0
สรปุ ผลการดาเนินงาน
ผูน้ าจติ สาอาพฒั นาชุมชน
ในการขับเคล่ือนศนู ย์ผ้นู าจิตอาสาพฒั นาชมุ ชน
ระดบั ดเี ด่น
ตามโครงการเสรมิ สรา้ งและพฒั นาผู้นาการเปลยี่ นแปลง
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ศนู ยผ์ นู้ าจิตอาสาพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
สานกั งานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
1
คานา
จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ ได้ดาเนนิ โครงการส่งเสริมการขับเคล่ือนการดาเนนิ งานผู้นาจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน ตามแนวทางของกรมการ
พัฒนาชุมชน เพ่ือเฉลิมพระเกียรติและถวายเป็นพระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เน่ืองในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 71 พรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2565 โดยจัดตั้งศูนย์ผู้นาจิตอาสา
พัฒนาชมุ ชน เพอื่ เป็นสถานท่ีบม่ เพาะภาวะผูน้ า ทักษะชวี ิต ทักษะอาชีพ การพฒั นาคุณภาพชีวิตประชาชนและการบรหิ ารจัดการ
ชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นศูนย์ประสานงานภาคีเครือข่ายจิตอาสาพัฒนาชุมชนระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน
และภาคีการพัฒนาชุมชนในพ้ืนท่ี ท้ัง 7 ภาคส่วน โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลาง ด้วยการส่งเสริมผู้นาชมุ ชน กลุ่ม องค์กร เครือข่าย
งานพัฒนาชุมชนที่เปน็ ทนุ ทางสงั คม ใช้พลังภูมิปญั ญาให้เปน็ พลงั ในการสรา้ งสรรค์งานพัฒนาชมุ ชน ส่งเสริมสนับสนนุ การพัฒนา
ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นา สร้างเสริมอุดมการณ์ทางานเพื่อสาธารณะในรูปแบบผู้นาจิตอาสาพัฒนา
ชุมชน มีจติ สานกึ รบั ผิดชอบต่อชมุ ชน มีบทบาทและมีส่วนรว่ มในการพัฒนาและเสริมสรา้ งชมุ ชนใหเ้ ข้มแข็งอย่างยงั่ ยนื ตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
หวังเป็นอยา่ งยงิ่ ว่า การดาเนนิ โครงการสง่ เสริมการขับเคล่ือนการดาเนินงานผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน จะสามารถสร้าง
ความสุขมาส่พู น่ี ้องประชาชนชาวจังหวัดกาฬสนิ ธุแ์ ละคนไทยทุกท่านทม่ี ีส่วนร่วมในการดาเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ผูน้ า
จิตอาสาพฒั นาชุมชนทุกทา่ น ท่ีเป็นสว่ นหน่งึ ในการขับเคลอ่ื นใหก้ ารดาเนนิ งานเป็นไปตามวตั ถปุ ระสงค์ ขอให้ทา่ นมีสขุ ภาพร่างกาย
แขง็ แรง กาลังใจทเี่ ต็มเปย่ี ม มีความสุขความเจรญิ รว่ มกนั ทาความดีและสร้างคุณประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาตติ ่อไป
สานกั งานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
2
สว่ นที่ 1 สารบญั
สว่ นท่ี 2
บทนา ความเปน็ มา ขอ้ มลู ทว่ั ไป
สว่ นท่ี 3
สว่ นท่ี 4 1) ผลสาเรจ็ เปน็ รปู ธรรมของทมี ขบั เคลอ่ื นศนู ยผ์ นู้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน
2) กระบวนการสรา้ งและพฒั นาทมี ผนู้ าการเปลย่ี นแปลง
ในการขบั เคลอื่ นศนู ยผ์ นู้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน
3) วธิ กี าร/แนวทางการขบั เคลอื่ นศนู ยผ์ นู้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชนใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื
4) การพฒั นาขยายผลและความคดิ สรา้ งสรรค์ ในกระบวนการขบั เคลอ่ื นการ
สรา้ งความมน่ั คงทางอาหารใหต้ อ่ เนอ่ื งอยา่ งยง่ั ยนื
แบบเสนอโครงการขอรบั การสนบั สนนุ การดาเนนิ งานฯ (งบประมาณ 10,000 บาท )
ภาคผนวก
3
ส่วนท่ี 1
บทนา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
จัดต้ังโครงการจิตอาสาพระราชทานข้ึน เพื่อเป็นการรวมความสมัครสมานสามัคคีของคนไทยทุกคนในการทากิจกรรม
สาธารณประโยชน์เพ่ือพัฒนาพืน้ ที่ในชุมชนต่าง ๆ ใหม้ ีความเจรญิ เพอื่ ให้เกิดประโยชนต์ อ่ ชุมชนอย่างถาวร โดยมีศูนยอ์ านวยการ
ใหญ่โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนวพระราชดาริ (ศอญ.) เป็นผู้ควบคุม กากับ ดูแล และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดในแต่ละ
จังหวัดเป็นผู้ให้การสนับสนุน และรวมการปฏิบัติของทุกภาคส่วนในกิจกรรมจิตอาสาพระราชทานให้เป็ยไปด้วยความเรียบร้อย
ตามพระราโชบายและวตั ถุประสงค์ของกจิ กรรม ทง้ั น้ี หนว่ ยราชการในพ้นื ทีน่ ้ัน ๆ จะเปน็ ผรู้ ับผิดชอบในการระดมกาลังพลมารว่ ม
การปฏิบัติกับประชาชนจิตอาสา การดาเนนิ การกิจกรรมจิตอาสาพระราชทานทุกหน่วยงาน สามารถริเริ่มกิจกรรมได้เอง แต่ต้อง
แจ้งการดาเนินกิจกรรมให้ผู้รบั ผดิ ชอบทราบเพ่อื เตรียมการใหก้ ารสนบั สนุนตามความจาเปน็ และความเหมาะสม
จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ดาเนินโครงการส่งเสริมการขับเคล่ือนการดาเนินงานผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ตามแนวทางของ
ก ร ม ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น เ พ่ื อ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ แ ล ะ ถ ว า ย เ ป็ น พ ร ะ ร า ช กุ ศ ล พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พ ร ะ ป ร เ ม น ท ร ร า ม า ธิ บ ดี ศ รี สิ น ท ร ม ห า ว ชิ ร า ล ง ก ร ณ พ ร ะ ว ชิ ร เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว เ นื่ อ ง ใ น โ อ ก า ส เ ฉ ลิ ม
พระชนมพรรษา 71 พรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2565 โดยจัดต้ังศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน เพื่อเป็นสถานท่ีบ่มเพาะ
ภาวะผ้นู า ทักษะชวี ิต ทกั ษะอาชพี การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนและการบริหารจัดการชมุ ชนเพ่อื การพัฒนาอย่างย่งั ยืน และ
เป็นศูนย์ประสานงานภาคเี ครือข่ายจิตอาสาพัฒนาชุมชนระหวา่ งภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคีการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ ท้ัง 7
