สรุปผลการดําเนินงาน
ผู้นําจติ สาอาพัฒนาชุมชน
ในการขับเคลื่อนศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน
ระดับดีเด่น
ตามโครงการเสรม� สรา้ งและพัฒนาผู้นําการเปลี่ยนแปลง
ประจาํ ป�งบประมาณ พ.ศ. 2565
ศูนย์ผู้นําจิตอาสาพัฒนาชุมชน ศูนย์เรย� นรูแ้ ละขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(โคก หนอง นา โมเดล) หมู่ที่ 5 ตําบลชะโนดน้อย อําเภอดงหลวง
สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดมุกดาหาร
คํานํา
สํานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัดมุกดาหารได้ดําเนินงานโครงการเสรม� สรา้ งและพัฒนาผู้นําการเปล่ียนแปลง ประจาํ ป�
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถของผู้นําชุมชนให้สามารถบูรณาการงานพัฒนา
ชุมชนเปน� แกนนาํ หลักในการบรห� ารจดั การชุมชน ให้เข้มแข็งพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน พัฒนาผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน
ด้วยการน้อมนาํ พระราชดําร �เรอ่ � ง ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ ประยุกต์โคก หนอง นา เป�นจุดเรม่ � ต้น
เพ่ือให้ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชนที่รว่ มขับเคลื่อนศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดมุกดาหาร เป�นแกนนําในการ
ขับเคล่ือนศูนยผ์ ู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชนให้ครบท้งั 52 ตําบลเพื่อเปน� กําลังหลักในการ คิด ทาํ นํา เปลี่ยน และขยายผล
ไปยงั ครวั เรอ� นทกุ ครวั เรอ� นเพื่อให้บรรลุเปา� หมาย “ทกุ ครวั เรอ� นคือคลังอาหาร ทกุ หมู่บ้านคือศูนยแ์ บ่งป�น”
หวังเป�นอยา่ งยงิ่ วา่ สรุปผลการดําเนินงานศูนยผ์ ู้นาํ จติ อาสาพัฒนาชุมชนในการขับเคล่ือนศูนย์ผู้นําจติ อาสา
พัฒนาชุมชน ศูนย์เรย� นรูแ้ ละขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) หมู่ที่ 5 ตําบลชะโนดน้อย
อาํ เภอดงหลวง จงั หวดั มุกดาหาร จะเปน� ประโยชน์ในการ พฒั นา ขับเคล่ือนการสรา้ งความมั่นคง มงั่ ค่ัง ยงั่ ยืนของพี่น้อง
ประชาชน
ศูนยผ์ ู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชนจงั หวดั มุกดาหาร
พระและความสรา้ งสรรค์ ในบรห� ารจดั การกําหนดทศิ ทางการพัฒนาของชุมชน ด้วยความเข้าใจทถ่ี กู ต้องใน
บรบ� ทและภูมิสังคม สามารถบูรณาการเสรม� สรา้ งความม่ันคงทางด้านอาหาร สรา้ งภูมิค้มุ กันทางสงั คม และสรา้ ง
ส่ิงแวดล้อมให้ยง่ั ยืน จากผู้นาํ การเปล่ียนแปลงท่วั ประเทศท่ีเข้ารว่ มโครงการฯ ครอบคลุมทั้ง ๗๖ จงั หวัด ๘๗๘ อาํ เภอ
และมีตําบลต้นแบบ เข้ารว่ ม 1,๐00 ตําบล โดยมีกลไกสําคัญ คือ ผู้นําการ
เปล่ียนแปลง 15,000 คน
โครงการเสรม� สรา้ งและพัฒนา ผู้นาํ การเปลี่ยนแปลง ซง่ึ คณะผู้จดั ทาํ หวงั เป�นอยา่ งยิง่ วา่ เอกสารฉบบั น้ี จะ
เกิดประโยชน์กับผู้นาํ การเปล่ียนแปลง เจา้ หน้าทีพ่ ัฒนาชุมชนทกุ ระดับ หน่วยงานภาคีเครอ� ข่าย และผู้ที่
เกี่ยวข้องในการใชป้ ระโยชน์สําหรบั การพัฒนา ในระดับพื้นท่ีในการเสรม� สรา้ งและพัฒนาผู้นําการ
เปล่ียนแปลงสนับสนุนกระบวนการมีส่วนรว่ มของประชาชน ให้มีภูมิคุ้มกัน ให้ชุมชนสรา้ งชุมชน
เข้มแข็ง เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงพ่ึงตนเองได้อย่างย่ังยืน หน้า
สารบญั
เรอ่ � ง
ส่วนท่ี 1 บทนํา ความเป�นมา ข้อมูลทวั่ ไป 1
ส่วนท่ี 2 1) ผลสําเรจ็ เปน� รูปธรรมของทีมขับเคล่ือนศูนยผ์ ู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน 4
8
2) กระบวนการสรา้ งและพัฒนาทมี ผู้นําการเปลี่ยนแปลง
ในการขับเคล่ือนศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน 9
11
3) วธ� กี าร/แนวทางการขับเคล่ือนศูนยผ์ ู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชนให้เกิดความยัง่ ยืน
4) การพัฒนาขยายผลและความคิดสรา้ งสรรค์ ในกระบวนการขับเคล่ือนกา 15
16
สรา้ งความมั่นคงทางอาหารให้ต่อเน่ืองอย่างยงั่ ยนื
ส่วนที่ 3 แบบเสนอโครงการขอรบั การสนับสนุนการดําเนินงานฯ (งบประมาณ 10,000 บาท )
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก
~1~
ส่วนท่ี 1
บทนาํ ความเป�นมา ข้อมูลทวั่ ไป
