The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สาขาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by alc.cdd2021, 2022-03-12 02:01:06

นายชาญวิทย์ ขาวสนิท

สาขาวิชารัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

รายงานการฝึกสหกิจศึกษา
สถานที่ฝกึ งาน กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย (กองคลัง)

จดั ทาโดย

นาย ชาญวิทย์ ขาวสนทิ

รหัสนักศกึ ษา ๖๒๑๒๓๔๗๒๐๑๗
ชน้ั ปีท่ี ๓ สาขาวชิ ารฐั ศาสตร์ (ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ)

รายงานการฝึกงานฉบบั นี้เปน็ ส่วนหนึ่งของวิชาสหกิจศกึ ษาทางรฐั ศาสตร์ (POS๔๗๐๑)
ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา

คานา

รายงานการฝึกสหกิจศึกษาฉบับนี้เป็นส่วนหน่ึงของวิชาสหกิจศึกษาทางรัฐศาสตร์ (POS๔๗๐๑)
ประจาภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เป็นการนาองค์ความรู้ แนวคิด และทฤษฎี ตลอดการศึกษามา
ประยุกต์ใช้สาหรับการทางาน เรียนรู้ระบบการทางานในระบบงานราชการ ตลอดจนหาความรู้เพ่ิมเติมท่ีหา
ไม่ได้จากตารา หนังสือเรียน ผ่านการเรียนรู้จากการทางานผ่านผู้มีประสบการณ์จริง ท้ังนี้เพื่อเตรียมความ
พร้อม เพื่อจะผลิตบุคลากรที่มีศักยภาพปูอนเข้าสู่ระบบราชการ เมื่อภายหลังการจบการศึกษาในระดับ
ปรญิ ญาตรแี ลว้

สาหรับการฝึกสหกิจศึกษาท่ี กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย (กองคลัง) ในช่วงเวลา 1
ธันวาคม ๒๕๖๔ – 1มีนาคม ๒๕๖๕ สามารถสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ท้ังน้ีขอขอบคุณอาจารย์ ดร.สัณหณัฐ
จักรภัทรวงศ์ ท่คี อยใหค้ าปรกึ ษา ให้การชว่ ยเหลือในระหว่างการฝึกสหกิจอยู่เสมอ ขอขอบคุณ พี่หลุย วรดนัย
ท่ีคอยดาเนินงานและประสานงานเก่ียวกับการฝึกสหกิจ และสุดท้ายขอขอบคุณพ่ีๆในกรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย (กองคลัง) ทุกคนท่ีคอยช้ีแนะแนวทางในการทางาน และให้การดูแลที่อบอุ่นเป็นอย่างดี
จนสาเรจ็ ลลุ ว่ งตามระยะกาหนดของเวลา

หากรายงานการฝึกสหกิจศึกษาเล่มน้ีผิดพลาดประการใด ทางข้าพเจ้า ซึ่งเป็นผู้จัดทาก็ขออภัยมา ณ
ที่นี้ดว้ ย

นาย ชาญวทิ ย์ ขาวสนทิ

ผฝู้ กึ สหกจิ

สารบัญ

เรือ่ ง หน้า

บทท๑่ี ...................................................................................................................................................................
* ประวัตคิ วามเปน็ มา........................................................................................................................๑
* ความหมาย “การพัฒนาชุน”……………………………………………………………………………………..…….๑-๓
* ราชการสว่ นกลาง.........................................................................................................................๓-๘.
* ราชการบรหิ ารส่วนภูมิภาค........................................................................................................๘-๑๒

บทท๒ี่ ...................................................................................................................................................................
* การปฏบิ ตั ิงานช่วงการฝกึ สหกจิ ศึกษา.....................................................................................๑๓-๑๖

บทท๓ี่ ...................................................................................................................................................................
* ผลการปฏิบตั งิ าน.....................................................................................................................๑๗-๑๘

บทท๔ี่ ...................................................................................................................................................................
* ปัญหาอปุ สรรคและการแก้ไขปญั หา.............................................................................................๑๙

บทท๕ี่
* สรปุ …………………………………………………………………………………………………………………….…………๒๐

ภาคผนวก...................................................................................................................... .................................๒๑

บทท่ี ๑

กรมการพัฒนาชุมชน

ประวตั ิความเป็นมา

แนวคิดการพัฒนาชุมชนทีเ่ กดิ ขึ้นในปี พ.ศ.๒๔๘๓ ไดท้ าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฒั นาในกลุ่มประเทศ
เครือจักรภพจากเดิมมาเป็นการพัฒนาท่ีเห็นว่าประชาชนเป็นแกนกลางของพลังขับเคล่ือนทางสังคม เมื่อ
แนวคิดการพัฒนาชุมชนนี้เผยแพร่ออกไปจนก่อเกิดเป็นปรัชญาเก่ียวกับการทางานร่วมกันอย่างใกล้ระหว่าง
ประชาชนกับรัฐบาลในการปรบั ปรุงสภาพความเป็นอยู่ การปฏิบัติงานซ่ึงเรียกว่า ขบวนการพัฒนาชุมชน และ
ขบวนการดงั กล่าวได้ส่งผลกระทบตอ่ การพฒั นาในประเทศไทยดว้ ยเช่นกนั

ในปี พ.ศ.๒๔๘๓ กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศใชแ้ ผนการบูรณะชนบทพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์ ๒
ประการ คือ สร้างสรรค์ชีวิตจิตใจของประชาชนในชนบทให้เหมาะสมท่ีจะเป็นพลเมืองดี และส่งเสริมให้
ประชาชนมกี ารครองชพี ท่ดี ขี น้ึ และได้จัดต้ังสานักงานพัฒนาการท้องถิ่นข้ึนในปี พ.ศ.๒๔๙๙ เพ่ือส่งเสริมการมี
ส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถ่ิน และริเริ่มโครงการพัฒนาท้องถ่ินในปีถัดมา โดยมีปลัดพัฒนากร
เป็นผู้ปฏบิ ัติงานซึ่งเรยี กกนั ในภายหลงั ว่าเปน็ ”พัฒนากร...”

ในปี พ.ศ.๒๕๐๕ รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ฉบับที่ ๑๐ และจัดตั้ง
กรมการพัฒนาชุมช้ันขึ้นเป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยเม่ือวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๐๕ นับตั้งแต่
นั้นได้มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางานให้สอดคล้องกับกระแสการพัฒนา และสภาพการณ์ของสังคมใน
แต่ละยุคสมัยตามความเหมาะสมของสภาพพ้ืนท่ี จาแนกได้เป็น ๕ ระยะ ระยะแรก ก่อร่างสร้างองค์การ โดย
เน้นการหารูปแบบวิธีการพัฒนาชุมชนนาปัญหาความต้องการของชาวบ้านมาสู่ภาครัฐ ระยะที่สอง สร้างพลัง
ชุมชนโดยระยะน้ีเน้นการทางานตามแนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักการ
ช่วยเหลือตัวเองและชมุ ชน ริเริ่มกลุ่มออมทรพั ยเ์ พ่ือการผลติ ธนาคารข้าว ตามแนวพระราชดาริ ระยะที่สาม สู่
ระบบบริหารการพัฒนาชนบทแห่งชาติ โดยเน้นรู้จักช่วยตัวเอง และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาในรูปกลุ่ม
ผู้นากิจกรรม ระยะท่ีส่ี เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน มีการยึดแนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชนให้
ประชาชนรู้จักคิด ตัดสินใจ และปฏิบัติอันเป็นประชาธิปไตยในระดับหมู่บ้านในการแก้ไขปัญหาของชุมชน
ระยะท่ีห้า สู่ยุคใหม่ของระบบราชการมีการส่งเสริมและการพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชนองค์กรและเครือข่าย
องค์กรชุมชนเพ่อื แกไ้ ขปญั หาและการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก

ความหมาย “การพัฒนาชุน”

การพัฒนาชุมชน หมายถึง วิธีการหรือโครงการ หรือขบวนการ หรือกระบวนการในการสร้างเสริม
ความเข้มแข็งของความสัมพันธ์แนวราบระหว่างคนในชุมชน โดยการพัฒนาจิตสาธารณะ ศักยภาพและ

กระบวนการเรยี นรู้ ซง่ึ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้สามารถรว่ มกนั แกไ้ ขปัญหาและพัฒนาชมุ ชนตนเอง โดยการกระทา
รว่ มกนั ของคนในชมุ ชน

ประชาชน วงกลมภายในเป็ นรูปโครงสร้างของบ้านชนบทมี
ประชาธิปไตย ตวั อกั ษร พช. อยใู่ ต้รูปบ้าน มีลายกนก แบบ
ประสานงาน เครื่องหมายเลข ๖ และ ๙ บนตวั อกั ษร พ. และ
ตวั อกั ษร ช. ขอบวงกลมล้อมรอบวงกลมภายในมี
ประหยดั ๔ สี ๔ ช่วง หมายถงึ หลกั การทางาน ๔ ป.
โลโก้กรมการพฒั นาชมุ ชน

ปรัชญาการพัฒนาชมุ ชน

กล่าวคือ ปรัชญาการพัฒนาชุมชน เป็นหลักความเป็นจริงแห่งชีวิตที่มีความเชื่อมั่นศรัทธาใน
มนุษยชาติ ว่ามนุษย์ทุกชีวิตมีคุณค่า มีความหมาย มีศักด์ิศรี มีศักยภาพ มีฐานะแห่งความเป็นมนุษย์ โดย
มนุษย์ทุกคนสามารถพฒั นาได้ถา้ ได้รบั โอกาส

ค่านิยมขององค์กร

A = Appreciation: ชื่นชม หมายถึง การตระหนัก เข้าใจ ชื่นชม ยินดี ยอมรับนับถือ ยกย่อง ให้
เกยี รติ ในคุณคา่ และความสาคญั ของผูอ้ นื่

B = Bravery: กล้าหาญ หมายถึง ความกล้าหาญไม่เกรงกลัวต่ออันตรายและความยากลาบาก หรือ
สถานการณ์ย่งุ ยากไมส่ บายใจ

C = Creativity: สร้างสรรค์ หมายถึง ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ประดิษฐ์ คิดค้นส่ิงใหม่ด้วยความคิด
ของตวั เองท่ไี ม่ธรรมดา

D = Discovery: ใฝรุ ู้ หมายถึง การใฝุรู้ การค้นหา การค้นพบข่าวสาร ความรู้ สถานท่ีและวัตถุต่างๆ
เป็นครง้ั แรก

E = Emphathy: เข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดหรือ
ประสบการณ์ ของผู้อน่ื โดยการเอาใจเราไปใส่ใจเขา จินตนาการว่าหากอยู่ในสถานการณ์น้ันจะเป็นเช่นไร

F = Facilitation: เอ้อื อานวย หมายถึง การทาให้ง่ายการทาให้งานน้ันเป็นไปได้การเอื้ออานวยความ
สะดวกให้ผูอ้ นื่ ทางานในวถิ ีทางที่เหมาะสมกบั ตัวเขาเอง

S = Simplify: ทาให้ง่ายขน้ึ ทาให้เข้าใจงา่ ย ทาใหช้ ดั เจน

P = Practical: ความเป็นจริงเกี่ยวกับการกระทาการปฏิบัติสามารถปฏิบัติได้เหมาะสมมีประโยชน์
ตามความเป็นจริง

โครงสรา้ งสว่ นราชการและการแบง่ งานภายในกรมการพฒั นาชมุ ชน

กรอบโครงสร้างของกรมการพัฒนาชุมชน ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย

ราชการบริหารสว่ นกลาง ประกอบด้วย

๑. ส่วนราชการที่ข้ึนตรงกับอธิบดี ได้แก่ กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร และกลุ่ม
งานคุ้มครองจริยธรรมข้าราชการ

๒. ส่วนราชการท่ีกรมจัดตั้งข้ึน ได้แก่ สานักตรวจราชการ กองนิติการ และสานักงานกองทุนพัฒนา
บทบาทสตรี

๓. ส่วนราชการหลัก ได้แก่ กองคลัง กองแผนงาน สถาบันการพัฒนาชุมชน สานักเสริมสร้างความ
เข้มแข็งชุมชน สานักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ศูนย์สารสนเทศเพ่ือการพัฒนาชุมชน
สานักงานเลขานุการกรมและกองการเจ้าหนา้ ที่

ราชการบริหารสว่ นภูมภิ าค

* สานกั งานพัฒนาชมุ ชนจังหวดั ๗๖ จงั หวัด
* สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอ ๘๗๘ อาเภอ

กล่มุ พฒั นาระบบบรหิ าร

เพ่ือทาหน้าที่หลักในการพัฒนาการบริหารของกรมให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
รบั ผิดชอบงาน ข้นึ ตรงต่ออธิบดกี รมการพัฒนาชมุ ชน โดยมีอานาจหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปนี้

๑. เสนอแนะและให้คาปรึกษาแก่อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เก่ียวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ
ราชการภายในกรม

๒. ตดิ ตามการประเมินผล และจัดทารายงานเก่ยี วกับการพัฒนาระบบราชการในกรม

๓. ประสานและดาเนินการเก่ียวกับการพัฒนาระบบราชการรวมกับหน่วยงานกลางต่างๆและ
หนว่ ยงานตา่ งๆภายในกรม

๔. ปฏิบัตงิ านรว่ มหรอื สนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอนื่ ท่เี กยี่ วขอ้ งหรือทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

กลุ่มตรวจสอบภายใน

ทาหน้าที่หลักในการตรวจสอบการดาเนินงานภายในกรม และสนับสนุนการปฏิบัติงานของกรม
รบั ผดิ ชอบงานข้นึ ตรงต่ออธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน โดยมีอานาจหน้าที่ดังตอ่ ไปน้ี

๑. ดาเนนิ การเก่ียวกบั การตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการบญั ชีของกรม

๒. ปฏิบตั ิงานรว่ มร่วมหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหนว่ ยงานอนื่ ท่เี กี่ยวข้องหรอื ทไี่ ด้รบั มอบหมาย

สานกั งานเลขานุการ

มีอานาจหน้าที่เก่ียวกับราชการท่ัวไปของกรมและราชการ ที่มิได้แยกเป็นหน้าท่ีของกอง หรือส่วน
ราชการใดโดยเฉพาะ อานาจหน้าทดี่ งั กล่าวให้รวมถงึ

๑. ปฏบิ ัติงานสารบรรณชองกรม

๒. ดาเนินการเกี่ยวกบั งานชว่ ยอานวยการและงานเลขานุการกรม

๓. ดาเนนิ การเกีย่ วกบั การส่ือสารภาพลกั ษณ์และเผยแพร่ข่าวสารของกรม

๔. ดาเนนิ เก่ียวกบั งานสวัสดกิ ารของกรม

๕. ดาเนินการเกี่ยวกับงานกฎหมายและระเบียบที่เก่ียวข้อง งานนิติกรรมและสัญญางาน เกี่ยวกับ
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าท่ีความรับผิดชอบทางแพ่งและอาญา งานคดีปกครองและงานคดีอื่น ท่ีอยู่
ในอานาจหนา้ ที่ของกรม