ภาคส่วน โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลาง ด้วยการส่งเสริมผู้นาชุมชน กลุ่ม องค์กร เครือข่ายงานพัฒนาชุมชนท่ีเป็นทุนทางสังคม ใช้
พลังภูมิปัญญาให้เป็นพลังในการสร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชน ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ รวมถึงการ
พัฒนาภาวะผนู้ า สรา้ งเสรมิ อดุ มการณ์ทางานเพ่ือสาธารณะในรูปแบบผู้นาจิตอาสาพฒั นาชมุ ชน มีจติ สานึกรับผดิ ชอบตอ่ ชุมชน มี
บทบาทและมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาและเสรมิ สร้างชมุ ชนใหเ้ ขม้ แขง็ อย่างย่งั ยนื ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ความเปน็ มา
กรมการพัฒนาชุมชน ได้ให้ความสาคัญในการเสริมสร้างผู้นาชุมชน โดยการพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชน เพื่อเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของชมุ ชนในระดบั ตา่ ง ๆ ให้ผนู้ าชุมชนมีความรู้ คคู่ ณุ ธรรม สามารถบรหิ ารจดั การชุมชนของตนเองได้และเปน็ กาลัง
หลักในการขับเคลื่อนการดาเนินงานพัฒนาชุมชนในพื้นท่ี ขับเคล่ือนกิจกรรมการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนด้วยแนวคิดการสร้างการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังของผู้นาการเปลี่ยนแปลง เพ่ือสร้างพลัง
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Professional learning Community) : PLC ดังน้ัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้นาชุมชนให้
สามารถบูรณาการงานพฒั นาชุมชนเปน็ แกนนาหลกั ในการบริหารจดั การชุมชน ให้เขม้ แข็งพงึ่ ตนเองได้อยา่ งย่ังยนื กรมการพฒั นา
ชมุ ชน ไดจ้ ัดทาโครงการเสริมสรา้ งและพฒั นาผนู้ าการเปลย่ี นแปลง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ใหเ้ ป็นกลไกทส่ี าคญั ในการ
ขับเคล่อื นศนู ยผ์ ู้นาจติ อาสาพัฒนาชมุ ชน ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ประชาชน
จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ดาเนินโครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการดาเนินงานผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ตามแนวทางของ
ก ร ม ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น เ พ่ื อ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ แ ล ะ ถ ว า ย เ ป็ น พ ร ะ ร า ช กุ ศ ล พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พ ร ะ ป ร เ ม น ท ร ร า ม า ธิ บ ดี ศ รี สิ น ท ร ม ห า ว ชิ ร า ล ง ก ร ณ พ ร ะ ว ชิ ร เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว เ น่ื อ ง ใ น โ อ ก า ส เ ฉ ลิ ม
พระชนมพรรษา 71 พรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2565 โดยจัดต้ังศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์แห่งแรก ณ ศูนย์
เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง หมู่ท่ี 10 ตาบลเจา้ ทา่ อาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ เพ่ือเป็นสถานที่บ่มเพาะภาวะผู้นา
ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนและการบริหารจัดการชุมชนเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน และเป็นศูนย์
ประสานงานภาคเี ครือขา่ ยจิตอาสาพัฒนาชมุ ชนระหวา่ งภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคีการพฒั นาชุมชนในพ้นื ท่ี ทั้ง 7 ภาคส่วน
โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลาง ด้วยการส่งเสริมผู้นาชุมชน กลุ่ม องค์กร เครือข่ายงานพัฒนาชุมชนที่เป็นทุนทางสังคม ใช้พลังภูมิ
ปญั ญาใหเ้ ปน็ พลงั ในการสร้างสรรคง์ านพฒั นาชมุ ชน ส่งเสริมสนบั สนนุ การพฒั นาทกั ษะชีวติ ทักษะอาชพี รวมถงึ การพัฒนาภาวะ
ผู้นา สร้างเสรมิ อดุ มการณท์ างานเพือ่ สาธารณะในรูปแบบผู้นาจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน มจี ิตสานึกรับผดิ ชอบตอ่ ชมุ ชน มบี ทบาทและ
มีส่วนร่วมในการพัฒนาและเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งได้มีการขยายผล
จัดต้ังศูนยผ์ ู้นาจติ อาสาพัฒนาชมุ ชน ระดับอาเภอ ครบทุกอาเภอทั้ง 18 แห่ง/อาเภอ และศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน ระดบั ตาบล ครบ
4
ทุกตาบล จานวน 135 แห่ง/ตาบล โดยในการขับเคลื่อนการดาเนินงานศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชมุ ชนในพื้นที่ ได้นาแนวคิดการพัฒนา
พื้นท่ีและการออกแบบเชงิ ภมู ิสงั คมไทยเพ่อื สร้างการพึ่งตนเองและรองรับภยั พบิ ตั ิ ในรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” สร้างการ
มีส่วนร่วมของประชาชน มีภูมิคุ้มกัน ให้ชุมชนสามารถพ่ึงตนเอง และการที่ประชาชนปวารณาตนเองทางานด้วยความเต็มใจและ
เสียสละเพื่อส่วนรวม เพื่อเป็นการสนองแนวพระราชดาริพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องงานจิตอาสาเราทาความดี
ด้วยหัวใจ โดยอาศัยรูปแบบของผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนที่มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อชุมชนมีบทบาทและมสี ่วนร่วมในการพัฒนา
และการสรา้ งชมุ ชนท่ีเขม้ แขง็ อย่างยง่ั ยืน ในการสนบั สนุนนโยบายรัฐบาล ทีม่ ุ่งสบื สาน รักษา ต่อยอด และพัฒนาประเทศ
ขอ้ มลู ทว่ั ไป
ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์ ต้ังอยู่เลขท่ี 99 หมู่ที่ 10 ตาบลเจ้าท่า อาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ มีคุณ
อไุ ลย์ ทบวนั เปน็ ประธานศูนย์ฯ และมคี ณะกรรมศูนยฯ์ จานวน 25 คน ดังน้ี
1. นางอุไลย์ ทบวัน ปราชญช์ ุมชน ประธานฯ
2. นายจตภุ ทั ร ศรีอ่อน ปราชญช์ มุ ชน รองประธานฯ
3. นายประสทิ ธ์ิ สาระชร ผู้นาชมุ ชน เลขานกุ าร