1.ท่ีตั้งและอาณาเขต
จงั หวัดมุกดาหาร ต้ังอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ
สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว โดยมีแม่น้าโขงเป�นเส้นกั้นพรมแดน ตั้งอยู่เส้นรงุ้ ที่ ๑๖ – ๑๗ องศา เหนือ และ
เส้นแวงท่ี ๑๐๔ – ๑๐๕ องศาตะวันออก มีพ้ืนท่ีท้ังหมด ๔,๔๐๗ ตร.กม. หรอ� ๒,๗๑๒,๔๐๐ ไร่ อยู่ห่างจาก
กรงุ เทพมหานคร ระยะทาง ๖๔๒ กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจงั หวัดใกล้เคียง ดังน้ี ทิศเหนือ ติดต่อกับอําเภอนาแก
อําเภอธาตุพนม จงั หวดั นครพนม และอาํ เภอเต่างอย จงั หวัดสกลนคร ทิศใต้ ติดต่อกับอําเภอเลิงนกทา จงั หวัดยโสธร
อาํ เภอชานมุ าน จงั หวัดอํานาจเจรญ� และอําเภอหนองพอก จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกับแขวงสะหวันนะเขต
สปป.ลาว โดยมีแม่น้าโขงเปน� เส้นกั้นพรมแดน ทิศตะวนั ตก ติดต่อกับอําเภอเขาวง อาํ เภอกุฉินารายณ์ จงั หวัดกาฬสินธุ์
และอําเภอเมยวดี จังหวัดรอ้ ยเอ็ด ลักษณะภูมิประเทศ ทางทิศเหนือและทิศใต้ของจงั หวัดเป�นท่ีราบสูง ทางทิศ
ตะวันตกมีเทือกเขาภูพาน มีลักษณะเป�นป�าไม้ บางแห่งเป�นป�าทึบ ส่วนทิศตะวันออกเป�นที่ราบสลับป�าไม้ และมีแม่น้า
โขงเป�นเส้นก้ันพรมแดนระหวา่ งประเทศ ไทยกับสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว มีความยาวประมาณ ๗๒ กม. มี
พื้นทร่ี าบ รอ้ ยละ ๒๐ ของพื้นท่ี ท้ังจงั หวัด ทรพั ยากรธรรมชาติมีความอุดมสมบูรณ์มีพ้ืนท่ีป�าไม้ประมาณ ๙๕๓,๓๐๐ ไร่
คิดเป�นรอ้ ยละ ๓๕.๑๕ ของพ้ืนท่ีจงั หวัด ลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศจงั หวัดมุกดาหาร แบ่งออกได้ ๓ ฤดูกาล
ดังน้ี ฤดูรอ้ น เรม่ � ต้ังแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ - กลางเดือนพฤษภาคม จะมีมวลอากาศเย็นหรอ� บรเ� วณความ กดอากาศ
สูงแผ่ลงมาปะทะกับมวลอากาศรอ้ น ซง่ึ จะท้าให้บรเ� วณดังกล่าวเกิดพายุฝนฟ�าคะนองลมกระโชกแรง เกิดขึ้นได้ หรอ�
เรย� กอีกอย่างว่า พายุฤดูรอ้ น ซงึ่ จะสรา้ งความเสียหายเกิดขึ้นในบรเ� วณที่พายุเคลื่อนผ่านอยู่ใน บรเ� วณแคบๆ ฤดูฝน
เรม่ � ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม - กลางเดือนตุลาคม จะเกิดฝนทิ้งชว่ งประมาณปลายเดือน มิถุนายน - ต้นเดือน
กรกฎาคม ปรม� าณฝนที่ได้เกิดจากลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้พัดเอาความชน้ื เข้ามา และ ๒ ปรม� าณฝนท่ีเกิดจากรอ่ งฝน
หรอ� รอ่ งความกดอากาศต้่า พาดผ่านในแนวตะวันออก-ตก ท้าให้เกิดพายุฝนฟ�าคะนอง เป�นบรเ� วณกว้าง ส่วนท่ีปรม� าณ
ฝนมากท่ีสุดก็จะเห็นได้จากพายุหมุนเขตรอ้ นจากทะเลจนี ตอนใต้เคล่ือนเข้ามาป� หนึ่งประมาณ ๒-๓ ลูก จะเกิดฝนตก
เป�นบรเ� วณกวา้ ง ฤดูหนาว เรม่ � ตั้งแต่กลางเดือนตุลาคม - กลางเดือนกุมภาพันธ์ จะมีมวลอากาศเย็นหรอ� บรเ� วณความ
กด อากาศสูงจากประเทศจนี แผ่ลงมาปกคลุมบรเ� วณดังกล่าวท้าให้อากาศหนาวเย็นและแห้งโดยทั่วไป ปรม� าณฝน
ความชนื้ สัมพัทธ์ อุณหภูมิ รายการ ป� ๒๕๕๑ ป�๒๕๕๒ ป�๒๕๕๓ ปรม� าณฝนตลอดทัง้ ป(� มิลลิเมตร) ๑,๔๐๐.๑๐ ๑,๒๑๒.๐๐
๑,๗๔๐.๖๐ จา้ นวนวนั ทม่ี ีฝนตกตลอดท้ังป�(วนั ) ๑๓๓ ๑๐๖ ๑๑๐ ความชน้ื สัมพัทธเ์ ฉลี่ยตลอดท้งั ป(� รอ้ ยละ) สูงสุด ๙๕.๕๘
๙๕.๑๗ ๙๔.๑๗ ต่้าสุด ๔๓.๕๐ ๓๙.๓๓ ๓๖.๕๘ เฉล่ีย ๗๔.๒๓ ๗๑.๙๘ ๗๐.๖๒ อุณหภูมิเฉล่ียตลอดท้ังป�(องศาเซลเซยี ส)
สูงสุด ๓๕.๖๘ ๓๖.๓๘ ๓๖.๗๗ ต้่าสุด ๑๘.๕๘ ๑๘.๙๙ ๑๙.๓๔ เฉลี่ย ๒๕.๘๖ ๒๗.๖๘ ๒๘.๒๐ หมายเหตุ : ข้อมูลป� ๒๕๕๔
อยู่ในระหว่างด้าเนินการ ประชากรและเขตการปกครอง ประชากร (ข้อมูล ณ กันยายน ๒๕๕๔) จา้ นวนประชากรของ
จังหวัดท้ังสิ้น ๓๓๙,๘๓๖ คน แยกเป�น เพศชาย ๑๗๐,๔๓๗ คน เพศหญิง ๑๖๙,๓๙๙ คน ประกอบด้วยชนพื้นเมือง
๘ เผ่า ได้แก่ ผู้ไท ไทยย้อ ไทยข่า ไทยโซ่ ไทยกะเลิง ไทยแสก ไทยกุลา และไทยอีสาน เขตการปกครอง จงั หวัด
มุกดาหารแบ่งเขตการปกครองเป�น ๗ อําเภอ ๕๒ ตําบล ๕๒๖ หมู่บ้าน องค์การบรห� ารส่วน จงั หวัด (อบจ.) ๑ แห่ง
เทศบาลเมือง ๑ แห่ง เทศบาลต้าบล ๒๒ แห่ง และองค์การบรห� ารส่วนต้าบล (อบต.) ๓๑ แห่ง
/2.โครงสรา้ ง…
~2~
2.โครงสรา้ งพ้ืนฐาน
การไฟฟ�า จงั หวดั มุกดาหารมีการไฟฟ�า ๒ หน่วยงาน คือ
