง
จมุ๋ จิม๋ เปน็ กระจุ๋มกระจิม๋
ดุกดกิ เปน็ กระดุกกระดิก
๒) คาไทยแท้มกั มตี ัวสะกดตรงตามมาตรา
ลกั ษณะการสงั เกตคาไทยแทอ้ กี ประการ หนง่ึ คอื คาไทยแท้มกั มตี วั สะกดตรงตามมาตรา กล่าวคือ อักษรที่
นามาเขยี นเป็น ตวั สะกดจะตรงกบั มาตราตวั สะกด ได้แก่
แมก่ ก ใช้ ก เป็นตัวสะกด เชน่ รัก จาก ปีก ลูก
แมก่ ด ใช้ ด เปน็ ตวั สะกด เช่น คด เลอื ด ราด ปิด
แม่กบ ใช้ บ เปน็ ตัวสะกด เชน่ จบั เจ็บ สบิ โอบ
แม่กง ใช้ ง เปน็ ตัวสะกด เชน่ วาง โยง สอง ปิง้
แมก่ น ใช้ น เป็นตัวสะกด เช่น ขึน้ เส้น กิน นอน
แม่กม ใช้ ม เปน็ ตัวสะกด เช่น ตมุ่ แก้ม คมุ้ ล้ม
แม่เกย ใช้ ย เปน็ ตวั สะกด เช่น เยย้ สาย คอย
แม่เกอว ใช้ ว เป็นตัวสะกด เชน่ เหว สาว น้ิว แกว้
๑๐
๓) คาไทยแทไ้ ม่มีการเปล่ียนรูปคาเพอื่ แสดงลกั ษณะทางไวยากรณ์
คาในภาษาอ่ืนๆอาจมีการเปลี่ยนรูปคาเพ่ือแสดงลักษณะทาง ไวยากรณ์บอกเพศ พจน์ กาล ขณะท่ีใน
ภาษาไทยไมม่ ีการ เปลย่ี นแปลงรูปคา แต่จะอาศยั การใช้คาขยายมาประกอบ เชน่
นก เปน็ นกตัวผู้ (แสดงเพศชาย)
คน เปน็ คนเดียว (แสดงเอกพจน)์
น้ี เปน็ พรงุ่ นี้ (แสดงอนาคตกาล)
๔) คาไทยแทม้ ีเสยี งวรรณยุกต์
เพ่ือใหเ้ กดิ ระดบั เสยี งต่างกันทาใหม้ ี คาใชใ้ นภาษาไทยมากขนึ้ เกิดเสยี งในภาษาทไ่ี พเราะ เชน่
ปา หมายถึง ขว้าง
ขาว หมายถึง ชื่อสชี นิดหน่ึง
ป่า หมายถงึ ที่รกด้วยตน้ ไม้
ขา่ ว หมายถึง คาบอกเล่า
ปา้ หมายถงึ พส่ี าวของพอ่ หรอื แม่
ข้าว หมายถึง อาหาร ประเภทหน่ึง
๕) คาไทยแท้มีลกั ษณะนามใช้
ลักษณะนามเป็นคาที่ใช้บอกลักษณะของนามที่อยู่ ข้างหน้าซ่ึงในภาษาไทยจะใช้คาเหล่านี้แตกต่างจาก
ภาษาอ่ืนชัดเจน เชน่
ลกั ษณะนามบอกลกั ษณะของคากรยิ า ขอกอดที
ลกั ษณะนามบอกอาการ พลู ๓ จีบ,ดอกไม้ ๓ กา
ลักษณะนามบอกรูปร่าง แหวน ๑ วง,ดนิ สอ ๒ แทง่
๖) คาไทยแทไ้ ม่นิยมใช้ตัวการนั ต์
ลักษณะของตัวการันต์ มักเป็นคาที่ยืมมาจาก ภาษาต่างประเทศ เพราะในภาษาไทยจะไม่นิยมใช้การันต์
เช่น โล่ เสา อิน จนั วัน กา ขาด ปา จกั เปน็ ต้นเป็นคาไทยแท้
๑๑
๗) คาไทยแทไ้ มน่ ยิ มใช้พยัญชนะบางตัว
คาไทยแทไ้ มน่ ิยมใช้พยญั ชนะบางตวั เช่น ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ร ภ ศ ษ ฬ และตวั ฤ ฤ ยกเว้น คาไทย
แท้บางค ำ ไดแ้ ก่ เฆยี่ น ฆ่า ฆ้อง ระฆงั หญิง ศกึ ใหญ่ ณ ธ เธอ ศอก อาเภอ เป็นคาไทยแท้