๖. ปฏิบตั งิ านร่วมหรอื สนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอ่ืนท่เี กีย่ วข้องหรือทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

กองการเจ้าหน้าท่ี

มอี านาจหนา้ ท่ดี ังตอ่ ไปน้ี

๑. บรหิ ารงานทรพั ยากรบคุ คลและจัดระบบงานกรม เว้นแตก่ ารฝกึ อบรม

๒. ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมวินัยข้าราชการ การรับเรื่องราวร้องทุกข์การดาเนินการทางวินัย
ของข้าราชการและงานพิทกั ษร์ ะบบคณุ ธรรม

๓. ปฏิบตั งิ านร่วมหรอื สนับสนนุ การปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานอืน่ ทีเ่ ก่ียวข้องหรือไดร้ บั มอบหมาย

กองคลงั มอี านาจหน้าท่ดี ังตอ่ ไปน้ี

๑. ดาเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การบริหารงานงบประมาณ การพัสดุ อาคารสถานท่ีและ
ยานพาหนะของกรม

๒. ปฏิบัติงานร่วมหรอื สนับสนนุ การปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอนื่ ท่เี กี่ยวขอ้ งหรือได้รบั มอบหมาย

กองแผนงาน มีอานาจหนา้ ที่ดงั ตอ่ ไปน้ี

๑. เสนอแนะและกาหนดยุทธศาสตร์นโยบายด้านการพฒั นาชมุ ชนของกรม

๒. จัดทาและประสานแผนการปฏิบัติงานและงบประมาณของกรมให้สอดคล้องกับนโยบาย แผน
แม่บทของกระทรวงแผนปฏิบัติราชการสี่ปีและแผนปฏิบัติราชการประจาปีรวมท้ัง เร่งรัด ติดตาม และ
ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านและผลการใชจ้ ่ายงบประมาณของหนว่ ยงานกรมในสงั กัด

๓. ติดตอ่ และประสานงานกบั องค์การหรือตา่ งประเทศด้านความช่วยเหลือ และความร่วมมือด้านการ
พฒั นาชมุ ชน

๔. ศึกษา วิเคราะห์จัดทาแผนการตรวจราชการ ประสานการตรวจราชการ และจัดทารายงาน การ
ตรวจราชการของผตู้ รวจราชการกรม

๕. ปฏิบัติงานรว่ มหรอื สนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงานอื่นที่เก่ียวขอ้ งหรือไดร้ ับมอบหมาย

ศนู ยส์ ารสนเทศเพอื่ การพัฒนาชุมชน มีอานาจหน้าทีด่ งั ตอ่ ไปนี้

๑. ศึกษา วิเคราะห์ บริหาร พัฒนา และออกแบบระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารงานพัฒนา
ชุมชน

๒. กาหนดรูปแบบ วิธีการ และข้ันตอนการจัดเก็บ การประมวลผล และการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
สารสนเทศเพื่อการพัฒนาชมุ ชน

๓. กาหนดนโยบายและแผนแม่บทการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริหารงานพฒั นาชุมชน

๔. กากับดูแลระบบสารสนเทศและระบบการเชอ่ื มโยงเครือข่ายข้อมลู สารสนเทศของกรม

๕. ปฏิบัติงานร่วมหรือสนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานอ่นื ท่เี ก่ยี วข้องหรือได้รับมอบหมาย

สถาบันการพฒั นาชมุ ชน มีอานาจหน้าท่ีต่อไปนี้

๑. ดาเนินเกี่ยวกับการฝากอบรมและพัฒนาข้าราชการและเจ้าท่ีที่เก่ียวข้องของกรม รวมท้ังการ
ใหบ้ ริการทางวชิ าการวิชาการดา้ นการพฒั นาชมุ ชนแกห่ น่วยงานทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ

๒. ศึกษาวิเคราะห์และวจิ ยั งานพฒั นาชมุ ชนในภาพรวมและงานพัฒนาชุมชนเฉพาะพนื้ ที่ เพื่อเผยแพร่
และใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานพฒั นาชมุ ชน

๓. ดาเนินการพัฒนาศูนย์การศึกษาและพัฒนาชุมชน เพ่ือให้บริการความรู้ด้านการพัฒนาชุมชนที่
เหมาะสมและสอดคล้องกบั สภาพพื้นทแ่ี ก่ขา้ ราชการในสว่ นภูมิภาคผู้นาชุมชน ผู้บริหารและข้าราชการท้องถ่ิน
รวมท้ังหน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชน

๔. ดาเนนิ การเกยี่ วกบั การจดั การความรู้ในงานพัฒนาชุมชนและเร่ืองที่เกย่ี วขอ้ ง

๕. ออกแบบและพัฒนาระบบมาตรฐานการพฒั นาทรัพยากรบุคคลในงานพัฒนาชุมชน

๖. ปฏบิ ัตงิ านร่วมหรอื สนบั สนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนทเ่ี กย่ี วขอ้ งหรือได้รบั มอบหมาย

สานกั พฒั นาทนุ และองค์การเงนิ ชุมชน มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปน้ี

๑. ศึกษา วิเคราะห์และวิจัยด้านการพัฒนาทุนและองค์การเงินชุมชน เพ่ือกาหนดนโยบาย
ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท รูปแบบ และแนวทางในการเสริมสร้างและพัฒนาระบบทุนชุมชน และการบราร
จัดการทุนชมุ ชน

๒. ดาเนินการเกี่ยวกับการแสวงหาแหล่งทุนและความร่วมมือในการพัฒนารูปแบบและวิธีการ ด้าน
การขยายกิจกรรมของชุมชนเพอื่ พฒั นาระบบทนุ ชมชน

๓. ประสานงานผู้มีสว่ นเกยี่ วขอ้ งด้านการพัฒนาชมุ ชน ตามความรบั ผิดชอบของส่วนราชการ

๔. ปฏบิ ตั งิ านร่วมหรอื สนับสนุนการปฏบิ ตั งิ านของหนว่ ยงานอ่นื ที่เกีย่ วข้องหรอื ได้รบั มอบหมาย

สานกั ส่งเสริมภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ และวิสาหกิจชมุ ชน มอี านาจหนา้ ทด่ี ังตอ่ ไปน้ี

๑. ศึกษา วิเคราะห์และวิจัยด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน เพื่อกาหนดนโยบาย
ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท รูปแบบ และแนวทางการพัฒนา และส่งเสริมอาชีพและวิสาหกิจชุมชน ตาม
แนวความคดิ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

๒. ดาเนินการและประสานงานโครงการเกี่ยวกบั การส่งเสริมภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ และผลิตภัณฑช์ มุ ชน

๓. ส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาและเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพ่ือเพ่ิมมูลค่าของ
ผลติ ภณั ฑ์และบรกิ ารของชุมชน

๔. ส่งเสรมิ และพัฒนากลุ่มอาชีพ ผ้ผู ลิต และผ้ปู ระกอบการรวมถึงด้านการตลาด

๕. ประสานงานกบั ผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งดา้ นการพฒั นาชมุ ชนตามความรับผิดชอบของสว่ นราชการ

๖. ปฏบิ ัติงานรว่ มหรือสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอนื่ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งหรอื ไดร้ ับมอบหมาย