1. การไฟฟ�าฝ�ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) Electricity Generating Authority of
Thailand (EGAT) ฝ�ายปฏิบัติการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดกระทรวงพลังงาน มีสถานีไฟฟ�าแรงสูง ภายใน
จงั หวัด มุกดาหาร
2. การไฟฟ�าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) Provincial Electricity Authority สังกัดกระทรวงมหาดไทย
การไฟฟ�าส่วนภูมิภาคจงั หวัดมุกดาหาร เป�นการไฟฟ�าชน้ั ๑ สังกัดการไฟฟ�าส่วนภูมิภาคเขต ๒ (อุบลราชธานี) มี การ
ไฟฟ�าสาขา จา้ นวน ๑ แห่ง คือ การไฟฟ�าสาขาอ้าเภอค้าชะอี และการไฟฟ�าสาขาย่อย จา้ นวน ๖ แห่ง คือ ๑) การไฟฟ�า
สาขายอ่ ยอ้าเภอหนองสูง ๒) การไฟฟ�าสาขายอ่ ยอ้าเภอนิคมค้าสรอ้ ย ๓) การไฟฟ�าสาขาย่อยต้าบลกก ตูม ๔) การไฟฟ�า
สาขาย่อยอ้าเภอหว้านใหญ่ ๕) การไฟฟ�าสาขายอ่ ยอ้าเภอดงหลวง ๖) การไฟฟ�าสาขายอ่ ยอาํ เภอ ดอนตาล
3.การประปา จงั หวัดมุกดาหาร มีการประปาส่วนภูมิภาค สาขามุกดาหาร จา้ นวน ๑ แห่ง ให้บรก� าร
ในเขตเทศบาล เมืองมุกดาหาร โดยใชน้ ้าจากแม่น้าโขงเป�นแหล่งน้าดิบ มีเขตจา้ หน่ายน้าในความรบั ผิดชอบของการ
ประปา ส่วนภูมิภาค สาขามุกดาหาร อีกจา้ นวน ๕ แห่ง คือ ค้าชะอี ดอนตาล หวา้ นใหญ่ ดงหลวง และนิคมค้าสรอ้ ย
4.การคมนาคมขนส่งและการส่ือสาร การคมนาคม การคมนาคม (ทางบก) เส้นทางคมนาคมในเขต
จงั หวัดมุกดาหาร แบง่ เป�นสายทางตามหน่วยงาน รบั ผิดชอบ ดังนี้ ๑) เส้นทางที่อยู่ในเขตความรบั ผิดชอบของกรมทาง
หลวง ได้แก่ ทางหลวงหมายเลข ๑๒, ๒๑๒, ๒๐๓๔, ๒๑๐๔, ๒๒๗๗, ๒๒๘๗, ๒๒๙๒, ๒๓๓๙ และ ๒๓๗๐ รวมระยะทาง
ทง้ั ส้ิน ๔๑๙.๘๖๖ กิโลเมตร ๒) เส้นทางที่อยูใ่ นความรบั ผิดชอบของส้านักงานทางหลวงชนบทจงั หวัดมุกดาหาร ถ่ายโอน
ภารกิจให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในป� ๒๕๔๖ จา้ นวน ๗๐ สาย ป� ๒๕๔๗ จา้ นวน ๓๓ สาย รวมระยะทาง ท้ังส้ิน
๔๐๑.๗๖ กิโลเมตร และยังมีโครงข่ายทางหลวงชนบท ท่ีอยู่ในความรบั ผิดชอบ จา้ นวน ๑๓ สาย ระยะทาง รวมทั้งสิ้น
๒๕๔.๐๓๒ กิโลเมตร ซงึ่ ในป�งบประมาณ ๒๕๕๕ มีการปรบั ปรงุ เพ่ิมเติมถนนโครงข่ายทาง หลวงชนบท เพิ่มเปน� ๒๖ สาย
ทาง ระยะทางรวมท้ังส้ิน ๔๘๐.๙๔๘ กิโลเมตร
3. ด้านสังคม การศึกษา
จงั หวัดมุกดาหารมีสถานศึกษา จา้ นวน ๓๑๓ แห่ง จา้ แนกตามสังกัดออกเป�น สังกัดส้านักงานเขต
พ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร ๒๔๖ แห่ง สังกัดส้านักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๒ (มุกดาหาร)
๓๐ แห่ง สังกัดส้านักงานคณะกรรมการบรห� ารการศึกษาเอกชน ๑๐ แห่ง สังกัดส้านักบรห� ารงานการศึกษาพิเศษ ๒
แห่ง สังกัดส้านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ๘ แห่ง สังกัดส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ ๑ แห่ง สังกัดส้านักงาน
คณะกรรมการอุดมศึกษา ๘ แห่ ง สังกัดส้ านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ๓ แห่ง สังกั ดส้านักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ๒ แห่ง สังกัดองค์การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ๓ แห่ง มีนักเรย� น/นักศึกษาตั้งแต่ระดับ การศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานจนถึงระดับปรญ� ญาตร � จา้ นวน ๗๓,๓๔๘ คน และมีครูผู้สอน จา้ นวน ๓,๘๓๑ คน อัตราเฉลี่ย นักเรย� นต่อครู
เท่ากับ ๑๙:๑
4. ศาสนา
จงั หวัดมุกดาหาร มีผู้นับถือศาสนาพุทธ คิดเป�นรอ้ ยละ ๙๖.๘๐ ศาสนาอิสลาม รอ้ ยละ ๐.๒ ศาสนา
ครส� ต์ รอ้ ยละ ๓ และมีศาสนสถานแยกได้ ดังนี้ ศาสนาพุทธ มีวัดในพระพุทธศาสนา จา้ นวน ๓๔๙ วดั ได้รบั พระราชทาน
วส� ุงคามสีมา จา้ นวน ๑๘๓ แห่ง เป�นส้านักสงฆ์ ๑๖๘ แห่ง ทพ่ี ักสงฆ์ ๒๑๐ แห่ง ศาสนาครส� ต์ มีโบสถ์ครส� ต์ ๙ แห่ง
ศาสนาอิสลาม มีมัสยิด ๑ แห่ง
/5. ศิลปวฒั น…
~3~
5. ศิลปวฒั นธรรมและประเพณี
ประชาชนจงั หวัดมุกดาหาร ยดึ มั่นและสืบทอดประเพณีวฒั นธรรมอย่างเหนียวแน่นและต่อเน่ือง
คนมุกดาหารเปน� คนใจดี กิรย� ามารยาท อ่อนน้อมถ่อมตน และเอ้ือเฟ้ �อ ซงึ่ กันและกัน ซง่ึ จากหลักฐานทไี่ ด้ ๑๘ รวบรวม