๘) การใช้ ใอ และ ไอ ในคาไทย
คาท่ีออกเสียง อัย ใช้รูปไม้ม้วน (ใ) มีใช้เฉพาะคาไทย เพียง ๒๐ ค ำเท่าน้ัน ได้แก่ ใหญ่ ใหม่ ให้ สะใภ้ ใช้
ใฝ่ ใจ ใส่ (หลงใหล ใคร ใคร่ ใบ ใส ใด ใน ใช่ ใต้ ไข้ ใย ใกล้ นอกนน้ั ใชไ้ มม้ ลาย (ไ) เชน่ ไกล ไส ไป ไข ไอ เปน็ ต้น
แตค่ าทไี่ มม้ ลายประกอบ ย ( ไ-ย ) และไม้หันอากาศ ประกอบ ย ( ยั ) มักเปน็ คาไทยท่ีมาจากภาษาอ่ืน เช่น
ไวยากรณ์ มาลยั
บทที่ ๒
คาท่ียืมมาจากภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ภาษาไทยมีการยืมคาจากภาษาต่างๆจากหลายประเทศ เช่น ภาษาบาลีและสันสกฤต (ยืมมาจากอินเดีย)
ภาษาจีน ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส ภาษาชวา ภาษาพม่า ภาษามลายู ภาษาญ่ีปุ่น ภาษาเวียดนาม
เป็นต้น
การรับคาภาษาตา่ งประเทศมาใช้น้ันทาให้ภาษาไทยมี คาศัพท์ใช้มากข้ึน ดังน้ัน จึงควรศึกษาเก่ียวกับคาที่
ยืมมาจาก ภาษาต่างประเทศ
๑. คาทีย่ ืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต
ภาษาไทยมคี าทยี่ ืมมาจากภาษาบาลีและสนั สกฤตอยู่มาก สว่ นใหญจ่ ะใชใ้ นด้านท่ี เก่ียวกับศาสนา วรรณคดี
วฒั นธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณรี วมทั้งใช้ในคาสุภาพและ คาศัพท์ทั่วไป คาที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต
มหี ลักการสงั เกต ดังน้ี
๑.๑) เป็นคาที่มีหลายพยางค์ ส่วนมากใช้เป็นคานาม คากริยา และคาวิเศษณ์ เช่น บิดา มารดา ภรรยา
กรุณา อนเุ คราะห์ สถาปนา เมตตา พยายาม
๑.๒) เป็นคาทมี่ ีตวั สะกดแตกต่างไปจากคาไทยแท้ และมกั มีตัวการนั ต์ปรากฏอยู่ เช่น
แม่กง → องค์ รงค์ สงฆ์ วงศ์ หงส์
แมก่ น → พล กร บุญ สวรรค์ มนต์
แมก่ ม → พมิ พ์ อารมณ์ อภริ มย์ คัมภีร์ มชั ฌมิ
แมก่ ก → สขุ เมฆ อัคร ทกุ ข์ พักตร์
แม่กด → ยศ รฐั บาท ฤทธ์ิ พจน์
แม่กบ → นพ โลภ บาป กาพย์ กษาปณ์
๑๓
๑.๓) เปน็ คาท่ีประสมด้วยพยัญชนะ ฆ ฌ ญ ฏ ฏ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฤ ฬ คาบาลี สันสกฤตใช้อักษรครบตาม
จานวนอักษรในภาษาของตน ทั้งที่เขียนง่ายและยาก ซ่ึงต่างจากคาไทยแท้ เช่น ฆาต มัชฌิม สัญญา กุฎีโกฏิ วุฒิ
เณร พทุ ธ โลภ เศรษฐี ฤดู จฬุ า
๑.๔) เป็นคาท่ีใช้พยัญชนะเหมือนกันซ้อนกัน คาที่ยืมมาจากภาษาบาลีมักใช้พยัญชนะเหมือนกันซ้อนกัน
เช่น สักการะ บุคคล วิญญาณ เมตตา นิพพาน บัลลังก์