สานกั งานตรวจราชการ

สานักงานตรวจราชการ มีหน้าที่เกี่ยวกับการออกแบบระบบติดตาม และรายงานผลการดาเนินงาน
ตามนโยบายของรัฐบาล นโยบายกระทรวงมหาดไทย ภารกิจและยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน การจัดทา
ระบบตรวจราชการ และจัดทารายงานงานการตรวจราชการของกรมการพัฒนาชุมชน กาหนดแผนการตรวจ
ราชการประจาปี และประสานการตรวจราชการของผู้ตรวจสอบราชการกรมท่ีรับผิดชอบ ศึกษา วิเคราะห์
และดาเนินการในฐานะฝุายเลขานุการของผู้ตรวจราชการกรม ประมวล วิเคราะห์ และเสนอผลการตรวจ
ราชการต่อผ้บู ริหารประสานการตรวจราชการกับกระทรวงมหาดไทยและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องประสานข้อมูล
สารสนเทศสาหรับผู้บริหารและผู้ตรวจราชการกรม เพ่ือการตรวจและติดตามงานของกรมและปฏิบัติงานอ่ืนที่
เก่ียวขอ้ งตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

กองนติ กิ าร

กองนิติการ มีหน้าท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับงานระเบียบและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องงานนิติกรรมสัญญา งาน
สอบสวน ตรวจสอบข้อเท็จจริงเก่ียวกับเรื่องร้องเรียน งานความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ในการ
ดาเนินคดีอาญา คดีแพ่ง คดีปกครอง และคดีอื่นที่อยู่ในอานาจหน้าท่ีของกรมการพัฒนาชุมชน งานเกี่ยวกับ
การบังคับคดี และใช้มาตรการบังคับ การปกครอง การให้คาปรึกษาและความเห็นทางกฎหมาย การเผยแพร่
ให้ความรูท้ างดา้ นกฎหมาย และปฏิบัตหิ น้าท่อี ื่นทีเ่ ก่ียวข้องตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย

กลุ่มการคุม้ ครองและจรยิ ธรรมขา้ ราชการ

มหี นา้ ทหี่ ลักเก่ยี วกับการดาเนนิ การเผยแพร่ ปลกู ฝงั และส่งเสริม ยกย่องข้าราชการท่ีเป็นแบบอย่างท่ี
ดีและติดตามสอดส่องการปฏิบัติตามผลประมวลจริยธรรมอย่างสม่าเสมอ สืบสวนข้อเท็จจริงการฝุาฝืน
จรยิ ธรรมเพ่อื รายงานให้หัวหน้าสว่ นราชการพจิ ารณา ทง้ั นอ้ี าจมีผ้รู อ้ งขอหรอื อาจดาเนนิ การตามท่ีหัวหน้าส่วน
ราชการมอบหมาย หรือตามท่ีเห็นสมควรให้ความช่วยเหลือและดูแลข้าราชการซึ่งปฏิบัติตามประมวล
จริยธรรมอย่างตรงไปตรงมา มใิ ห้ถูกกลั่นแกลง้ หรือถูกใชอ้ านาจโดยไมเ่ ป็นธรรม

สานักงานกองทุนพฒั นาบทบาทสตรี

สานักงานพัฒนากองทุนบทบาทสตรี มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารกองทุนให้เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ ในการเป็นแหล่งเงินทุนเพ่ือการประกอบอาชีพ การพัฒนาศักยภาพ คุณภาพชีวิตของสตรี
องค์กรสตรีและผู้ด้อยโอกาส เป็นสานักงานเลขานุการคณะกรรมการบริหารกองทุนบทบาทสตรี และ
สานักงานเลขานุการคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีกรุงเทพมหานคร ตลอดจนเป็นที
ปรึกษาคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับจังหวัดและคณะทางาน ศึกษารวบรวม
วิเคราะห์ ข้อมูลที่เกีย่ วกับการดาเนินงานกองทุน กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนการดาเนินงานประจาปีคา
ของบประมาณ ประเมินผลการดาเนินงานทุนหมุนเวียน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กาหนด ข้อบังคับ
หลักเกณฑ์ วิธีการ แนวทาง การดาเนินงานกองทุนและการบริหารจัดการหน้ี เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
ประสานงานกบั สว่ นราชการ รัฐวิสาหกิจ หนว่ ยงานอ่นื ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับงานดาเนินการของกองทุน รายงานฐานะ
ทางาการเงินของทุน สรุปผลการดาเนินงาน รายงานต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนและ
คณะกรรมการนโยบายการบริหารทุนหมุนเวียนและปฏิบัติหน้าท่ีอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารกองทุน
มอบหมาย

สานักเสรมิ สร้างความเข้มแข็งชุมชน มีอานาจหนา้ ที่ดังตอ่ ไปน้ี

๑. ศึกษาวิเคราะห์และวิจัยด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อกาหนดนโยบาย
ยุทธศาสตร์ แผนแม่บท รูปแบบและแนวทางในการเสริมสร้างความสามารถของประชาชน ผู้นาชุมชน
องค์การชุมชน และเครือข่ายองค์การชมุ ชนในการบรหิ ารจัดการชมุ ชนตามแนวคดิ ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียง

๒. กาหนดและพัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน รูปแบบ วีการประเมิน และรับรองมาตรฐานผู้นาชุมชน
องค์การชุมชน เครอื ขา่ ยองค์การชุมชนและชุมชน

๓. ดาเนินการเก่ียวกับการจัดการความรู้ชุมชน การจัดทาแผนชุมชนและการดาเนินงานกิจกรรมโดย
ชมุ ชน

๔. ประสานงานกบั ผู้มีส่วนเกีย่ วข้องดา้ นการพัฒนาชุมชน ตามความรับผดิ ชอบของส่วนราชการ

๕. ปฏบิ ัติงานร่วมกับสนันสนุนการปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอ่นื ท่ีเก่ยี วขอ้ งหรือที่ได้รับมอบหมาย

ราชการบรหิ ารส่วนภมู ิภาค

สานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวดั มีอานาจหน้าทด่ี ังตอ่ ไปน้ี

สานกั งานพัฒนาชุมชนจังหวดั มอี านาจหนา้ ที่เกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ และจัดทายุทธศาสตร์การ
พัฒนาชุมชนของจังหวัด จัดทากิจกรรม แผนงาน โครงการรับรองแผนพัฒนาจังหวัด กลุ่มจังหวัด และ
แผนพัฒนาภาค การบูรณาการแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่เก่ียวกับงานพัฒนาชุมชน ดาเนินงานเกี่ยวกับ

กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ดาเนินงานประสานงานเกี่ยวกับพัฒนาชุมชนในจังหวัด กาหนด กากับดูแล ให้
คาแนะนาและสนับสนุน การปฏิบัติงานของสานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอ ดาเนินการเกี่ยวกับการแสวงหา
ความร่วมมือดา้ นการพฒั นาชุมชนในจงั หวดั และปฏิบตั ิงานอ่ืนท่เี กย่ี วข้องตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอ มอี านาจหน้าที่ดงั ต่อไปนี้

๑. ศกึ ษาวิเคราะห์และจัดทายุทธศาสตร์และกาหนดแนวทางการพัฒนาชุมชนระดับอาเภอให้มีความ
สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาชมุ ชนระดบั จังหวัด

๒. บริหารงานพัฒนาชุมชนตามภารกิจพ้ืนฐานและยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน และบริหารการ
พฒั นาอน่ื ๆ ในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั อาเภอ

๓. บูรณาการกิจกรรมโครงการแผนงานและการทางานให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์และแนวทาง การ
พัฒนาชุมชนระดบั จังหวดั และสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของประชาชน

๔. วางแผน ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนท่ีตกเกณฑ์ความจาเป็นพื้นฐาน
การพัฒนาสัมมาอาชีพชุมชน การพัฒนาหมู่บ้านไปสู่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมและพัฒนาภูม
ปัญญาท้องถิ่น วิสาหกิจชุมชน เศรษฐกิจชุมชน ส่งเสริมการจัดต้ังและพัฒนากองทุนชุมชน องค์กรการเงิน
ชมุ ชน การบรหิ ารจดั การกองทุนชุมชน ดาเนินการเกี่ยวกับกองทุนแม่ของแผ่นดิน กองทุนพัฒนาเด็กชนบทใน
พระราชปู ภัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี และกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี

๕. สนับสนุนการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองตามบทบาทหน้าท่ีของฝุายเลขานุการ
คณะอนกุ รรมการตดิ ตามและสนบั สนุนการดาเนนิ งานกองทนุ หมู่บ้านและชมุ ชนเมืองระดับอาเภอ

๖. ดาเนินการจดั การความรูข้ องบุคลากรและชุมชน สนับสนนุ ช่วยเหลือ ให้คาปรึกษา แนะนาในการ
พัฒนาศักยภาพของชุมชน ผู้นาชุมชน กลุ่มองค์การชุมชน และเครือข่ายองค์การชุมชนในการบริหารจัดการ
ชมุ ชน

๗. สนับสนุนการทายุทธศาสตร์ชุมชน ประสานและสนับสนุนการจัดเก็บ และประมวลผลข้อมูล
พ้ืนฐานระดบั ครวั เรือนหมู่บ้านชมุ ชน

๘.ให้บริการข้อมูลและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศชุมชน สนับสนุนข้อมูล
สารสนเทศให้มีความครบถ้วน สมบูรณ์ ทันสมัย ทันต่อสถานการณ์พร้อมใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อก่อให้เกิด
คลังขอ้ มูล และสารสนเทศขนาดใหญ่ (BIG DATA)

๙. รายงานผลการดาเนนิ งานตามภารกิจพืน้ ฐานและยุทธศาสตร์ของกรมการพัฒนาชมุ ชน

๑๐. ประสานความร่วมมือและปฏิบัติงานร่วมกับภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วนเพ่ือบูรณาการแผนงาน
โครงการ กจิ กรรม และการทางานให้มีความสอดคลอ้ งเปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน

๑๑. ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ ขา่ วสารการพฒั นาชุมชน
๑๒. บริหารและดาเนินงานเก่ียวกับงานสารบรรณ งานธุรการทั่วไป งานการเจ้าหน้าที่ งานบริหาร
แผนงาน และงบประมาณงานพสั ดุ การเงินและการบัญชี
๑๓. เสริมสรา้ งธรรมาภิบาลภายในองคก์ าร
๑๔. ปฏิบตั งิ านอื่นท่ีเก่ียวขอ้ งตามที่ได้รับมอบหมาย
อัตรากาลงั
กรมการพฒั นาชมุ ชนมอี ตั รากาลงั ณ วันน้ี รวมทั้งส้นิ ๖๘๑๙ อัตรา จาแนกเปน็
* อัตรากาลงั สว่ นกลางท้ังหมด ๕๗๖ อัตรา
* สว่ นภูมิภาค ๖๒๔๓ อัตรา
หลักการทางานกับประชาชน
๑.พิจารณาภาวการณท์ ี่เปน็ อยู่ในชุมชนเปน็ หลกั เริ่มงาน
๒. ใหป้ ระชาชนได้มีส่วนรว่ มและรู้เหน็ ตงั้ แต่เริม่ ต้น
๓. โครงการกจิ กรรมพฒั นาชุมชนตอ้ งคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป ไม่เร่งรีบ ไม่รวบรัด
๔. แสวงหาความตอ้ งการทแ่ี ท้จรงิ ของประชาชนให้พบ
๕. ใชว้ ธิ ีการดาเนนิ งานแบบประชาธิปไตย
๖. การวางโครงการตอ้ งยดื หยุ่นออ่ นตวั ไดต้ ามสถานการณ์
๗. หาความเข้าใจในวฒั นธรรมของชมุ ชน
๘. แสวงหาผู้นาทอ้ งถ่ินและผู้นาชมุ ชนเปน็ มิตรกบั คู่งาน
๙. ใช้องคก์ รทมี่ ีอยใู่ นทอ้ งถน่ิ ให้เปน็ ประโยชน์
๑๐. อาศัยนกั วิชาการหรือนกั ชานาญการเฉพาะสาขา
๑๑. ทางานกับสมาชิกทุกคนในครอบครวั
๑๒. โครงการต้องมีลักษณะกว้าง เพ่ือสนองความต้องการของประชาชนได้ ครอบคลุมปัญหาด้าน
ต่างๆดว้ ย

๑๓. ทาการประเมนิ งานเป็นระยะ

๑๔. ทางานกบั คนทุกชั้นของสังคม

๑๕. สอดคลอ้ งเป็นแนวทางเดียวกบั กรอบนโยบายของชาติ

๑๖. อาศัยหลักการเขา้ ถึงชุมชน

ภารกิจและหน้าทก่ี รมการพัฒนาชมุ ชน

ตามกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการกรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันท่ี ๒๔
มนี าคม พ.ศ.๒๕๕๒ กรมการพฒั นาชมุ ชน มีภารกิจเก่ยี วกบั การสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วม
ของประชาชน สง่ เสรมิ และพัฒนาเศรษฐกจิ ชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนให้มี
การจดั ทาและใชป้ ระโยชน์จากขอ้ มลู สารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทายุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจน การ
ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการพฒั นาชุมชน เพ่ือให้เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างย่ังยืน โดยมีอานาจ
หน้าที่ดงั ตอ่ ไปน้ี

๑. กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติ เพ่ือให้
หน่วยงานภาครฐั เอกชน และผมู้ ีสว่ นเกยี่ วข้องด้านการพัฒนาชุมชนได้ใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงาน
เพื่อเสริมสรา้ ง ความสามารถและความเขม้ แข็งของชุมชน

๒. จัดทาและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือเคร่ืองมือสาหรับประเมิน
ความกา้ วหน้า และมาตรฐานการพัฒนาชมุ ชน

๓. พัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การอาชีพ การออม
และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสร้างขีดความสามรถของประชาชน ชุมชน ผู้นาชุมชน
องคก์ ารชุมชน และเครือขา่ ยองคก์ ารชมุ ชน

๔. สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และการให้บริการ
ขอ้ มูลสารสนเทศชมุ ชน เพือ่ ใช้ในการวางแผนบริหารการพัฒนาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๕. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และสร้างองค์ความรู้เพ่ือใช้ในงานพัฒนาชุมชน และการจัดทา
ยทุ ธศาสตร์ชมุ ชน

๖. ฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ผู้นาชุมชน องค์การชุมชน และเครือข่าย
องค์การชุมชนให้มีความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถภาพในการทางาน รวมท้ังให้ความร่วมมือทางวิชาการ
ด้านการพัฒนาชมุ ชนแก่หนว่ ยงานทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ

๗. ปฏิบัติการอ่ืนใดตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของกรมหรือตามท่ีกระทรวง หรือ
คณะรัฐมนตรมี อบหมาย

วิสัยทัศน์/พนั ธกิจ/ยทุ ธศาสตร์

กรมการพฒั นาชมุ ชนไดน้ าสถานการณ์ปัจจุบัน และสภาพแวดล้อมของการบริหารประเทศ มาใช้เป็น
ขอ้ มูลในการจดั ทาแผนปฏบิ ัตริ าชการให้สอดคล้องกบั สถานการณ์ในช่วงอนาคต ที่ก่อเกิดการเปล่ียนแปลงของ
ประเทศ ชุมชน ในด้านท่ีมีผลต่อการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชน ให้มุ่งไปสู่เปูาหมายสูงสุดภายใต้
วิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖๕” กรมการพัฒนาชุมชนได้มุ่ง
ขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างแท้จริง ซึ่งได้ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ ทาให้มี
ความงา่ ย ทา้ ทาย และเป็นไปได้ในการปฏบิ ตั ใิ ห้สอดคล้องกับทิศทางของยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑
– ๒๕๘๐) ๑๕ ประเด็นเร่งด่วน ๕ ปีแรกของยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ แผนความมั่นคงแห่งชาตินโยบายของรัฐบาล สถานการณ์
สภาพแวดล้อมในปจั จุบัน เพอื่ ให้บุคลากรทุกคน ใชเ้ ปน็ กรอบทศิ ทางการปฏิบตั งิ าน ประยกุ ตค์ วามเหมาะสม