ไวม้ ีปรากฏถึง ๘ ชนเผ่า ดังค้าขวญั ของมุกดาหาร ตอนหนงึ่ ว่า “แปดเผ่าชนพื้นเมือง” อันได้แก่ ชาวผู้ไท ชาวไทยญ้อ
ชาวไทยข่า ชาวไทยโซ่ ชาวไทยกะเลิง ชาวไทยแสก ชาวไทยกุลา และชาวไทยอีสาน ชาวมุกดาหารส่วนใหญ่ นับถือ
ศาสนาพุทธ มีขนบธรรมเนียมประเพณีทสี่ ้าคัญ และยงั คงถือปฏิบตั ิสืบต่อ กันมา คือ “ฮีตสิบสอง ครองสิบสี่” และยงั คง
มีวัฒนธรรม ประเพณีของชนเผ่าทีค่ วรอนุรกั ษ์ ฟ้ �นฟู และยงั คงมี อยู่ในปจ� จุบนั เพื่อส่งเสรม� การทอ่ งเทีย่ ว คือ ประเพณี
ป�ดบ้าน ประเพณีส่วงเฮือ ประเพณีแห่กัณฑ์หลอน พิธกี รรม โซถ่ ั่งบ้ัง พิธเี หยา พิธบี ายศรส� ู่ขวัญ การรา้ เต้ยหัวดอนตาล
การรา้ วงผู้ไท การล้าผญา เปน� ต้น งานประเพณีที่ส้าคัญของจงั หวดั มุกดาหาร ได้แก่ งานประเพณีแข่งเรอ� ออกพรรษา
ระหว่างจงั หวดั มุกดาหารกับแขวงสะหวนั นะเขต จดั ขึ้นในวนั ข้ึน ๑๓ – ๑๕ ค้่า เดือน ๑๑ ของทกุ ป� งานกาชาดและงาน
ประจา้ ปจ� งั หวดั มุกดาหาร จดั ขึ้นเปน� ประจาํ าทุกปใ� นชว่ งเดือนมกราคม
/ส่วนที่ 2 ...
~4~
ส่วนท่ี 2
1) ผลสําเรจ็ เปน� รปู ธรรมของทีมขับเคลื่อนศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน
1. หมู่บ้านสามารถดูแลได้ทง้ั ตําบล สรา้ งความม่ันคงด้านอาหารด้วยหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.1 การสรา้ งความมั่นคงทางอาหารมีตู้เย็นอยู่รอบบ้านคือ มีการปลูกผักสวนครวั เชน่ ขิง ข่า
ตะไคร้ ใบมะกรูด พรก� มะเขือ บวบ ฝรงั่ มะม่วง มีการเลี้ยงปลาในบ่อเล้ียงเป�ด เลี้ยงไก่ มีการทําน�าหมักชวี ภาพจาก
เศษอาหาร มีการทําน�าส้มควันไม้ เพ่ือไล่แมลง และมีตู้ยาอยู่รอบบ้านโดยการปลูกพืชสมุนไพรต้านโควด� เชน่ กระชาย
ฟ�าทะลายโจร สามารถนํามาบรโ� ภคเพื่อเปน� ยาสมุนไพรทางเลือกได้ มีการแบ่งป�นกล้าไม้และผลผลิตท่ีได้จากศูนยเ์ รย� นรู้
ผู้นาํ จติ อาสาพัฒนาชุมชนจงั หวดั มุกดาหาร
/.2 การสรา้ ง…
~5~
1.2 การสรา้ งสิ่งแวดล้อมให้ยง่ั ยนื มีการดําเนินการแยกขยะในพ้ืนท่ี เชน่ การนาํ เศษอาหารไปทาํ
น�าหมักชีวภาพเพื่อไว้รดน�า พืชผักที่ปลูกไว้ มีการแยกขยะรไ� ซเคิล เพื่อนําไปขายเพ่ือเป�นการสรา้ งรายได้หรอ� นําไปใช้
ใหม่เพื่อเปน� การลดค่าใชจ้ า่ ยในครวั เรอ� น เชน่ ขวดนา� ดื่มก็เอามาทาํ เป�นกับดักไล่แมลง การปลูกแคนตาลูปแบบกางมุ้ง
ในพ้ืนท่ีไม่มีการใชส้ ารเคมีในการดําเนินกิจกรรมต่าง ทั้งการปลูกพืชและเล้ียงสัตว์ มีการปลูกป�า 3 อย่าง ประโยชน์ 4
อย่างในพ้ืนที่ต่างๆของครวั เรอ� น
/1.3 การสรา้ ง…
~6~
1.3 การสรา้ งภูมิคุ้มกันทางสังคม คือการเป�นแหล่งเรย� นรูใ้ ห้เยาวชนมาศึกษาดูงานเพื่อนําไปใช้
ในประโยชน์ในชีวต� ประจาํ วัน ในการสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร อย่างย่ังยืน ปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่างที่ปลูก
เหลือก็แบ่งป�น ขาย สรา้ งเครอ� ข่ายแลกเปล่ียนเรย� นรู้ มีการส่งเสรม� ชอ่ ทางการตลาด โดยจดั ให้มีการจาํ หน่ายสินค้า
ผลผลิตทางการเกษตรจากครวั เรอ� นโคกหนองนา และผู้ผลิตสินค้าทางการเกษตรโดยตรงเชน่ อําเภอเมืองมุกดาหาร
ได้จัดให้มีการนําเอาสินค้าทางการเกษตรหรอ� สินค้าแปรรูปอื่นท่ีจากผู้ผลิตโดยตรงมาจาํ หน่ายในวันประชุมกํานัน
ผู้ใหญ่บ้านทุกเดือน หน้าหอประชุมอาํ เภอเมืองมุกดาหาร การจาํ หน่ายสินค้าในงานของกองทนุ พัฒนาบทบาทสตร � การ
จดั แสดงและจาํ หนายสินค้าในงานกาชาดของดีจงั หวัดมุกดาหาร รวมท้ังกระทรวงพานิชย์ได้ส่งเสรม� ชอ่ งทางการตลาด
ให้มีการจาํ หน่ายสินค้าทางการเกษตรจากเครอ� ข่ายโคกหนองนา ผลิตภัณฑ์จากศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน ทุกวัน
จนั ทรถ์ ึงวันศุกรห์ น้าธนาคารกรุงไทย สาขามุกดาหาร มีการเอามื้อสามัคคีในแปลงของครวั เรอ� นเพื่อให้เกิดการเรย� นรู้
เช่นการเอาม้ือสามัคคี การเรย� นรูก้ ารปลูกป�า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 การห่มดินอย่างไรให้ถูกวธ� ี การเรย� นรูจ้ าก
ความสําเรจ็ ของผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชนจงั หวัดมุกดาหาร หลังจากที่เหลือขายก็ได้นําผลผลิตบางส่วนมาแปรรูปเช่น
กล้วยก็จะแปรรูปจากกล้วยสุก มาเป�นกล้วยตาก กล้วยอบน�าผึ้ง การทําฟ�กทองทอด เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตทาง
การเกษตรให้มีรายได้เพ่ิมขึ้น ชว่ ยให้ประชาชนอยู่ดี กินดี มีคณุ ภาพชวี ต� ที่ดีข้ึน อยา่ งยง่ั ยืน ตามยุทธศาสตรช์ าติ 20 ป�
การจาํ หน่ายสินค้าหน้าธนาคารกรุงไทย สาขามุกดาหาร ทกุ วันจนั ทร์ ถึงวันศุกร์
การจาํ หน่ายสินค้า ณ หอประชุมอาํ เภอเมือง ในวันประชุมกํานันผู้ใหญ่บา้ นของทกุ เดือน
/ภาพประกอบ...
~7~
การเป�นศูนยเ์ รย� นรูใ้ ห้กลุ่ม องค์กร นักเรย� น หรอ� ผู้ทีส่ นใจเขามาศึกษาหาความรูเ้ พ่ือนําไปปรบั ใช้
ในชวี ต� ประจาํ วัน
/2) กระบวนการ…
~8~
2) กระบวนการสรา้ งและพัฒนาทีมผู้นําการเปล่ียนแปลงในการขับเคล่ือนศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน
ประสานหน่วยงาน องค์กร เครอ� ข่าย ท่ีมีความรคู้ วามเชยี่ วชาญด้านการพัฒนาภาวะผู้นํา การพัฒนา
อาชพี การพัฒนาคณุ ภาพชวี ต� และการบรห� ารจดั การชุมชน ได้แก่ หน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน ประชาสังคม ประชาชน
หรอ� เครอ� ข่ายองค์กรท่ีเก่ียวข้องด้วย เพื่อจัดต้ังเป�นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนการพัฒนาศูนย์ผู้นําจิตอาสาพัฒนา
ชุมชนมีการดําเนินงานตามโครงการ โดยสํานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัดมุกดาหารได้ดําเนินาการในระหว่างวันท่ี 25 –
26 มกราคม 2565 ณ ศูนย์เรย� นรูแ้ ละขับเคลื่อนปรชั ญาของทางเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล ) หมู่ที่ 5
ตําบลชะโนดน้อย อําเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร กิจกรรม โดยมีผู้นําท่ีเข้ารว่ มโครงการจากผู้นําชุมชน ผู้นําอาสา
พัฒนาชุมชน ครวั เรอ� นโคก หนอง นา โมเดล จากอําเภอดงหลวงจาํ นวน 16 คน และผู้นําจากอําเภอหว้านใหญ่ จาํ นวน
9 คน โดยมีการดําเนินกิจกรรมดังนี้
สํานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัด หน่วยงานภาคที่เกี่ยวข้องดําเนินการรว่ มกับสํานักงานพัฒนาชุมชน
อําเภอและศูนย์ผู้นาํ จติ อาสาพัฒนาชุมชน จาํ นวน 6 อําเภอๆ ละ 1 แห่ง ดําเนินการจดั ประชุมเชงิ ปฏิบัติการ จาํ นวน ๑
วัน กลุ่มเป�าหมายประกอบด้วย ศูนยผ์ ู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน จาํ นวน 20 คน ดังน้ี
๑) เตรย� มคน เตรย� มเครอ่ � งมือ เตรย� มความพรอ้ ม โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการ
เสรม� สรา้ งและพัฒนาผู้นําการเปล่ียนแปลง สู่ศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน เป�นการให้ความรูก้ ารบรรยายการจดั การ
ความรูแ้ ละการขับเคลื่อนศูนย์ผู้นาํ จติ อาสาพัฒนาชุมชน
๒) เตรย� มความเข้าใจ แบ่งกลุ่มผู้นําระคมความคิดเห็น ระคมพลัง จดั ทํา Work Shop จาํ นวน ๒
กลุ่ม เพื่อถอดองค์ความรู้ จุดเรย� นรู้ กําหนดแนวทางการพัฒนา และจดั ทาํ ปฏิทนิ การเรย� นรู้
๓) เตรย� มความทรงจํา เป�นการนําเสนอผลงานจากการระดมความคิดเห็น แลกเปล่ียนเรย� นรู้
รว่ มกัน ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน
๔) วเ� คราะห์ความสําเรจ็ และป�จจยั ท่ีเกี่ยวข้อง เป�นการวเ� คราะห์ผลงานท่ีเกิดขึ้นจรง� เปรย� บเทียบ
กับความคาดหวัง "สภาพการณ์ทีป่ รากฏขึ้นจรง� " ไม่ใชค่ วามคิดหรอ� ความรสู้ ึก
๕) สังเคราะห์บทเรย� น จดั ทําแนวทางและจดั ทําปฏิทินการพัฒนาศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน
เพื่อดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับงานพัฒนาชุมชน เพ่ือถอดองค์ความรู้ จุดเรย� นรูก้ ําหนดแนวทาง การพัฒนา
และจดั ทําปฏิทินการเรย� นรู้ ดําเนินการโดยสํานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัด มีการแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์จติ อาสา
พัฒนาชุมชนจงั หวัดมุกดาหาร ดังรายชอ่ื ต่อไปน้ี
ท่ี ชอ่ื - สกุล ตําแหน่ง
1 นายแตง คาํ มุงคณุ ประธาน
2 นายจาํ นงค์ ไชยเพชร รองประธาน
3 นางนครไทย บุญเลิศ กรรมการ
4 นายยบั ผากา กรรมการ
5 นางราตร �สกุลไทย กรรมการ
6 นายพิน สุวรรณไตรย์ กรรมการ
7 นางชลาลัย ใจสุข กรรมการ
8 นางพิสมัย ป�ททมุ กรรมการ
9 นายสมใจ รปู งาม กรรมการ
10 นายมาย คาํ มุงคุณ กรรมการ
/ตารางต่อ...