๑.๕) คาทีม่ ีรปู วรรณยุกต์และมไี ม้ไต่กากบั อยู่ ไมใ่ ชค่ าทีม่ าจากภาษาบาลี สันสกฤต
ตวั อยา่ ง คาภาษาบาลแี ละสันสกฤตทใ่ี ช้ในภาษาไทย กีฬา นิพพาน หทัย ปัญญา วัตถุ รัฐ สามัญ อัจฉริยะ
อัคคี วิทยาสังข์ พยัคฆ์ สมภาร สังคม บุปผา วิลาส ปฏิมา กรีฑา ธรรม ภรรยา อัศจรรย์ไอศวรรย์ สวามี ฤดี
พฤกษา ดรรชนี ปริศนา พศิ วาส ทฤษฎี พสิ ดาร สันติ ประณตี บษุ บา
๒. คาทย่ี ืมมาจากภาษาเขมร
เขมรกับไทยพรมแดนติดต่อกันและมีการถ่ายทอดวัฒนธรรมและภาษากันมาช้านาน ท้ัง ทางด้านการค้า
การเมือง การสงคราม ศาสนา วัฒนธรรม และพิธีกรรม ซ่ึงทาให้มีคายืม ภาษาเขมรอยู่ในภาษาไทยท้ังคาสามัญ
และราชาศัพท์ เชน่
ชนะ หมายถึง ทาให้อกี ฝ่ายหนง่ึ แพ้
เผด็จ หมายถึง ตดั ,ขจัด,ขาด
สาเรจ็ หมายถึง เสร็จ,แล้ว,บรรลุผล
ฉบับ หมายถึง ลักษณนามเรียกหนงั สอื ตน้ เดมิ ของหนงั สือ
เพลิง หมายถึง ไฟ
กงั วล หมายถงึ หว่ งใย,มีใจพะวงอยู่
ผจญ หมายถึง ตอ่ สู้,สู้รบ,สงคราม
เสบียง หมายถึง อาหารท่จี ะเอาไปกินระหว่างเดินทางไกล
จะสังเกตเห็นว่าคาที่ยืมจากภาษาเขมรมีตัวสะกดบางตัวแตกต่างจากคาไทยแท้ โดยคาที่ยืม มาจากภาษา
เขมรจะปรากฏตัว จ ร ล ญ เป็นตัวสะกด เพราะภาษาไทยรักษารูปเดิมของคาไว้ แต่จะ ออกเสียงตามแบบ
ภาษาไทย นอกจากน้ีคาทยี่ มื มาจากภาษาเขมรสว่ นใหญไ่ ม่ใช้รูปวรรณยุกตก์ ากบั
๑๔
๓) คาทยี่ มื มาจากภาษาชวา
ดนิ แดนชวาและไทยมีความสมั พันธก์ นั มาแต่โบราณการติดต่อค้าขาย การเผยแผ่ศาสนาและ วัฒนธรรมทา
ให้ไทยรับภาษาชวามาใช้ในภาษาไทยด้วย เม่ือพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราช นิพนธ์บท
ละครเร่ือง "อิเหนา" จนได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ทาให้คนไทยคุ้นเคยกับช่ือตัวละคร และซื่อเรียกต่างๆ
ตามที่ปรากฏในเรื่องคา ที่ยืมมาจากภาษาชวาจงึ เป็นทรี่ ้จู ักแพรห่ ลายในประเทศไทย เชน่
กริซ หมายถงึ มดี ปลายแหลม มี ๒ คม
บหุ ลัน หมายถึง ดวงเดอื น,พระจันทร์
บุหรง หมายถึง นกยงู
อังกะลงุ หมายถงึ เครอ่ื งดนตรชี นดิ หน่งึ ทาด้วยปลอ้ งไม้ไผ่ ใชเ้ ขย่า
ตนุ าหงัน หมายถงึ หมนั้ ไวเ้ พอ่ื แต่งงาน
ทเุ รียน หมายถงึ ชอ่ื ตน้ ไม้ ผลขรขุ ระ รสหวาน
ซ่าโบะ หมายถึง ผ้าห่ม
มะงมุ มะงาหรา หมายถงึ เท่ียวปา่ อาการที่ดั้นด้นเดินไปโดยไม่รทู้ ิศทาง