4. นางสาวกานต์พิชชา จอมพมิ ูล ปราชญช์ มุ ชน ผู้ช่วยเลขานุการ
5. นายเรยี งฉันต์ ระดาฤทธ์ิ ผนู้ าชมุ ชน เหรัญญกิ
6. นางนวลละออ กมลภพ ขา้ ราชการครู ทป่ี รึกษา
7. นายธนกฤต ระวาดชัย นายกอบต.เจ้าทา่ ท่ีปรึกษา
8. นางวฒั นา ไสยวจิ ิตร ข้าราชการพลเรอื น ที่ปรกึ ษา
9. นางธาชินี กงจักร ขา้ ราชการพลเรือน ท่ปี รกึ ษา
10. นายคามอญ ศรีพงษ์เสรฐิ กานันตาบลเจา้ ท่า ที่ปรึกษา
11. จ่าเอกชิตษณพุ งษ์ เพียรสดบั ผู้นาชมุ ชน กรรมการ
12. นายเจรญิ บัวคาภู ผ้นู าชุมชน กรรมการ
13. นางกอร์ปกลุ อรญั รตุ ม์ ขา้ ราชการบานาญ กรรมการ
14. นางแสงเดือน ศรวี จิ ารย์ ปราชญช์ ุมชน กรรมการ
15. นางประมวล พมิ พาจันทร์ ปราชญ์ชมุ ชน กรรมการ
16. นางสุมณทา อนนั ทวรรณ ปราชญ์ชมุ ชน กรรมการ
17. นางจิตตนา ศรโี ยธี ปราชญช์ ุมชน กรรมการ
18. นางสิงหา ศรีประโชติ ข้าราชการบานาญ กรรมการ
19. นางมลวิ รรณ ขนั อาษา ปราชญ์ชมุ ชน กรรมการ
20. นางวราลักษณ์ สนนั่ เอ้อื ปราชญช์ มุ ชน กรรมการ
21. นายนฤมิตร ราชภักดี ผู้นาชุมชน กรรมการ
22. นางคาทูล เห็มนวน ปราชญช์ ุมชน กรรมการ
23. นางสุวรรณา ราชมณเทียร ปราชญช์ ุมชน กรรมการ
24. นายสวา่ ง ศรีวิสัย ูผู้นา อช. กรรมการ
25. นางหนรู ะพี หาญอาษา อสม. กรรมการ
ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียงได้รับการจัดต้ังข้ึนเปน็ ศูนย์ผ้นู าจติ อาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธ์ุตามประกาศ
กรมการพัฒนาชุมชน เรื่อง การจัดต้ังศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ประกาศ ณ วันท่ี 28 กันยายน 2564 ซ่ึงเดิม ศูนย์เรียนรู้
เกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง นาโดยคุณอุบล ทบวัน ประธานศูนยเ์ รียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง และเกษตรกรต้นแบบท่ีเข้าร่วม
โครงการโคกหนองนาโมเดล พ้ืนท่ีจานวน 15 ไร่ เปน็ เกษตรกรกรที่ปลูกพชื โดยใชพ้ น้ื ท่ีบรเิ วณท่นี าหลงั บา้ น จดั เปน็ สวนครัว เนน้
เกษตรอินทรีย์ โดยเข้ารับการอบรมเสริมทักษะและองค์ความรู้จากสานักงานเกษตร มีการพัฒนาต่อยอดเป็นเกษตรผสมผสาน
เชน่ ปลูกขา้ ว พืชผกั สวนครัว ไม้ผล เลยี้ งเปด็ เลีย้ งปลา ใชเ้ วลาประมาณ 7 ปี กจิ กรรมในสวนเป็นรูปธรรม ประสบความสาเรจ็ มี
รายได้จากการจาหน่ายผลผลิตเสริมเข้ามาในครัวเรือน ต่อมามีการพัฒนาต่อยอดเป็นแหลง่ เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง เป็น
5
ศูนย์เครอื ขา่ ยเกษตรทฤษฎีใหม่ และแปลงต้นแบบโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และได้รบั การจัดตั้งเปน็
ศนู ย์ผนู้ าจิตอาสาพฒั นาชุมชนจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ จากกรมพฒั นาชุมชน
การจดั ตั้งศนู ย์ผนู้ าจติ อาสาพัฒนาชุมชนจังหวดั กาฬสินธุ์
ตาบลต้นแบบในการขับเคล่ือนการดาเนนิ งานผนู้ าจิตอาสาพัฒนาชมุ ชนจังหวัดกาฬสินธุ์ ตาบลเจ้าท่า อาเภอกมลาไสย
จังหวัดกาฬสินธ์ุ ก่อต้ังข้ึนเมื่อปี 2523 โดยแยกหมู่บ้านออกมาจากตาบลธัญญาและตาบลดงลิง มาต้ังเป็นตาบลเจ้าท่า โดยมี
นายประสงค์ ณ ตะวัน ได้รับการเลือกตั้งเป็นกานันคนแรก ปัจจุบันตาบลเจ้าท่า มีหมู่บ้านในการปกครอง จานวน 16 หมู่บ้าน
ตาบลเจ้าท่าต้ังอยู่ทางทิศใต้ของอาเภอกมลาไสย ห่างจากอาเภอประมาณ 15 กม. มีเนื้อท่ีทั้งหมด 41 ตร.กม. หรือประมาณ
25,625 ไร่ สภาพภมู ิประเทศส่วนใหญเ่ ป็นทร่ี าบลมุ่ นา้ ท่วมขงั ได้ง่าย มคี ลองชลประทานไหลผ่าน เหมาะแกก่ ารทานา ดังนี้
6
7
8
9
ตาบลเจ้าทา่ อาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ เป็นพืน้ ท่ีท่ีมคี วามเหมาะสมในการเป็นสถานท่บี ่มเพาะภาวะผ้นู า ทกั ษะ
ชีวิต ทักษะอาชีพ การพัฒนาชุมชน ในการใช้คลังภูมิปัญญาเป็นพลังสร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชน กลุ่มต่าง ๆ ในพ้ืนที่มีการ
เช่ือมโยงเป็นเครือขา่ ยระหวา่ งภาคีการพัฒนา ท้งั 7 ภาคสว่ น (ภาครัฐ ศาสนา สถาบันการศึกษา เอกชน ประชาสงั คม ประชาชน
และประชาสัมพันธ์) จึงส่งผลให้การดาเนินงานผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนในพื้นที่ตาบลเจ้าท่า อาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธ์ุ
เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย เกิดผลสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม สร้างประโยชน์ สร้างความสขุ แก่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และ
ประเทศชาติ เกิดการพฒั นาและเสริมสรา้ งชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยง่ั ยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
10
ส่วนท่ี 2
1) ผลสาเรจ็ เปน็ รปู ธรรมของทมี ขบั เคลอื่ นศนู ยผ์ นู้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน
ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ดาเนินการขับเคลอื่ นกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชนมาอยา่ งต่อเน่อื ง ท้ัง
ในชุมชนและพ้ืนท่ีใกล้เคียง โดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมของเครือข่ายระหว่างภาคีการพัฒนา ทั้ง 7 ภาคส่วน (ภาครัฐ
ศาสนา สถาบนั การศกึ ษา เอกชน ประชาสงั คม ประชาชน และประชาสัมพนั ธ)์ ดงั น้ี
1.1 การสร้างความมั่นคงทางอาหาร ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์ มีการจัดกิจกรรมต่างๆ มากมาย
เพ่ือเป็นการรณรงค์และส่งเสริมให้ประชาชนเกิดการตื่นตัวหันมาปลูกผักสวนครัว ปลูกสมุนไพร การปลูกพืชผักผลไม้ในพื้นท่ี-
สาธารณะเพ่ือแบ่งปันในชุมชน การร่วมมือลงแรงผลิตแบ่งปันกล้าไม้ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ/น้าหมักชีวภาพ การแปรรูปและ
ถนอมอาหาร การเลี้ยงสัตว์ เป็นธนาคารเมล็ดพันธ์ุผกั และการแบง่ ปัน โดยรูปแบบในการดาเนนิ กิจกรรมของศูนย์ ด้วยเกษตรกร