~9~
ท่ี ชอ่ื - สกุล ตําแหน่ง
11 นายนคร แสนวเ� ศษ กรรมการ
12 นายอุดร คาํ มุงคุณ กรรมการ
13 นายลับ คํามุงคณุ กรรมการ
14 นายประหยัด วงค์กระโซ่ กรรมการ
15 นายบุญล้อม ไชยเพชร กรรมการ
16 นายนาย โคตรพรหม กรรมการ
17 นายสุพจน์ ดีพันธ์ กรรมการ
3) วธ� กี าร/แนวทางการขับเคล่ือนศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน ให้เกิดความยงั่ ยนื
วส� ัยทัศน์ ของทมี ผู้นาํ การเปลี่ยนแปลงในการขับเคล่ือนศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน การเป�นผู้นําต้องทําก่อนและได้
ดําเนินการ คือการขับเคลื่อนกิจกรรมดําเนินการสรา้ งเครอ� ข่ายระดับอําเภอ ท้ัง 7 อําเภอลงไปสู่ 52 ตําบล เพื่อขยาย
ผลให้กับทกุ ครวั เรอ� นในจงั หวัดมุกดาหารได้สรา้ งความมั่นคงทางอาหาร ตามคํากล่าวที่ว่า ทุกครวั เรอ� นคือ “คลังอาหาร
ทุกหมู่บา้ นคือศูนย์แบง่ ปน� ”
3.1 อาคารสถานท่ีทําการ ได้รบั การสนับสนุนจากนายแตง คํามุงคุณ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ท่ี 6 ตําบลชะ
โนดน้อย อําเภอดงหลวง จงั หวัดมุกดาหาร
3.2 สื่อต่าง ๆที่มีในศูนยเ์ รย� นรูไ้ ด้รบั การสนับสนนุ โดยสํานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั มุกดาหาร ภาคี
เครอ� ข่าย
3.3 บุคลากร ได้รบั การสนับสนุนจากสํานักงานพัฒนาชุมชนจงั หวัดมุกดาหาร และภาคี เครอ� ข่าย
เกษตร ประมง
3.4 งบประมาณการดําเนินงานตามโครงการ ได้รบั การสนับสนุนงบจากกรมการพัฒนาชุมชน
ภายใต้งบประมาณยุทธศาสตรก์ รมการพัฒนาชุมชน
ป�จจุบันมีการสรา้ งเครอ� ข่ายเพื่อแบ่งป�นความรูแ้ ละทรพั ยากร ทั้ง 7 อําเภอ และได้ขยายผลการดําเนินงานท้ัง 52
ตําบล เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธใ์ ห้คําปรก� ษาและแก้ปญ� หา รณรงค์ให้ประชาชนทุกครวั เรอ� นได้สรา้ งความมั่นคงทาง
อาหาร ได้สรา้ งแหล่งเรย� นรขู้ องผู้นาํ จติ อาสาพัฒนาชุมชนตามความกิจกรรมและความถนัดของผู้นาํ จติ อาสา ดังนี้
1.ฐานเรย� นรู้ คนมีไฟคนเอาถ่าน ผู้นําประจาํ ฐานได้แก่ นายแตง คาํ มุงคณุ
2.ฐานเรย� นรู้ คนมีนา� ยา ผู้นาํ ประจาํ ฐานได้แก่ นายสมใจ รปู งาม
3.ฐานเรย� นรู้ น�าหมักจุลินทรย� ์หน่อกล้วย ผู้นําประจาํ ฐานได้แก่ นายมาย คํามุงคุณ
4.ฐานเรย� นรู้ นา� หมักชวี ภาพเศษอาหาร ผู้นาํ ประจาํ ฐานได้แก่ นายนคร แสนวเ� ศษ
5.ฐานเรย� นรู้ ปุย� ชวี ภาพชนิดแห้ง ผู้นาํ ประจาํ ฐานได้แก่ นายอุดร คาํ มุงคณุ
6.ฐานเรย� นรู้ คนรกั ษ์ป�า ผู้นําประจาํ ฐานได้แก่ นายจาํ นงค์ ไชยเพชร
7.ฐานเรย� นรู้ รกั ษ์แม่ธรณี ห่มดิน ผู้นําประจาํ ฐานได้แก่ นายลับ คํามุงคุณ
8.ฐานเรย� นรู้ รกั แม่โพสพ ผู้นําประจาํ ฐานได้แก่ นายประหยดั วงค์กระโซ่
9.ฐานเรย� นรู้ รกั ษ์สุขภาพ ผู้นําประจาํ ฐานได้แก่ นายบุญล้อม ไชยเพชร
10.ฐานเรย� นรู้ รกั ษ์น�า ผู้นําประจาํ ฐานได้แก่ นายนาย โคตรพรหม
11.ฐานเรย� นรู้ คนหัวเห็ด ผู้นําประจาํ ฐานได้แก่ นายสุพจน์ ดีพันธ์
/มีผู้นําจติ …
~ 10 ~
มีผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชนจงั หวดั มุกดาหาร ท้ัง 7 อาํ เภอดังน้ี
1.นางนครไทย บุญเลิศ มีความสามารถเป�นวท� ยากรด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ โคกหนองนา กิจกรรมท่ี
ดําเนินอยูท่ ศ่ี ูนยเ์ รย� นรูอ้ ําเภอเมืองมุกดาหารคือการเกษตรผสมผสาน
2.นายยับ ผากา มีความสามารถเป�นวท� ยากรด้านสัมมาชีพชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่