วสิ ยั ทัศน์

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คง และชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖๕

พนั ธกิจ

๑. พฒั นาระบบกลไกการมสี ่วนรว่ มและการเรยี นรู้การพึ่งตนเอง

๒. พฒั นาการบรหิ ารจัดการชมุ ชนใหพ้ ่งึ ตนเองได้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓. ส่งเสรมิ และพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตัว

๔. สง่ เสริมและพัฒนาการบริหารจดั การกองทนุ ชมุ ชนให้มีธรรมาภิบาล

๕. พฒั นาองค์กรให้มีขดี สมรรถนะสงู และบคุ ลากรมีอุดมการณ์ในงานพัฒนาชุมชนและเช่ียวชาญการ
ทางานเชงิ บรู ณาการ

ประเด็นยุทธศาสตร์

๑. สร้างสรรคช์ ุมชนพงึ่ ตนเองได้

๒. ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากใหข้ ยายตวั อย่างสมดุล

๓. เสรมิ สรา้ งทนุ ชุมชนให้มีธรรมาภิบาล

๔. เสรมิ สรา้ งองคก์ รใหม้ ีขดี สมรรถนะสงู

บทที2่

การปฏิบตั งิ านฝกึ สหกิจศึกษา

การปฏิบัติงานการฝึกสหกิจศึกษา ณ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ที่ทางผู้จัดทาได้
ติดตอ่ เพ่อื เข้ารบั การฝึกสหกิจศึกษา เมื่อเข้าสู่ภายในองค์กรและระบบการทางานแล้ว ทางผู้จัดทาได้เข้าฝึกใน
สงั กัดกองคลัง ในกลุม่ งานพัสดุ โดยมยี ุทธศาสตร์ วสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจ และเปูาหมาย ดงั น้ี

ยุทธศาสตร์ กองคลงั ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

เป็นหนว่ ยงานสนบั สนนุ ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล

วิสัยทศั น์

เป็นผู้นาต้นแบบการให้บริการท่ีดี ด้วยทีมงานที่มีคุณภาพ เพื่อขับเคล่ือนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนา
ชมุ ชน

พันธกจิ

๑.ใหบ้ รกิ ารอย่างรวดเร็วและทั่วถึง
๒. การบริหารงบประมาณด้วยความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้

เป้าหมาย

๑. บคุ ลากรเป็นมอื อาชีพในการใหบ้ รกิ าร

๒. ผรู้ บั บรกิ ารมีความพงึ พอใจ

๓.เบกิ จา่ ยงบประมาณเป็นไปตามระเบยี บเปาู หมาย

ขอบเขตลกั ษณะการปฏิบัตงิ านของกล่มุ งาน

รายละเอียดการปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์ตลอดการฝึกสหกิจ ณ กองคลัง กรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย เป็นระยะเวลาตงั้ แต่วันที่ ๑ ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๔ – ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๕ มีรายละเอียด
ดงั น้ี

สปั ดาหท์ ่ี ๑

โดยในสปั ดาห์แรกเรมิ่ โดยการศกึ ษารายละเอียดเกี่ยวกับหน่วยงานท่ีจาเป็นสาหรับช่วงของการฝึกสห
กิจศึกษา เม่ือเร่ิมรู้จักระบบการทางานของหน่วยงานแล้ว ก็ทาการตรวจสอบเอกสาร “การตรวจสอบพัสดุ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔” ซ่งึ ถือเป็นงานแรกท่ีได้รับมอบหมาย

ต่อมาคือการเรียนรู้การตรวจสอบและเตรียมการถ่ายภาพครุภัณฑ์ท่ีอยู่ภายใต้การดูแลของกองคลัง
ตามทะเบียนท่ีจัดทา เพื่อที่จะกระทาการจาหนา่ ยในเวลาต่อไป

สุดท้ายของสัปดาห์ก็คือการจัดเรียงเอกสารของงานพัสดุตามแต่ละปี และเตรียมมาบรรจุใส่แฟูม
เอกสารเพ่ือใช้ในการจัดเรยี งและเพ่ือให้ง่ายต่อการนามาใชง้ านในเวลาต่อไป

สปั ดาหท์ ี่ ๒

สัปดาห์ที่สองจะเป็นการคีย์ข้อมูลทะเบียนรถท่ีอยู่ในความดูแลของกองคลังเข้าสู่เว็บไซต์สาหรับ
ลงทะเบียนเพ่ือตรวจสอบจานวน ผา่ นรายละเอียด รนุ่ เลขทะเบยี น เครือ่ งยนต์ เป็นต้น

จัดเรียงเอกสารงบประมาณประจาปีและเตรียมมาบรรจุใส่แฟูมเอกสารเพ่ือใช้ในการจัดเรียงและ
เพ่ือให้ง่ายต่อการนามาใช้งานในเวลาต่อไป และจัดเรียงเอกสารของแต่ละจังหวัดท่ีมีการตรวจสอบเรียบร้อย
แล้ว

สัปดาหท์ ี่ ๓

ตรวจสอบรายการครุภัณฑ์และถ่ายรูปครุภัณฑ์ดังกล่าว เพื่อที่จะต้องทารายการจาหน่ายประจาปี ท่ี
ทางกลุม่ งานพสั ดุ สังกัดกองคลังเปน็ ผู้ดูแล ว่าครุภัณฑ์ดังกล่าวนั้นมีความครบถ้วนตามรายการ มีความถูกต้อง
และตรงตามทะเบียนทจ่ี ัดทาไว้หรือไม่ และทาการจดั ติดหมายเลขเพื่อระบจุ านวนครุภณั ฑ์ที่ต้องจาหนา่ ย

สปั ดาหท์ ่ี ๔

นาภาพถ่ายครุภัณฑ์ท่ีตรวจสอบจากสัปดาห์ที่แล้ว จัดทาเป็นไฟล์เอกสารเข้าสู่โปรแกรม Micro soft
word เพื่อจัดทาเป็นเอกสารรายการทะเบียนครุภัณฑ์ประจาปี และตรวจสอบครุภัณฑ์ที่ตกค้างจากกองอื่นๆ
อาทิ กองแผนงาน กองการเจา้ หน้าที่ และนารายการตกคา้ งดงั กล่าวมาเพิ่มเติมในทะเบยี นต่อไป

สปั ดาห์ท่ี ๕

ตรวจสอบยอดของรายการวัสดุและเหล็กท่ีผลิตในประเทศ ท่ีเป็นงานก่อสร้างอาคารที่พักอาศัย
ข้าราชการ ว่าด้วยเร่ืองยอดค้าใช้จ่ายในเอกสารดังกล่าว แต่ละรายการมีความถูกต้องหรือไม่ หากไม่ถูกต้องก็
จะสง่ แกใ้ ห้แก่ฝาุ ยตรวจสอบฝาุ ยอาคารและยานพาหนะให้แก้ไข และสง่ ตรวจสอบอกี ครั้ง