อินทรีย์ยดึ มัน่ หลักการความพอเพียงในการท าเกษตรอนิ ทรยี เ์ ปน็ สาคญั น่นั คอื การเนน้ กนิ ทกุ อย่างทป่ี ลูก ปลกู ทุกอย่างที่กิน สว่ น
ทเี่ หลอื จึงนาไปแบง่ ปนั และขาย หลกั การนีส้ มั พันธ์กบั วธิ ีการผลติ เศรษฐกจิ วฒั นธรรม และความใสใ่ จตอ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่ิงแวดล้อม ซ่ึงเอื้อให้เกิดความม่ันคงทางอาหารท้ังในแง่การเข้าถึงอาหารปลอดภัยอย่างพอเพียง ความพอเพียงด้านเศรษฐกิจ
และความยั่งยนื ของการผลติ อาหาร ดงั น้ี
(1) กิจกรรมสร้างแหล่งอาหารในครัวเรือน เป็นสร้างแหล่งอาหารเองในครัวเรือนของประชาชนโดยการปลูก
พืชและเลี้ยงสัตว์หลากชนิดทาให้ประชาชนและสมาชิกในครอบครัวสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากแหล่งอาหารภายใน
บ้านเรือนสวนไร่นาเพอื่ นามาประกอบอาหารสาหรับการบริโภคในครัวเรือนได้ตามต้องการ อีกท้ังยังมีอาหารกินตลอดปีจากการ
ปลูกพืชและเลี้ยงสตั ว์ทหี่ ลากหลาย เปรียบเสมอื นกับมตี ลาดหรอื ซปุ เปอร์มารเ์ กตในบ้าน
(2) การเสริมสรา้ งเศรษฐกิจครัวเรือน เปน็ การทป่ี ระชาชนสามารถประหยัดรายจ่ายค่าอาหารภายในครัวเรือน
จากการเก็บหาผลผลิตภายในบ้านสวนไรน่ าของตนเองหรอื การแลกเปลีย่ นผลผลติ กบั เครอื ญาตแิ ละเพอ่ื นฝงู อกี ท้งั ยังมีรายได้จาก
การขายผลผลิตสาหรบั เปน็ คา่ ใชจ้ ่ายในชวี ิตประจาวันและการจดั ซอื้ อาหารท่ีไมส่ ามารถผลติ ไดเ้ ท่าท่ีจาเปน็ เช่น พืชและเนอ้ื สัตว์
บางชนิดน้าตาล น้าปลา น้ามัน ค่าใช้จ่ายด้านอาหารเฉลี่ยอยู่ที่วันละ 300 บาท ขึ้นกับจานวนสมาชกิ ในครัวเรือน ซึ่งมาดาเนิน
กิจกรรมแลว้ พบว่า ประชาชนมรี ายจ่ายด้านอาหารลดลงเฉลี่ยอยูท่ ว่ี นั ละไมเ่ กิน 100 บาท
11
(3) การเสรมิ สร้างวฒั นธรรมการแลกเปล่ยี นพึ่งพา คอื การท่ีประชาชนและชุมชนสามารถเข้าถึงอาหารไดอ้ ยา่ ง
ย่ังยืนผ่านการแลกเปล่ียนพึ่งพากันและกัน คนในชุมชนมักจะมีการแลกเปล่ียนวัตถุดิบและผลผลิตซึ่งกันและกัน เช่น การ
แลกเปลี่ยนเมล็ดพันธ์ุ การนาปลาไปแลกผัก การนาผักกาดไปแลกผักบุ้ง บางคร้ังมีการแบ่งปันพืชผักให้กับเพื่อนบ้านในชุมชน
บางครั้งเพอ่ื นบ้านกน็ าอาหารทีป่ รุงแลว้ ไปคืนใหก้ บั คนในชุมชนที่ใหผ้ ักมา หรอื มกี ารนาอาหารไปฝากใหก้ นั เป็นนา้ ใจ
1.2 การขับเคลื่อนการสร้างส่ิงแวดล้อมให้ย่ังยืนให้แก่ชุมชน ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ในวันสาคัญต่างๆ อาทิเช่น การ
ทาขยะเปียกรักษ์โลก/ขายขยะแลกทอง การจัดกิจกรรมดูแลรักษาต้นไม้สิ่งแวดล้อม การทาความสะอาดสถานที่สาธารณะ เป็น
ต้น
12
1.3 ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธ์ุ ดาเนินกิจกรรมเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ด้วยการดาเนินการ
กิจกรรมการมอบถุงยังชีพให้แก่ครัวเรือนที่มีความยากจนและได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรค COVID-19 เพ่ือเป็น
การช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนในเบื้องต้น อาทิเชน่ ตู้ยาต้อู าหารปันสุข กิจกรรมการสง่ เสรมิ ครอบครัวอบอุ่น/การดูแล
เด็ก สตรี เยาวชน คนดอ้ ยโอกาส/ยากจน และกลุ่มเปราะบาง เป็นตน้
2) กระบวนการสรา้ งและพฒั นาทมี ผนู้ าการเปลย่ี นแปลง
ในการขบั เคลอ่ื นศนู ยผ์ นู้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน
ศูนย์ผนู้ าจิตอาสาพัฒนาชมุ ชนจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ ไดม้ กี ารกาหนดระเบยี บศนู ย์ผนู้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน พ.ศ. 2565 เพ่ือ
เปน็ แนวทางในการดาเนินงานของศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนในทุกศนู ย์ในพ้นื ที่จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ ดังนน้ั วธิ กี ารคดั เลือกทีมผู้นา
จิตอาสาพัฒนาชมุ ชนจงึ ยดึ ตามแนวทางดงั กลา่ ว โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้
1. ศูนย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชน หมายถึง ศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่จัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นสถานท่ีบ่มเพาะภาวะผนู้ า ทักษะชวี ิต
ทักษะอาชีพ การพัฒนาชุมชน ในการใช้คลังภูมิปัญญาเป็นพลังสร้างสรรค์งานพัฒนาชมุ ชนในรูปแบบผู้นาจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน
เช่ือมโยงเปน็ เครือขา่ ยระหว่างภาคกี ารพฒั นา ทั้ง 7 ภาคสว่ น (ภาครัฐ ศาสนา สถาบันการศึกษา เอกชน ประชาสังคม ประชาชน
และประชาสัมพันธ์) เรยี กโดยยอ่ วา่ “ศ.จอส.พช.”
2. ผนู้ าจติ อาสาพฒั นาชุมชน หมายถงึ ผู้นาชมุ ชน กลุ่ม องคก์ ร เครือขา่ ยงานพัฒนาชมุ ชนท่เี ป็นทนุ ทางสงั คม ใช้คลงั ภมู ิ
ปัญญาให้เปน็ พลังในการสรา้ งสรรค์งานพัฒนาชมุ ชน เพอื่ พฒั นาทกั ษะชีวิต พฒั นาทักษะอาชพี พัฒนาภาวะผ้นู า สร้างอดุ มการณ์
ทางานเพ่อื สาธารณะ และพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ประชาชน มีจติ สานกึ รับผิดชอบต่อชมุ ชน มีบทบาทและมสี ่วนร่วมในการพฒั นาและ
สรา้ งชุมชนทเี่ ข้มแข็งอย่างยั่งยืน ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. คณะกรรมการศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน หมายถึง คณะกรรมการบริหารจัดการและขับเคลื่อนการดาเนินงาน
ศนู ย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ในระดบั จงั หวัด อาเภอ และตาบล โดยพิจารณาจากผูน้ าจิตอาสาพฒั นาชมุ ชนและเครือขา่ ย ท้งั ใน
ชมุ ชนและภาคกี ารพัฒนา ทง้ั 7 ภาคส่วน
4. ให้มีคณะกรรมการคณะหน่ึงเรียกว่า “คณะกรรมการศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน” ประกอบด้วย ผู้นาจิตอาสา
พัฒนาชุมชนและเครือข่าย ท้ังในชุมชนและภาคีการพัฒนา ท้ัง 7 ภาคส่วน จานวน 25 คน ให้นายอาเภอเป็นผู้ลงนามแต่งต้ัง
คณะกรรมการศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนตามคาแนะนาของพัฒนาการอาเภอ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน และประธาน