จะสังเกตเห็นว่าคาพื้นฐานของภาษาชวาส่วนใหญ่เป็นคา ๒ พยางค์แต่ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด คา
พ้ืนฐานในภาษาเป็นคาพยางค์เดียว ภาษาชวาไม่มีเสียงพยัญชนะควบกล้า ส่วนภาษาไทยมีพยัญชนะเสียง ท่ี
สามารถควบกล้ากับพยัญชนะ ร, ล, ว ได้ นอกจากน้ีภาษาชวาไม่ใช่ภาษาวรรณยุกต์เมื่อระดับเสียงของคา
เปลี่ยนไป ความหมายของคายังคงเดิม แต่ภาษาไทยเป็นภาษาวรรณยุกต์ เม่ือระดับเสียงของคาเปลี่ยนไป
ความหมายของคายงั คงเดิม แตภ่ าษาไทยเปน็ ภาษาวรรณยุกต์ กล่าวคือ เสียงวรรณยุกต์มีส่วนกาหนด ความหมาย
ของคา
๔. คาท่ียมื มาจากภาษาจีน
ไทยกับจีนมีความสัมพันธก์ นั ตง้ั แต่สมัยพ่อขนุ รามคาแหงมหาราชพระองค์โปรดเกล้าๆ ให้ นาช่างจีนเข้ามา
ทาเครอ่ื งถว้ ยชาม เรียกว่า “ชามสงั คโลก” มีเสียงเพ้ียนมาจาก “สวรรคโลก” คน ไทยและคนจีนติดต่อสื่อสารกัน
มานานจนมีการยืมคาภาษาจนี มาใช้ สว่ นใหญ่เป็นภาษาจนี แต้จว๋ิ และ ภาษาจีนฮกเก้ียน โดยคาภาษาจีนที่นามาใช้
ในภาษาไทย เชน่
๑๕
พะโล้ หมายถงึ ชอื่ อาหารชนดิ หนึง่
โละ หมายถงึ ทิง้ เสยี , ใส่ลง
เกีย๊ ว หมายถงึ อาหารชนิดหนงึ่ (แป้งหอ่ หมสู ับ)
เกะ๊ หมายถงึ ลิ้นชัก
กุ๊ย หมายถึง คนเลว นักเลง
แตะ๊ เอยี หมายถึง เงินสมนาคณุ
บะหม่ี หมายถึง อาหารชนิดหนงึ่ เปน็ เส้นๆ
ก๋ง หมายถึง ปู่
จะเห็นว่าคาที่ยืมมาจากภาษาจีนส่วนใหญ่มักมีเสียงวรรณยุกต์ตรีหรือจัตวาซ่ึงมีพยัญชนะ ต้นเป็นอักษร
กลาง นอกจากน้ีคาส่วนใหญจ่ ะประสมดว้ ยสระเสียงสน้ั เอยี ะ อัวะ
๕. คาทยี่ ืมมาจากภาษาอังกฤษ
การติดต่อค้าขาย การทูตกับชนชาติตะวันตกต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จนปัจจุบันที่ผู้คนท่ัว โลกสามารถ
ติดตอ่ สื่อสารกันไดอ้ ย่างไรพ้ รมแดน ดงั น้นั ภาษาไทยจึงรบั เอาภาษาอังกฤษเขา้ มาเป็น สว่ นหน่ึงของภาษา เชน่
ดรัมเมเยอร์ หมายถึง คทากร
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เคร่อื งอิเล็กทรอนกิ ส์แบบอตั โนมัติ
คอรร์ ปั ชัน หมายถงึ การฉ้อราษฎร์บงั หลวง
แอรค์ อนดิชนั หมายถึง เครื่องปรบั อากาศ
ไวโอลิน หมายถงึ เครอ่ื งดนตรีชนดิ หนึ่ง
เซอร์เวย์ หมายถึง สารวจ ฟุตบอล หมายถงึ ชือ่ กีฬาชนดิ หนึง่
สตารต์ หมายถงึ เรมิ่ ต้น
จะเหน็ ว่าคาท่ยี มื มาจากภาษาอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคาหลายพยางค์ โดยที่ภาษาอังกฤษมี การเปล่ียนแปลง