สปั ดาหท์ ี่ ๖

โดยในช่วงสองวันแรกของการทางานในสัปดาห์ที่ ๖ จะเป็นการตรวจสอบยอดของโครงการท่ีแต่ละ
จังหวดั มกี ารเสนอมา ว่ายอดดังกล่าวน้นั มีความถกู ตอ้ งและครบถ้วนหรือไม่

อีกทั้งได้รับการมอบหมายงานให้ Xerox และ Scan เอกสารเพื่อใช้ในการจัดทาเป็นเอกสารการ
ประชมุ และจดั เรียงเอกสารเพอื่ งา่ ยต่อการจดั ทาเอกสารดงั กล่าวให้มีความเปน็ ระเบยี บ

และสุดท้ายคือ การเข้าพบ ผู้อานวยการกองคลัง เพ่ือรายงานความคืบหน้าและการดาเนินงานของ
การฝกึ สหกจิ ว่ามคี วามเรียบรอ้ ยหรอื มปี ัญหาหรอื ไม่ในระยะการฝึกสหกจิ ท่ีผา่ นมา

สปั ดาหท์ ่ี ๗

จัดทาทะเบียนเอกสารของแต่ละจังหวัด อาทิ จังหวัดสกลนคร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี จังหวัดยะลา และโครงการของจังหวัดท่ีเป็นกลุ่มภาคกลางตอนบนทั้ง ๑ และ ๒ นาทะเบียน
เอกสารท่ีจัดทาไว้ของแต่ละจังหวัดดังกล่าว นาเข้าแฟูมเอกสารที่แยกออกเป็นแต่ละจังหวัด และจัดทาหัวข้อ
เพอ่ื แยกใหง้ า่ ยต่อการทางาน

และ Xerox เอกสารสาคญั ทางราชการท่ีเก่ยี วขอ้ งกับงานกองคลัง ท่พี ัสดรุ บั ผดิ ชอบ

สัปดาหท์ ี่ ๘

จ่าหนา้ ซองที่อยู่ของเอกสารที่ทางพัสดุจะต้องส่งให้แต่ละจังหวัดเพื่อดาเนินการ จัดเรียงเอกสารเพ่ือ
บรรจลุ งกลอ่ งเอกสารประจาปีที่เกยี่ วกบั งานราชพสั ดุ หรือโครงการตา่ งๆทีเ่ กิดข้นึ ในปนี ้ันๆ

ปั้มตรายางเอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ งกับโทรคมนาคมวา่ ดว้ ยเรอ่ื งการใช้โปรอินเตอร์เน็ตไร้สายทีก่ องคลัง ฝุาย
พสั ดเุ ปน็ ผูด้ าเนินและดูแล สดุ ท้ายคอื การ Xerox และ Scan เอกสารใหแ้ ก่พ่ีเล้ยี งและจัดทาเอกสารดงั กล่าว

สัปดาห์ที่ ๙

ถ่ายรูปอุปกรณ์ส่ือสารของกรม อาทิ วิทยุส่ือสาร และครุภัณฑ์อ่ืนๆ และส่งต่อภาพดังกล่าวให้แก่พี่
เล้ียง เพอื่ ทีจ่ ะตรวจสอบจานวนของที่มีอยู่วา่ มีความครบถ้วนหรือมีส่วนใดบ้างท่ีขาดหายไป

รวมถึงได้ตัดสต๊ิกเกอร์ที่ติดโทรศัพท์เป็นรายแต่ละจังหวัดเพ่ือจัดเตรียมในการติดข้างกล่องโทรศัพท์
ในการส่งมอบให้แต่ละจังหวัดทั้ง 76 จังหวัด และป้ัมตรายางเอกสารโครงการเก่ียวกับงานสินค้าOTOPที่อยู่
ภายใตก้ ารดแู ลของกองคลงั

สัปดาหท์ ่ี ๑๐

ออกนอกสถานท่ีเพ่ือตรวจสอบโครงการจัดต้ังศูนย์แสดงจาหน่าย และกระจายสินค้าโอทอปใต้ทาง
ด่วนกรุงเทพมหานคร ที่เขตรามอนิ ทรา OTOP in the city และทใี่ ตท้ างดว่ นเพลนิ จติ

จัดเตรียมโทรศัพทม์ ือถือที่จะต้องมอบใหแ้ ก่แตล่ ะจังหวัดทจี่ ะเดินทางเข้ามารับท่ีสานักงาน ตรวจสอบ
ความถกู ต้องของหมายเลขโทรศัพท์ จานวนเครื่อง และรนุ่ โทรศพั ท์ เป็นตน้

และ Xerox รวมถึงจดั เรียงเอกสารแบบฟอรม์ นาครุภัณฑ์เข้า-ออกอาคาร

สัปดาห์ท่ี ๑๑

จัดทาคู่มือโทรศัพท์มือถือท่ีจะต้องแนบไปส่วนตัวเครื่อง ท่ีจะต้องมอบไห้แก่แต่ละจังหวัดเพ่ือเตรียม
ความพร้อมสาหรบั การมอบในวันถัดไป

ช่วยเหลือพ่ีเล้ียงในการส่งมอบโทรศัพท์ที่แต่ละจังหวัดเดินทางเข้ามารับท่ีสานักงาน ทาหน้าท่ีในการ
ตรวจสอบรายการของแตล่ ะจงั หวัด ยก จัด วางโทรศัพท์ รวมถึงการตรวจสอบเบอร์โทรศัพท์ว่ามีความตรงกัน
ตามรายการหรือไม่ และสดุ ท้ายคอื การชว่ ยแพค็ ของเพื่อมอบใหแ้ กแ่ ตล่ ะจงั หวดั

สปั ดาห์ท่ี ๑๒

ชว่ ยเหลอื ในการส่งมอบโทรศัพท์เพ่ิมเติม รวมถึงการเดินเอกสารไปยังกลุ่มงานตรวจสอบภายใน และ
จดั ทาทะเบยี นครุภัณฑ์คงเหลือ บริเวณใต้ทางด่วนกรุงเทพมหานคร อย่างใต้ทางด่วนสีลม เพลินจิต และราม
อินทรา ซงึ่ เป็นสถานทก่ี ารจดั กจิ กรรมที่อยูภ่ ายใตก้ ารดูแลของกรม

สัปดาห์ที่ ๑๓

ตรวจสอบครุภัณฑ์ประจาปีเพิ่มเติมที่ข้างห้องแผนงาน ปรับปรุงไฟล์ทะเบียนครุภัณฑ์ให้เหมาะสมข้ึน
และปรับปรุงไฟลง์ านครุภณั ฑ์ใต้ทางด่วนทง้ั ๓ ที่ คอื ใตท้ างด่วนเพลนิ จติ สลี ม และสดุ ทา้ ยคือรามอนิ ทรา

สปั ดาห์ท่ี ๑๔

ปั้มตราเอกสารโครงการงาน OTOP รวมถึง Xerox และ Scan เอกสาร

บทที่ ๓

ผลการปฏิบตั งิ าน

จากการฝึกสหกิจศึกษาที่ กองคลัง กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ในช่วงระยะเวลาวันท่ี
๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ถึง วันท่ี ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ได้รับประสบการณ์จากการทางานต่างๆมากมาย ได้
การฝึกเรียนรู้ ฝึกการปฏิบัติท่ีทาได้จริง สามารถที่จะเข้าใจระบบหลักการทางานขององค์กร โดยเฉพาะงาน
พัสดุ ท่ีอาศัยความละเอียดและรอบคอบเป็นอย่างมาก ทาให้มีสติและต้ังใจท่ีกระตือรือร้นต่องานท่ีทา
ตลอดเวลา ท้ังการตรวจสอบตัวเลขรายการ ตรวจสอบครุภัณฑ์สานักงาน เป็นต้น อีกทั้งได้รับคาแนะนาและ
การสั่งสอนท่ีดีจากพ่ีๆในสานักงาน ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีหาไม่ได้จากตาราเรียนท่ัวไป และเป็นประโยชน์ต่อการทางาน
การปรับตัวเข้าสังคมในการทางาน ทาใหก้ ารฝกึ สหกิจศกึ ษาในครงั้ น้ีสาเรจ็ ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี

สิ่งทคี่ าดหวัง

สาหรับการฝึกสหกิจศึกษาในคร้ังนี้ ผู้จัดทาคาดหวังที่จะเรียนรู้และศึกษาการทางานท่ีเกี่ยวข้องกับ
ระบบงานราชการ รวมถึงโครงสร้างขององค์กร เรยี นรกู้ ารทางานและฝึกฝนตนเองให้เป็นคนท่ีมีวินัยทั้งต่อการ
ทางานและการทาส่ิงอ่ืนๆในอนาคต สุดท้ายคือการปรับตัวเข้าสู่สังคมการทางานร่วมกับผู้อื่น ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีจะ
สามารถตอ่ ยอดนาไปใชไ้ ดใ้ นอนาคต

ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการฝึกสหกจิ ศึกษา

ต่อตนเอง

สิ่งหนึ่งที่ได้ก็คือ ความมีวินัยแก่ตนเอง อาทิ การตรงต่อเวลา ซึ่งเป็นสิ่งท่ีสาคัญมากในปัจจุบันเพราะ
มันจะเปน็ สิง่ ที่จะตดิ ตัวเราไปเสมอๆ ไมใ่ ชแ่ คช่ ่วงฝึกสหกจิ ศกึ ษา อีกท้งั เกิดความอยากเรียนรู้และพัฒนาตนเอง
อยเู่ สมอ มีความรบั ผิดชอบต่องานท่ไี ดร้ ับมอบหมาย การปรบั ตวั เข้าสู่สังคมและปรับตัวเข้าหาผู้อื่น การจัดการ
อารมณ์ และสุดท้ายคือได้ฝึกการทางานร่วมกับผู้อื่น ซ่ึงมันแสดงให้เห็นว่างานบางอย่าง การทางานเป็นทีม
ย่อมดกี ว่าการทาคนเดียวเสมอ

ประโยชน์ตอ่ ระบบสหกจิ

ถือเป็นกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือการพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ และมีความพร้อมท่ี
จะปูอนเข้าสู่ระบบงานราชการ หรืองานอ่ืนท่ีมีความเก่ียวข้อง เพื่อที่จะส่งเสริมให้ท้ังบุคลากรและระบบน้ันมี
ความเข้มแข็งมากขึ้น ท้ังน้ีเพ่ือลดเวลาการเรียนรู้อื่นๆ เพราะบุคลากรที่พัฒนาน้ันจะสามารถขับเคลื่อน
กระบวนการหรืองานได้อย่างทันที ทาให้ภาพลักษณ์ขององค์กรดีตามไปด้วย เน่ืองจากมีบุคลากรและงานท่ีมี
คุณภาพ

ประโยชนต์ อ่ มหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยจะได้ประโยชน์จากผลการฝึกสหกิจศึกษา จากฟีดแบ็ค (Feedback) การทางานจากตัว
พ่ีเล้ียงหรือแม้กระท่ังตัวนักศึกษาเอง จะสามารถจัดทาเป็นแนวทางท่ีดีท่ีจะทาให้มหาวิทยาลัยควรท่ีจะ
สนบั สนุนหรอื แกไ้ ขในสว่ นใดเพิม่ เติม เพอื่ ท่จี ะต่อยอดให้นักศึกษารุ่นหลังๆให้มีประสิทธิภาพต่อไปเรื่อยๆ และ
จะส่งผลดีถึงภาพลักษณแ์ ละความไว้เน้อื เชื่อใจของมหาวิทยาลัยต่อตวั องค์กรและสานักงานเอง

บทที่ ๔

ปัญหาอปุ สรรคและการแกไ้ ขปัญหา

ปญั หาอุปสรรคและการแกไ้ ขปญั หา

การฝึกสหกิจศึกษากับกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ในช่วงระยะเวลาวันที่ ๑ ธันวาคม
พ.ศ.๒๕๖๔ ถงึ วันที่ ๑ มนี าคม พ.ศ.๒๕๖๕ ปญั หาและอปุ สรรคในชว่ งแรกคอื การทางานกับหลักสูตรที่ศึกษา
มานั้น มีความต่างกันเล็กน้อย อาจทาให้ในช่วงแรก ยังคงขาดความรู้ ความเข้าใจในการทางาน รวมถึงการใช้
เคร่ืองหรือหรือครุภัณฑ์ในสานักงาน แต่เมื่อเวลาผ่านไปเม่ือได้รับคาแนะนา และการสั่งสอนงานจากพ่ีๆผู้มี
ประสบการณ์ก็สามารถที่จะปรับตัวได้ดีข้ึนตามลาดับ จนสามารถท่ีจะฝึกสหกิจศึกษาจนสาเร็จลุล่วงไปได้
ด้วยดี สุดท้ายคือการปรับตัวเข้าสู่สังคม ในช่วงแรกยังคงปรับตัวยากอยู่พอสมควร แต่ก็สามารถท่ีจะปรับตัว
เขา้ กบั การทางานและอยู่ร่วมกับพ่ีๆได้ เนื่องจากพ่ีมีวิธีที่จะพูดและละลายพฤติกรรมได้เป็นอย่างดี ส่วนในการ
แก้ไขปัญหา คือการที่พยายามมีสติและมีความกระตือรือร้นต่อการทางานอยู่เสมอ และไม่ทาตัวเป็นน้าเต็ม
แก้วเพ่ือปิดกั้นการเรียนรู้ แต่จะคอยพยายามที่จะสอบถาม เพื่อขอคาแนะนาในเร่ืองราวต่างๆ ให้ตนเองน้ัน
พัฒนาและเรยี นรูก้ บั สงิ่ ใหมๆ่ อยเู่ สมอ

บทท่ี ๕

สรุป

ตลอดการฝึกสหกิจศึกษากับกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ในช่วงระยะเวลาวันที่ ๑
ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ถึง วันที่ ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ตัวนักศึกษาได้รับส่ิงต่างๆมากมาย จริงอยู่ว่าการศึกษา
ในห้องเรียนจะทาให้ทราบถึงแนวคิด ทฤษฎีและความรู้ แต่การลงมือทาและการปฏิบัติจริงจะทาให้เราน้ันมี
ความชานาญมากยง่ิ ขน้ึ ซึ่งท้ังสองสิ่งจะตอ้ งมคี วามสัมพันธ์กัน สิ่งหนึ่งที่ได้จากการฝึกสหกิจคือ การเรียนรู้การ
ทางานจริงในระบบราชการ ทาให้ทราบถึงโครงสรา้ ง หลักการทางานจรงิ ท่เี กิดขึ้นในชีวิตประจาวัน ซึ่งสามารถ
ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจในรายละเอียดที่เป็นไปมากขึ้น ทาให้เป็นคนท่ีมีวินัยมากขึ้น และเรียนรู้ส่ิงใหม่อยู่
เสมอ และการปรับตัวเข้าสู่สังคม และส่ิงหน่ึงท่ีได้รับคือการทางานกับพี่ๆที่ได้รับความอนุเคราะห์ที่ดีและมี
ความอบอุ่นเป็นอย่างมากตลอดการทางาน ทาให้ระยะการฝึกน้ันเต็มไปด้วยความสนุกและมีความสุข ถือเป็น
ความทรงจาท่ดี คี รั้งหน่ึงสาหรบั การฝึกสหกิจในครั้งนี้

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version