คณะกรรมการศูนย์ฯ และให้คณะกรรมการศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการศูนย์ผู้นาจิตอาสา
พฒั นาชมุ ชนอย่างนอ้ ยปีละสองคร้ัง
13
5. ให้คณะกรรมการศูนยผ์ นู้ าจติ อาสาพัฒนาชุมชนมีอานาจหน้าที่ ดังน้ี
(1) กาหนดนโยบาย และควบคมุ ดแู ลกิจการทัว่ ไปของศูนยผ์ นู้ าจิตอาสาพัฒนาชุมชน
(2) ออกระเบยี บ ขอ้ บังคบั เพอื่ ปฏิบัติการใหเ้ ปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์
(3) จดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารขับเคลอ่ื นการดาเนินงานศูนย์ผูน้ าจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน
(4) กากับดแู ลและประเมินผลความก้าวหนา้ ในการดาเนนิ งานศูนยผ์ ู้นาจิตอาสาพฒั นาชุมชน
ให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์
(5) จัดทาฐานข้อมูลเกยี่ วกบั การดาเนินงานศูนยผ์ ู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน
(6) ปฏบิ ตั ิการอ่ืน ๆ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย
6. การจัดตั้ง และการยุบเลิกศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ลงนามในประกาศฯ ตามการ
รายงานของอาเภอ
7. ศนู ยผ์ ูน้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชนมภี ารกิจ ดังนี้
(1) พัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพผนู้ าจิตอาสาพฒั นาชมุ ชนและเครอื ข่าย ทง้ั ในชมุ ชนและภาคกี ารพัฒนา ทั้ง 7 ภาค
สว่ น ในการสรา้ งสรรคง์ านพฒั นาชุมชน
(2) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ ารพฒั นาชุมชนในรปู แบบจติ อาสา
(3) เสริมสร้างความรว่ มมือและเครอื ขา่ ยผู้นาจติ อาสาในการสรา้ งสรรค์งานพัฒนาชมุ ชน
(4) จดั กจิ กรรมบม่ เพาะภาวะผนู้ า ทกั ษะชีวติ ทกั ษะอาชพี การพฒั นาคุณภาพชีวติ และการบริหารจัดการชุมชน เพ่ือ
การพ่งึ ตนเองอยา่ งยงั่ ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(5) ประสานงานผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนและเครือข่าย ทั้งในชุมชนและภาคีการพัฒนา ท้ัง 7 ภาคส่วน ในการ
สร้างสรรคง์ านพฒั นาชมุ ชน
(6) สนบั สนุนกระบวนการดาเนินงานจติ อาสาพัฒนาชมุ ชน
(7) สนบั สนนุ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการส่งเสริมการดาเนนิ งานจติ อาสาพัฒนาชุมชน
(8) สนบั สนนุ การดาเนินงานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(9) ส่งเสรมิ และประสานให้มกี ารจดั การความรู้ภมู ปิ ญั ญา
(10) สง่ เสริมให้ประชาชนมจี ติ สานึกรับผิดชอบต่อชมุ ชน มบี ทบาทและมสี ่วนร่วม ในการพัฒนาและเสริมสรา้ งชุมชน
ให้เขม้ แข็งอยา่ งยั่งยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(11) เปน็ พน้ื ทส่ี าหรบั การศึกษาดูงาน/เรยี นร/ู้ ฝึกปฏบิ ัติงานจติ อาสาพัฒนาชุมชน
(12) สง่ เสรมิ และดาเนินการกจิ การอื่น ๆ ท่ีเปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คม
8. ในกรณีท่ีคณะกรรมการศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน ตาแหน่งใด ๆ ในแต่ละระดับว่างลง เนื่องจากโยกย้าย
สบั เปลี่ยน หรือเหตอุ ่ืนใด หรอื เพ่อื ประโยชน์ในการส่งเสริมกิจการศนู ย์ผู้นาจิตอาสาพฒั นาชุมชน ใหอ้ าเภอจัดทาเปน็ คาสง่ั แต่งต้ัง
เพม่ิ เติม แล้วรายงานใหจ้ ังหวัดทราบ
14
9. ให้สานักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวัด และสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอจัดให้มีการฝึกอบรมหรือประชุมสัมมนา รวมทั้ง
ให้การสนับสนุนทางวิชาการแก่ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน เพ่ือให้เข้าใจบทบาทหน้าที่ และมีควา มรู้ความสามารถในการ
ดาเนนิ งานบรหิ ารจัดการและขับเคลื่อนการดาเนนิ งานศนู ยผ์ ู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
10. เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนมหี นา้ ทีต่ ิดตามสนบั สนนุ และประเมินผลการดาเนนิ งานของศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน
อยา่ งใกล้ชดิ รวมทัง้ ใหส้ รปุ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านให้จงั หวดั ทราบอยา่ งนอ้ ยปลี ะสองครัง้
11. ให้สานกั งานพฒั นาชมุ ชนจังหวัด และสานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอเผยแพร่ขา่ วสารที่เก่ียวขอ้ งกับศนู ย์ผูน้ าจติ อาสา
พฒั นาชมุ ชน
12. ให้อาเภอประสานความรว่ มมือระหว่างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ รวมทัง้ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ ทุกแห่ง ให้การ
สนบั สนุนการดาเนนิ งานและงบประมาณแกศ่ ูนย์ผนู้ าจิตอาสาพฒั นาชุมชนตามความเหมาะสม
15
3) วธิ กี าร/แนวทางการขับเคลอื่ นศนู ยผ์ นู้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน
ใหเ้ กดิ ความยง่ั ยนื
3.1 วิสยั ทศั นข์ องทีมผนู้ าการเปล่ยี นแปลงในการขบั เคล่อื นศูนยผ์ ้นู าจิตอาสาพัฒนาชมุ ชนจังหวดั กาฬสินธ์ุ เขา้ ใจปัญหา
แสวงหาองคค์ วามรู้ ถ่ายทอดภูมิปญั ญา ร่วมใจจติ อาสาพฒั นาชมุ ชนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้
อยา่ งยั่งยืน
16
1. เขา้ ใจปัญหา ร้จู กั พื้นทีแ่ ละปัญหาท่ีเกิดขน้ึ ในชุมชนอย่างแทจ้ ริง รวมท้งั ทราบถงึ สถานการณท์ ี่เกดิ ขึ้นในชุมชน
2. แสวงหาองค์ความรู้ รวมรวมองค์ความรู้จากปราชญ์ชุมชนและนอกชุมชน จัดเก็บในรูปแบบเอกสาร คลิป ร่วมทั้ง
พฒั นาองคค์ วามรทู้ ี่มตี อ่ ยอดให้สามารถนา ไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์แกช่ มุ ชนได้
3. ถ่ายทอดภูมิปัญญา นาองค์ความรู้ท่ีรวบรวมไว้ มาขยายผลสร้างให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน พร้อมทั้งถ่ายทอดองค์
ความรู้ต่างๆที่มใี ห้แก่คนในชมุ ชนนา ไปพฒั นาตนเอง ชมุ ชน และสงั คม
17