ดําเนินอยูท่ ี่ศูนยเ์ รย� นรูอ้ ําเภอนิคมคําสรอ้ ยคือเศรษฐกิจพอเพียง โคกหนองนา โมเดล
3.นางราตร �สกุลไทย มีความสามารถเป�นวท� ยากรด้านสัมมาชพี ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรม
ทด่ี ําเนินอยูท่ ่ีศูนย์เรย� นรอู้ ําเภอดอนตาลคือสัมมาชพี ชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง
4.นายแตง คํามุงคุณ มีความสามารถเป�นวท� ยากรด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดล
กิจกรรมทดี่ ําเนินอยู่ทศี่ ูนย์เรย� นรูอ้ าํ เภอดงหลวง คือการเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดล
5.นายพิน สุวรรณไตรย์ มีความสามารถเป�นวท� ยากรด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดล
กิจกรรมทดี่ ําเนินอยู่ที่ศูนยเ์ รย� นรอู้ าํ เภอคาํ คือการเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดล
6.นางชลาลัย ใจสุข มีความสามารถเปน� วท� ยากรด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดล กิจกรรม
ที่ดําเนินอยูท่ ่ีศูนย์เรย� นรอู้ ําเภอหว้านใหญ่คือการเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก หนอง นา โมเดล
7.นางพิศมัย ป�ททุม มีความสามารถเป�นวท� ยากรด้านการสรา้ งความมั่นคงด้านอาหาร กิจกรรมท่ี
ดําเนินอยูท่ ศ่ี ูนยเ์ รย� นรอู้ าํ เภอหนองสูงคือการเกษตรผสมผสาน
/4) การพัฒนา…
~ 11 ~
4) การพัฒนาขยายผลและความคิดสรา้ งสรรค์ ในกระบวนการขับเคล่ือนการ สรา้ งความม่ันคงทาง
อาหารให้เกิดต่อเนื่องอย่างยง่ั ยืน
4.1 มีการขยายผลจากผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชนทั้ง 25 คนของศูนย์ผู้นําจิตอาสาพัฒนาชุมชน
จงั หวัดมุกดาหาร โดยการให้ความรูค้ ณะกรรมการและไปขยายผล 1 คนต่อ 25 ครวั เรอ� น ท้ังหมด 7 อําเภอ 52 ตําบล
เกิดความม่ันคงทางอาหาร
4.2 ภายใต้นโยบายการแก้ไขป�ญหาความยากจน รฐั บาลได้มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทย
ขับเคล่ือนการดําเนินงานศูนยอ์ าํ นวยการขจดั ความยากจนและพัฒนาคนทกุ ชว่ งวยั อยา่ งยั่งยืนตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง (ศจพ.) ในระดับพื้นท่ี และการดําเนินงานเปน� ไปตามเป�าหมายของรฐั บาลที่จะ “ไม่ท้งิ ใครไว้ข้างหลงั ”
ศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมจงั หวดั มกุ ดาหาร ดําเนินงานภายใต้ภารกิจงานยุทธศาสตรก์ รมการพัฒนาชุมชน จงึ มี
เปา� หมายรว่ มกันทีจ่ ะเป�นแหล่งเรย� นรใู้ ห้กับครวั เรอ� นยากจนทต่ี ้องการพัฒนาศักยาภาพของตนเอง ไม่วา่ จะเป�นการ
พัฒนาในด้านความรูด้ ้านอาชพี ด้านส่ิงแวดล้อม หลักในการดํารงชวี ต� ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ลดรายจา่ ย
เพ่ิมรายได้ พัฒนาครวั เรอ� นเปา� หมายเหล่าน้ีให้พัฒนาตนเองตามทกั ษะทต่ี นเองสนใจ มีรายได้เพ่ิมขึ้น ลดรายจา่ ยได้ ทาํ
ให้ครวั เรอ� นเป�าหมายเหล่าน้มี ีคุณภาพชวี ต� ท่ีดีขึ้น
การสรา้ งความม่ันคงทางด้านอาหาร อําเภอคําชะอี
/การสรา้ งความ…
~ 12 ~
การสรา้ งความมั่นคงทางด้านอาหารอําเภอดงหลวง
การสรา้ งความมั่นคงทางด้านอาหารอําเภอเมืองมกุ ดาหาร
/การสรา้ งความ…
~ 13 ~
ารสรา้ งความมั่นคงทางด้านอาหารอาํ เภอหว้านใหญ่
การสรา้ งความม่ันคงทางด้านอาหาร อาํ เภอดอนตาล
/การสรา้ งความ…
~ 14 ~
การสรา้ งความมั่นคงทางด้านอาหาร อาํ เภอนิคมคําสรอ้ ย
การสรา้ งความม่ันคงทางด้านอาหาร อําเภอหนองสูง
/ส่วนที่ 3....