รูปคาตามลักษณะของไวยากรณ์ เช่น violin เป็น violins (ไวโอลิน ๒ ตัวข้ึนไป) แต่ เม่ือไทยยืมเข้ามาใช้จะไม่มี
การเปลี่ยนแปลงรูปคาไปตามลกั ษณะไวยากรณ์ มีการปรับเสียงให้เข้ากับ ระบบเสียงในภาษาไทย เช่น Football
ออกเสียงเป็น ฟดุ บอน นอกจากนยี้ ังมกี ารใชเ้ สยี งพยญั ชนะที่ ไมม่ ีในภาษาไทย เช่น เสียงพยัญชนะควบ ดร ในคา
ว่า ดรัมเมเยอร์
๑๖
๖. คาทยี่ ืมมาจากภาษาฝร่ังเศส
ฝรงั่ เศสเป็นชนชาติยุโรปท่ีเข้ามาติดต่อค้าขายกับไทยต้ังแต่ สมัยกรุศรีอยุธยา ภาษาไทยจึงปรากฏคาท่ียืม
มาจากภาษาฝรั่งเศสอย่เู ป็น จานวนมาก เช่น
โก้เก๋ หมายถึง หรหู รา
คปู อง หมายถงึ บัตรหรอื ตั๋ว
ครวั ซองด์ หมายถงึ ขนมปังประเภทหนงึ่
โซเฟอร์ หมายถงึ คนขบั รถยนต์
๗. คาทีย่ ืมมาจากภาษาพมา่
ภาษาพม่าแพรห่ ลายเขา้ มาในภาษาไทย ผา่ นการทาสงคราม การคา้ ขายและศิลปวัฒนธรรม เชน่
กะปิ (งาป)ิ หมายถึง ของเค็มทาจากกงุ้ หมักเกลือโขลก
ส่วย หมายถึง การเกบ็ ภาษอี ากรสมัยโบราณ
หม่อง หมายถึง คานาหน้าชอ่ื ผชู้ ายชาวพม่า (ในภาษาพมา่ หมายถึง น้อง)
บรรณานกุ รม
แน่งน้อย ดวงดารา. (๒๕๔๒). ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย. จันทบุรี : คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์
สถาบันราชภฏั ราไพพรรณ.ี
สภุ าพร มากแจง้ . (๒๕๓๕). ภาษาบาลี-สันสกฤตในภาษาไทย. พมิ พ์ครั้งที่ ๒. กรงุ เทพฯ : โอเดียนส โตร์.
พฒั น์ เพง็ ผลา. (๒๕๕๒).บาลสี ันสกฤตในภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพม์ หาวิทยาลยั รามคาแหง.
ลัดดา วรลัคนากุล. (๒๕๕๘). คาภาษาจีนในภาษาไทย. เข้าถึงเม่ือวันท่ี ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๐, จาก
http://www.royin.go.th/?knowledges=. คาภาษาจนี ในภาษาไทย (๑).
ชือ่ นางสาว ภัทรยี า นามสกุล ภผู าเวียง รหัส ๖๓๑๐๕๔๐๑๓๑๐๒๖
สาขาการสอภาษาไทย คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั มกุฏราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา
ประวตั ิการศึกษา
ระดบั ประถมศึกษา โรงเรยี นหนิ ลาดนาไฮวทิ ยาคม อาเภอสามเงา จงั หวัดตาก
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรียนหนิ ลาดนาไฮวทิ ยาคม อาเภอสามเงา จังหวดั ตาก
ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรยี นสามเงาวทิ ยาคม อาเภอสามเงา จงั หวัดตาก