4. ร่วมใจจิตอาสาพัฒนาชุนชน ในทุกภาคส่วน ได้แก่ เจ้าหน้าท่ีภาครัฐ เอกชน ผู้นา ชุมชน และประชาชน ท้ัง 7 ภาค
ส่วน ดาเนินกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ด้วยการน้อมนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการพัฒนา เพ่ือให้เกิดชุมชน
พ่ึงตนเองได้อยา่ งย่งั ยืนร่วมใจจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน
3.2 แผนยกระดบั และพัฒนาศนู ย์ผู้นาจติ อาสาพัฒนาชมุ ชนจังหวัดกาฬสนิ ธุ์ โดยคณะกรรมการศูนยผ์ ูน้ าจติ อาสาพฒั นา
ชุมชนจังหวัดกาฬสินธ์ุ ได้ดาเนินการประชุมคณะกรรมการศูนย์ฯ เพื่อจัดทาแผนในการยกระดับและพัฒนาศูนย์ผู้นาจิตอาสา
พัฒนาชุมชน โดยดาเนินการในระหวา่ งวันท่ี 10 – 11 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง ม.10 ต.เจ้า
ท่า อ.กมลาไสย จ.กาฬสนิ ธ์ุ เพ่ือสร้างพลงั ชมุ ชนของผู้นาการเปล่ยี นแปลง ให้มีความรู้ ทักษะ และทัศนคติ ในการขับเคล่ือนศนู ย์
ผ้นู าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน
18
19
3.3 การบริหารจัดการศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน (4 M) ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธ์ุ ได้
ดาเนินการกากับดูแลและบริหารจัดการศูนย์ โดยใช้หลักของการบริหาร 4 M เข้ามาช่วยและนามาประยุกต์กับ "การพัฒนา
ชุมชน" คอื การพัฒนาการพัฒนาชุมชนใหด้ ขี น้ึ กว่าเดิม จึงต้องวิเคราะหส์ ถานการณภ์ ายในและภายนอกของชุมชนใหล้ ะเอียดก่อน
โดยใช้ (SWOT Analysis) เพื่อให้ทราบว่าชุมชนนั้นๆอยู่ในระดับใด และร่วมกับการนาวิสัยทัศน์มาใช้เพ่ือท่ีจะวางแผนในการ
พัฒนาชุมชนอย่างต่อเน่ืองในอนาคต แล้ววิเคราะห์ช่องว่างระหว่างจุดท่ีอยากจะไปให้ถึงกับจุดที่ตัวเองยืนอยู่ (Gap analysis)
จากนัน้ นา 4M ท่มี ีอยมู่ าวางแผนเพอ่ื ดาเนินการใหถ้ งึ จุดหมายที่ต้องการ ดังน้ี
1. MAN บุคลากร ศูนย์จิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์ ได้ดาเนินการสรรหาและพฒั นาทรัพยากรท้ังในและนอก
ศูนย์ ให้มีความรู้ความสามารถ และความเชี่ยวชาญที่หลากหลาย เพื่อเป็นพลังในการขับเคลื่อนและพัฒนาชุมชนอย่างต่อเน่ือง
และยัง่ ยนื
2. MONEY ทุน งบประมาณในการดาเนินงานของศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนโดยทั่วไปดาเนินกิจกรรมโดยไม่ใช้
งบประมาณของภาครัฐเน่ืองจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดาเนินการเปน็ การใช้พลังความร่วมมอื จากคนในชุมชนเปน็ การดาเนนิ การด้วย
จิตอาสาในการพฒั นาชุมชนอย่างแท้จริง
20
3. MATERIAL วัตถุดิบ วตั ถดุ ิบในการดาเนินงานของศนู ย์ผู้นาจิตอาสาพฒั นาชุมชน คือ องคค์ วามรู้ทม่ี ีในชุมชน ซงึ่ เปน็
ทรัพยากรที่มีคุณค่าในการใชเ้ ปน็ เครื่องมือสาหรับการพัฒนาชมุ ชนศูนย์ฯ มีหนา้ ทีใ่ นการรวบรวมองค์ความรู้พัฒนา แสวงหา และ
นาไปขยายผลต่อยอดให้คนในชุมชนนาองคค์ วามรทู้ ม่ี ีไปใช้ในการพัฒนาชุมชนให้เกดิ การพฒั นาอย่างยัง่ ยืน
4. MANAGEMENT การบริหารจัดการ ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน มีการแบ่งหน้าท่ีในคณะกรรมการศูนย์ผู้นาจิต
อาสาพัฒนาชุมชน อย่างชัดเจน มีการออกระเบียบ ข้อบังคับ เพ่ือปฏิบัติการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ โดยเน้นการทางานเป็น
ทีมและการมีสว่ นร่วมของทุกคนทั้งในและนอกชมุ ชน ทัง้ 7 ภาคี เครอื ข่าย
21
22
4) การพฒั นาขยายผลและความคดิ สรา้ งสรรค์ ในกระบวนการขบั เคลอื่ นการ
สรา้ งความมน่ั คงทางอาหารใหเ้ กดิ ตอ่ เนอื่ งอยา่ งยงั่ ยนื
ศูนย์จิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธ์ุ มีการขยายเครือข่ายศูนย์จิตอาสาพัฒนาชุมชน ไปในระดับอาเภอ จานวน
18 แห่ง/อาเภอ และในระดับตาบล จานวน 135 แห่ง/ตาบล ทาให้เกิดเครือข่ายที่มีสมาชิกมากถึง 3,850 คน ท่ีเข้ามามีส่วน
ร่วมในการเป็นผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธ์ุ เป็นพลังหลักในการพัฒนาขยายผลและความคิดสร้างสรรค์ ใน
กระบวนการขบั เคลื่อนการสรา้ งความมน่ั คงทางอาหารให้เกิดต่อเน่ืองอย่างยง่ั ยนื ให้แก่ประชาชนและคนในชุมชนในเขตพืน้ ท่ีของ
ศนู ยผ์ ู้นาจติ อาสาพฒั นาชมุ ชนและใกล้เคียง สามารถพฒั นาต่อยอดเปน็ แหลง่ เรียนรู้ ทม่ี ากกว่าแปลงเกษตร การปลุกพืชหรอื เลี้ยง
สัตว์ นอกจากนี้ยังสามารถท่ีจะเปิดเสริมด้วยจุดเช็คอิน ร้านกาแฟ ท่ีจะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจระดับชุมชน สามารถสร้างงาน และ
รายได้ตลอดปี ทั้งนี้ มีการพัฒนาต่อยอดในส่วนของการผลิต การแปรรูป การตลาด เพื่อขับเคลื่อนโครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบ
การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่ “โคกหนองนาโมเดล” ใหเ้ กิดความม่งั คัง่ ย่ังยนื ดว้ ยเกษตรปลอดภัย เพื่อ
สรา้ งความมั่นคงทางอาหาร สร้างรายได้ ลดรายจา่ ยในครัวเรอื น อกี ท้งั ส่งเสรมิ ผนู้ าชุมชน กลุม่ องค์กร เครอื ขา่ ยงานพัฒนาชมุ ชน
ที่เป็นทุนทางสังคม ใช้พลังภูมิปัญญาให้เป็นพลังในการสร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชน ส่งเสริมสนับสนุน การพัฒนาทักษะชีวิต
ทักษะอาชีพ รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นา สร้างเสริมอุดมการณ์ทางานเพ่ือสาธารณะในรูปแบบผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน มี
จิตสานึกรับผิดชอบต่อชุมชน มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาและเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง นอกจากนนั้ ศนู ยจ์ ิตอาสาพฒั นาชุมชนจังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ ยงั ดาเนินกจิ กรรมการขบั เคลอื่ นศนู ย์ผ้นู าจติ อาสา
พฒั นาชมุ ชน ระดับอาเภอ และระดับตาบล โดยดาเนนิ การรวมกับสานกั งานพฒั นาชมุ ชนจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ ดงั น้ี