~ 15 ~
ส่วนท่ี 3
แบบเสนอโครงการขอรบั การสนับสนุนการดําเนินงานฯ (งบประมาณ 10,000 บาท )
แบบเสนอโครงการ ขอรบั การสนับสนุนการดําเนินงาน
ตามโครงการเสรม� สรา้ งและพัฒนาผู้นําการเปลี่ยนแปลง ประจาํ ปง� บประมาณ พ.ศ.2565
ประเภทงบดําเนินงาน กรณีได้รบั การคัดเลือกเป�นศูนย์ผู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน
ระดับดีเด่น จะได้รบั การจดั สรรงบประมาณ 10,000 บาท (หนง่ึ หม่ืนบาทถ้วน)
ศูนยผ์ ู้นําจติ อาสาพัฒนาชุมชน ศูนย์เรย� นรแู้ ละขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (โคก หนอง นา โมเดล) หมทู่ ่ี 5
ตําบลชะโนดน้อย อําเภอดงหลวง จงั หวดั มุกดาหาร
1.ชอ่ื โครงการ พลงั จติ อาสาพฒั นาชุมชน แก้จนอยา่ งย่ังยืน
2. ทมี่ า หลักการและเหตุผล
ภายใต้นโยบายการแก้ไขปญ� หาความยากจน รฐั บาลได้มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยขับเคล่ือนการ
ดําเนินงานศูนยอ์ ํานวยการขจดั ความยากจนและพัฒนาคนทกุ ชว่ งวยั อยา่ งยงั่ ยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(ศจพ.) ในระดับพ้ืนท่ี และการดําเนินงานเปน� ไปตามเปา� หมายของรฐั บาลทีจ่ ะ “ไม่ท้งิ ใครไวข้ ้างหลงั ” ศูนย์ผู้นาํ จติ อาสา
พัฒนาชุมจงั หวัดมกุ ดาหาร ดําเนินงานภายใต้ภารกิจงานยุทธศาสตรก์ รมการพัฒนาชุมชน จงึ มีเป�าหมายรว่ มกันท่จี ะ
เป�นแหล่งเรย� นรูใ้ ห้กับครวั เรอ� นยากจนท่ตี ้องการพัฒนาศักยาภาพของตนเอง ไม่ว่าจะเปน� การพัฒนาในด้านความรูด้ ้าน
อาชพี ด้านส่ิงแวดล้อม หลักในการดํารงชวี ต� ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ลดรายจา่ ย เพ่ิมรายได้ พฒั นา
ครวั เรอ� นเปา� หมายเหล่านี้ให้พัฒนาตนเองตามทกั ษะทตี่ นเองสนใจ มีรายได้เพ่ิมข้ึน ลดรายจา่ ยได้ ทาํ ให้ครวั เรอ� น
เป�าหมายเหล่านี้มีคณุ ภาพชวี ต� ทด่ี ีขึ้น
3. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
3.1 เพื่อเป�นแหล่งเรย� นรูใ้ ห้กับครวั เรอ� นยากจนเปา� หมาย
3.2 เพ่ือพัฒนาศักยภาพครวั เรอ� นยากจนให้มีรายได้เพม่ิ ขึน้ มีศักยภาพในการพัฒนาตนเอง มีคุณภาพชวี ต� ความ
เป�นอยูท่ ่ีดีข้ึน
4. กลุ่มเป�าหมาย
ครวั เรอ� นยากจนตาม TPMAP ทส่ี ามารถพัฒนาได้ ทัง้ 7 อาํ เภอๆ ละ 5 คน
/ส่วนท่ี 4 ...
~ 16 ~
ส่วนที่ 4
ภาคผนวก
แผนปฏบิ ตั กิ ารผู้นาํ การเปลี่ยนแปลงขับเคลอ่ื นศูนย์ผนู้ าํ จิตอาสาพัฒนาชุมชน
โครงการเสรม� สรา้ งและพัฒนาผู้นาํ การเปล่ยี นแปลง ประจาํ ป�งบประมาณ พ .ศ. 2565
ณ ศนู ย์ผูน้ าํ จิตอาสาพัฒนาชุมชนจังหวัดมุกดาหาร จงั หวัดมกุ ดาหาร
ท่ี โครงการ /กิจกรรม วั ตถุประสงค ์ กลุ่มเป� าหมาย ผลที่ คาดว่ าจะได้ รบั งบประมาณ ว/ด/ป พ้ืนที่ดําเนินการ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
กิจกรรมในวันสาํ คญั รวมพลังจิตอาสาปลูกป� า 100 คน การสรา้ งความมนั่ คงทางอาหาร ไมใ่ ช้งบประมาณ 22 เมษายน 2565 ศูนยผ์ นู้ ําจิตอาสาพฒั นาชุมชน
1 วันวส� าขบูชา เน่ืองในวันวส� าขบูชา ลดภาวะโลกรอ้ น
วันต้นไมป้ ระจาํ ป�ของชาติ ปลูกสมนุ ไพร ขยายผลบ้านพีเ่ มอื งน้อง 100 คน ปลกู ผกั สวนครวั และสมนุ ไพร ไมใ่ ช้งบประมาณ 13 เมษายน 2565 ศูนย์ผนู้ ําจติ อาสาพฒั นาชุมชน
กจิ กรรมตามบรบ� ทพ้ืนที่ ฟา� ทะลายโจร พรก� มะเขือ
สาระแหน่ กะเพรา ขา่ ผกั บุ้ง
1 ตู้ยาขา้ งบ้าน ตู้อาหารขา้ งครวั คร.ได้รบั ความรแู้ ละกาํ ลังใจในการ ไมใ่ ชง้ บประมาณ เดือนเมษายน 2565 จงั หวัดมกุ ดาหาร
ดําเนินชวี ต�
2 เยย่ี มเยียนให้กาํ ลังใจ เพ่อื เสรม� สรา้ งกําลงั ใจ 50 คน
25 ผนู้ ําจิตอาสา เยยี่ มเยียน
1 คนต่อ2 คร.
3 นําครวั เรอ� นยากจนตาม TPMAP เพอื่ เสรม� สรา้ งกาํ ลงั ใจ 25 คน คร.ได้รบั ความรแู้ ละกําลงั ใจในการ 10,000 ม.ิย.-65 จังหวัดมกุ ดาหาร
และนําไปใช้ประโยชน์ในชวี ต�
ที่มศี ักยภาพ สามารถพฒั นาได้ ประจาํ วัน
มาอบรมปรบั ทัศนคติและให้ความรู้
ด้านอาชพี ท่ีสนใจ
หมายเหตุ ช่ือกจิ กรรม ตามตัวอย่างข้างต้น สามารถปรบั เปล่ียนได้ตามความเหมาะสม
ลงชอ่ื ................อุไรศิลป� ไวยากรณ์ ................. ผรู้ ายงาน
(นางอไุ รศิลป� ไวยากรณ์ )
ตําแหน่งนักวช� าการพัฒนาชุมชนชาํ นาญการ
โทรศัพท์ 097 -3106314