1. ประสานอาเภอดาเนนิ การแต่งตง้ั คณะกรรมการศนู ยผ์ ูน้ าจติ อาสาพัฒนาชุมชน จานวน 25 คน/แหง่
2. ประสานอาเภอดาเนินการประชุมคณะกรรมการศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน เพื่อจัดทาแผนปฏิบัติการ
ขับเคล่อื นการดาเนินงานศนู ยผ์ นู้ าจติ อาสาพัฒนาชมุ ชน ระดับอาเภอ และระดบั ตาบล
3. ประสานอาเภอดาเนนิ การจดั กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั เน่ืองในโอกาสวนั ฉัตรมงคล
4 พฤษภาคม 2565 และกิจกรรม Kick off เปดิ ศูนยผ์ ู้นาจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน ระดบั อาเภอ ในระหวา่ งวันที่ 2 – 6 พฤษภาคม
2565
4. แจ้งแนวทางการดาเนินงานศูนยผ์ นู้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชนใหอ้ าเภอทราบและดาเนนิ การขบั เคลอ่ื นการดาเนินงาน
ตามแนวทางที่กรมการพฒั นาชุมชนกาหนด
5. เตรียมดาเนินการคัดเลือกศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนดีเด่น โดยประสานอาเภอจัดทาคลิปสรุปผลการ
ดาเนินงานศนู ย์ผนู้ าจิตอาสาพัฒนาชุมชน ความยาว 3 – 5 นาที เพือ่ เข้ารบั การคดั เลอื กศูนยผ์ ู้นาจติ อาสาพัฒนาชุมชนดเี ด่น
23
ภาพการจดั เวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ผู้นาจิตอาสาพฒั นาชุมชนสญั จร
ภาพการดาเนนิ การสนบั สนุนครวั เรือนยากจน
24
ภาพการขบั เคลอื่ นศนู ยผ์ ้นู าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน
25
ส่วนท่ี 3
แบบเสนอโครงการขอรบั การสนบั สนนุ การดาเนนิ งานฯ (งบประมาณ 10,000 บาท )
ตามโครงการเสรมิ สรา้ งและพฒั นาผนู้ าการเปลยี่ นแปลง ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ประเภทงบดาเนนิ งาน กรณี ไดร้ ับการคัดเลือกเป็นศนู ยผ์ นู้ าจิตอาสาพฒั นาชุมชน
ระดับดีเดน่ จะไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ 10,0๐๐ บาท (หนึง่ หมน่ื บาทถ้วน)
ศูนยผ์ ูน้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชนจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ (ศูนย์เรยี นรเู้ กษตรอนิ ทรีย์วิถพี อเพียง)
*******************
1. ชอื่ โครงการ รวมพลงั ผนู้ าจติ อาสาพฒั นาชมุ ชน แกไ้ ขปญั หาความยากจนดว้ ยหวั ใจ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒. ทมี่ า / หลกั การเหตผุ ล
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย จึงได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นกลไกสาคัญในการ
แก้ไขปัญหาความยากจน ลดความเหล่ือมล้า และพัฒนาคนทุกช่วงวัยอย่างบูรณาการในทุกพื้นที่ท่ัวประเทศ ภายใต้หลักการ
‘End poverty in all its forms everywhere’ ขจัดความยากจนทุกรูปแบบในทุกพื้นท่ี เป็นการวางเป้าหมายเพื่อลดความ
ยากจนในมติ ติ า่ ง ๆ ครอบคลมุ คนทุกเพศทกุ วยั ตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) ทใ่ี ห้ความสาคญั การพัฒนาคน
ทุกช่วงวัยสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ละลดความเหลอื่ มล้าด้วยการสร้างหลักประกันทางสงั คมแบบมุ่งเปา้ ในการ
พัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสู่วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” โดยการวัดความยากจนในระบบ TPMAPจะเปน็ การนาดัชนีความยากจนหลายมติ ิ
ศูนย์ผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นหน่ึงในกลไกการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนและพัฒนาคนทุก
ช่วงวัยอย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับจังหวัด ร่วมบูรณาการการแก้ไขปัญหาความยากจน ด้วยการ
ดาเนินกจิ กรรมจิตอาสาพฒั นาชุมชน ในช่วงระยะเวลา 1 ปี ทผี่ า่ นมา ซึ่งไดด้ าเนินการบ่มเพาะภาวะผู้นา ทกั ษะชวี ิต ทกั ษะอาชีพ
การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ประชาชนและการบรหิ ารจัดการชุมชนเพ่ือการพฒั นาอยา่ งย่ังยืน และเปน็ ศูนยป์ ระสานงานภาคีเครือข่าย
จิตอาสาพัฒนาชุมชนระหว่างภาครฐั ภาคประชาชน และภาคีการพัฒนาชมุ ชนในพ้นื ท่ี ทง้ั 7 ภาคส่วน โดยมีชมุ ชนเป็นศูนย์กลาง
ด้วยการส่งเสริมผู้นาชุมชน กลุ่ม องค์กร เครือข่ายงานพัฒนาชุมชนท่ีเป็นทุนทางสังคม ใช้พลังภูมิปัญญาให้เป็นพลังในการ
สร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชน ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นา สร้างเสริม
อุดมการณ์ทางานเพื่อสาธารณะในรูปแบบผู้นาจิตอาสาพัฒนาชุมชน มีจิตสานึกรับผิดชอบต่อชุมชน มีบทบาทและมีส่วนร่วมใน
การพัฒนาและเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการ
ดาเนินงานในพ้ืนท่ีอย่างต่อเนื่อง ท่ีสามารถเป็นส่วนหน่ึงในการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศไทยได้เป็นอย่างดี
และในปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหาความยากจนท่ีส่ังสมมานานและมีแนวโน้มท่ีจะมีความซับซ้อนมากยิ่งข้ึน เพราะความ
แตกต่างสถานะทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งคนจนและคนรวย ท่ีส่งผลให้เกิดความยากลาบากในการดาเนนิ ชีวติ ของประชากรท่จี ัดอยู่ใน
กลุ่มของคนยากจน รวมถึงการขาดโอกาสที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตในหลาย ๆ ด้าน โดยความยากจนครอบคลุมไปถึงการขาด
แคลนท่ีอยู่อาศัย การขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการสาธารณสุข การขาดโอกาสด้านการศึกษา และการทางาน ซึ่งส่งผลต่อการ
พัฒนาในระดับประเทศ ซ่ึงความยากจนมักถูกวัดจากระดับรายได้หรือระดับการบริโภคของบุคคลได้ การแก้ปัญหาความยากจน
อย่างเปน็ รูปธรรมน้ัน จาเป็นต้องมงุ่ เน้นการเสรมิ สร้างให้ตัวบคุ คลและชุมชนท้องถ่นิ มกี ารพ่ึงพาตัวเอง ส่งเสริมการประกอบอาชพี
ให้มรี ายไดเ้ พยี งพอในการดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งยัง่ ยืน
26
๓. วตั ถปุ ระสงค์
๓.1 เพอื่ พฒั นาศักยภาพสรา้ งอาชีพใหแ้ ก่ผู้ยากจนในพืน้ ท่ตี าบลเจ้าท่า อาเภอกมลาไสย จังหวดั กาฬสินธ์ุ จานวน 30 ครัวเรือน
๓.2 เพ่อื แกไ้ ขปัญหาความยากจนให้แกผ่ ู้ยากจนในพน้ื ทีต่ าบลเจา้ ท่า อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ จานวน 30 ครวั เรอื น
๓.3 เพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ทกั ษะ และสรา้ งรายได้ให้แก่ผู้ยากจนในพ้ืนทต่ี าบลเจ้าทา่ อาเภอกมลาไสย จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ จานวน
30 ครัวเรือน
3.4 เพื่อสร้างรายได้ ลดรายจ่าย ให้แก่ผู้ยากจนในพืน้ ทตี่ าบลเจา้ ท่า อาเภอกมลาไสย จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ จานวน 30 ครัวเรอื น
๔. กลมุ่ เปา้ หมาย
ผูย้ ากจนในพื้นทต่ี าบลเจ้าทา่ อาเภอกมลาไสย จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ จานวน 30 ครวั เรือน
๕. กระบวนการ/วธิ ดี าเนนิ การ (จะนาเงนิ ไปทาอะไรบ้าง ใชว้ ธิ กี ารทาอย่างไร)
ที่ กิจกรรมทีด่ าเนนิ การ รปู แบบ/วธิ ีการ ผลผลติ / ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ
(Action Plan) (How to) ผลลัพธ์ (วนั ) (บาท) (ทีมขับเคลอ่ื น
2๕ คน)
1 ก า ร ป ร ะ ชุ ม การประชุมคณะกรรมการศนู ยฯ์ ได้รายช่ือ 1 4,750 คณะกรรมการ
คณะกรรมการศูนย์ เ พื่ อ ด า เ นิ น ก า ร คั ด เ ลื อ ก กลุ่มเปา้ หมาย ศนู ย์ฯ
ผู้นาจิตอาสาพัฒนา กลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นครัวเรือน จานวน 30
ชมุ ชน ยากจนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตาบล ครวั เรอื น
เจ้าท่า อาเภอกมลาไสย จังหวัด
กาฬสินธุ์ และมีความสมัครใจ
เขา้ รว่ มกจิ กรรมฯ
ฝึกอบรมและเสริมสร้างความรู้
2 การอบรมฝึกอาชีพ ทักษะของการประกอบอาชีพ กลุ่มเปา้ หมาย 1 5,250 คณะกรรมการ
ส ร้ า ง ร า ย ไ ด้ ใ ห้ แ ก่ จานวน 1 วัน ดงั น้ี จานวน 30 ศูนย์ฯ
กล่มุ เป้าหมาย 1. เสริมสร้างและทักษะอาชีพ ครวั เรือน
และการวิเคราะห์อาชีพ ปัจจัย ไดร้ ับการ
ความสาเร็จในการประกอบ ฝึกอบรม
อาชีพ เพื่อให้เข้าใจแนวโน้ม อาชพี สรา้ ง
ความสาเร็จจากการประกอบ รายได้
อาชีพ โอกาสทางการตลาด และ
ก า ร พั ฒ น า ต่ อ ย อ ด ข ย า ย ผ ล
เพ่ื อใ ห้ ก า ร ป ร ะ ก อบ อ า ชี พ
ดั ง ก ล่ า ว เ กิ ด ก า ร ป ร ะ ส บ
ความสาเร็จ มีรายได้และเกิด
ความย่งั ยืน
2. การถ่ายทอดประสบการณ์
แ ล ะ อ ง ค์ ค ว า ม รู้ จ า ก ป ร า ช ญ์
ชุมชน/วทิ ยากร
3. สรุปประเมินผล/มอบหมาย
ภารกิจ
รวม 2 กิจกรรม รวมทั้งสิ้น 10,000 บาท
.../๖. งบประมาณ
27
๖. งบประมาณ ๑0,0๐๐ บาท (หนึ่งหม่นื บาทถ้วน) ตามรายละเอยี ดแนบทา้ ย
๗. ระยะเวลาดาเนนิ การ
- ระหวา่ ง วันที่ 1 มถิ นุ ายน – 1 กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖5
๘. สถานทด่ี าเนนิ การ
ศนู ยเ์ รียนรู้เกษตรอนิ ทรียว์ ถิ ีพอเพยี ง หม่ทู ี่ 10 ตาบลเจ้าทา่ อาเภอกมลาไสย จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
๙. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
1. ผยู้ ากจนในพน้ื ท่ตี าบลเจา้ ทา่ อาเภอกมลาไสย จงั หวัดกาฬสินธุ์ จานวน 30 ครวั เรอื น ได้รบั พฒั นาศักยภาพสร้างอาชพี
2. ผู้ยากจนในพื้นท่ีตาบลเจ้าทา่ อาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ จานวน 30 ครัวเรือน ได้รับแก้ไขปัญหาความยากจนให้แกผ่ ู้
ยากจน มรี ายจ่ายในครวั เรอื นลดลง
3. ผู้ยากจนในพ้ืนที่ตาบลเจ้าท่า อาเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ จานวน 30 ครัวเรือน พัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะ และสร้าง
รายได้
รายละเอยี ดงบประมาณแนบทา้ ยโครงการ (งบดาเนนิ งาน)
ชอื่ โครงการ รวมพลังผนู้ าจิตอาสาพัฒนาชุมชน แกไ้ ขปัญหาความยากจนด้วยหัวใจ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ที่ รายการ จานวน ราคาต่อหนว่ ย รวมเป็นเงนิ
(บาท)
หน่วย (บาท) 3,000
875
1 การประชมุ คณะกรรมการศนู ยผ์ ูน้ าจติ อาสาพัฒนา
600
ชมุ ชน
3,000
1. คา่ อาหารกลางวันผู้เข้าร่วมประชมุ จานวน 25 25 คน 120 875
1,650
คน ๆ ละ 1 ม้อื ๆ ละ 120 บาท เปน็ เงนิ 3,000
บาท (หกพนั บาทถ้วน)
2. คา่ อาหารว่างและเครื่องดมื่ สาหรับผเู้ ขา้ อบรม 25 คน 35
จานวน 25 คนๆละ 1 ม้ือ ๆ ละ 35 บาท เปน็ เงนิ
1,750 บาท (หนงึ่ พนั เจด็ รอ้ ยห้าสบิ บาทถ้วน)
2 การอบรมฝกึ อาชีพสรา้ งรายไดใ้ ห้แกก่ ลมุ่ เปา้ หมาย
1. คา่ สมนาคณุ วทิ ยากรทมี่ ีสงั กดั สานักงานพฒั นา 1 600
ชุมชนจงั หวดั กาฬสินธุ์ นายมชี ัย นาใจดี จานวน 2
ช่วั โมง ๆ ละ 600 บาท เปน็ เงิน 1,200 บาท (หนง่ึ
พันสองรอ้ ยบาทถ้วน)
2. ค่าอาหารกลางวันผู้เขา้ ร่วมประชมุ จานวน 25 25 คน 120
คน ๆ ละ 1 มอ้ื ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 3,000
บาท (หกพนั บาทถ้วน)
3. ค่าอาหารว่างและเคร่อื งด่ืมสาหรับผ้เู ข้าอบรม 25 คน 35
จานวน 25 คนๆละ 1 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เปน็ เงนิ
1,750 บาท (หน่งึ พนั เจด็ ร้อยหา้ สิบบาทถว้ น)
4. ค่าวัสดโุ ครงการฯ
รวมท้งั ส้ิน 10,000
ตัวอกั ษร : หนงึ่ หมนื่ บาทถว้ น
28
ลงชอ่ื ....................................................ผเู้ สนอโครงการ
(นางอไุ ลย์ ทบวัน)
ตาแหน่ง ประธานศูนยผ์ นู้ าจติ อาสาพฒั นาชุมชน
ลงชอ่ื ....................................................ผตู้ รวจสอบโครงการ
(นายอลงกรณ์ พลายแก้ว)
ตาแหน่ง นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนปฏิบตั กิ าร
ลงชอื่ ....................................................ผเู้ หน็ ชอบโครงการ
(นายอุทัย สิงห์ทอง)
ตาแหนง่ พัฒนาการจังหวดั กาฬสินธ์ุ
ลงชอื่ ....................................................ผอู้ นมุ ตั โิ ครงการ
(นายทรงพล ใจกริ่ม)
ตาแหนง่ ผ้วู า่ ราชการจังหวัดกาฬสินธุ์
29
ส่วนที่ 4
ภาคผนวก
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39