The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลภูมิปัญญา-ราษีไศล1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by happybox_2526, 2021-11-15 22:13:37

ข้อมูลภูมิปัญญา-ราษีไศล1

ข้อมูลภูมิปัญญา-ราษีไศล1

7. ข้ันตอนการถ่ายทอดความรู้
- การเลือกเหลก็ และชนิดของเหลก็ การเตรยี มวสั ดุ – อุปกรณ์ ขน้ั ตอนและวิธกี ารทำ

8. บคุ คล/หน่วยงานที่เข้ามารับความรู้จากภมู ิปัญญา
- นักเรียน นักศกึ ษา ประชาชนตำบลดู่
- บุคคลทวั่ ไปท่สี นใจ

ภาพประกอบ

1. ช่ือภูมปิ ัญญา ดอกไม้ประดิษฐจ์ ากดินไทย
2. เจา้ ของภูมปิ ญั ญา นางบัณฑิตา ประสมสิน เกดิ 9 มิถนุ ายน 2509 อายุ 47 ปี
3. ท่ตี ้งั /ที่อยู่ 136 หมู่ 13 ตำบลดู่ อำเภอราษไี ศล จงั หวดั ศรสี ะเกษ
4. ประสบการณ์ 6 ปี
5. ประวตั ิความเป็นมา/สาระท่ีได้จากภูมิปญั ญา

สมัยก่อนเหน็ ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ทที่ ำจากผ้า,พลาสติก จงึ คดิ หาวสั ดุทท่ี ำแล้วมีความปราณีต
ช่วงนัน้ มดี อกไมป้ ระดษิ ฐจ์ ากดินญ่ีปุ่นดูแล้วสวยงามเหมือนธรรมชาติ แต่ราคาดนิ แพงมากไมส่ ามารถ
นำมาประกอบเปน็ อาชีพได้ จึงคิดหาวัสดุอนื่ มาทดแทน โดยหาวตั ถุดิบในท้องถ่ิน ทดลองคิดค้น สูตร
ดินและพฒั นาเนอ้ื ดินใหม้ ีความเหมาะสมกบั การปัน้ และประดษิ ฐ์ให้เหมือนธรรมชาติ ดินที่คิดคน้ มี
ความสวยงาม สวยนาน ทน ไม่ขึ้นรา ไม่ดำ ยดื หยนุ่ ได้ ไมแ่ ตกหักงา่ ย ถูกแดดไม่ละลาย สีไมซ่ ีด
6. ลักษณะสำคญั ของภมู ิปัญญา

มคี วามประณตี สวยงามเหมือนจรงิ สวยทน สวยนาน,ไม่ข้ึนรา ไม่ดำ ไม่แตกหักงา่ ย สีไมซ่ ีด
7. ข้ันตอนการถ่ายทอดความรู้

- การเตรียมวัสดุ – อปุ กรณ์ การเลือกซอื้ ดนิ สีต่างๆ ขนั้ ตอนและวธิ กี ารทำ
8. บุคคล/หนว่ ยงานท่ีเข้ามารับความรู้จากภูมิปญั ญา

- นกั เรียน นักศกึ ษา ประชาชนตำบลดู่
- บคุ คลทวั่ ไปทสี่ นใจ

ภาพประกอบ

1. ชอื่ ภูมิปญั ญา การทอเสื่อ
2. เจ้าของภูมิปญั ญา นางทองใส เครือแสง เกดิ - / - / 2495 อายุ 61 ปี
3. ท่ีตง้ั /ทีอ่ ยู่ 89 หมู่ 13 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรสี ะเกษ
4. ประสบการณ์ 2 ปี
5. ประวัติความเป็นมา/สาระที่ไดจ้ ากภมู ปิ ญั ญา
ก่อน พ.ศ. 2490 วถิ ชี ีวิตของชาวบ้านอสี านไมเ่ ปล่ยี นแปลงมากนกั บา้ นเรือนท่ีอยู่อาศยั ยังคงปลกู
เรอื นด้วยไม้ไผบ่ ้าง ไมเ้ นือ้ แข็งบา้ ง เกอื บทกุ เรือนจะใชเ้ ส่ือหรือสาดปูนงั่ ปนู อน ตามกาลเทศะอันควร
เส่ือในยุคนั้นมีทง้ั เสื่อแบบหยาบ ๆ และเสอื่ ประณตี เสื่อเป็นของใช้สำหรับบ้าน มีมานานเช่นเดยี วกับ
พรม จนคนมักจะพดู ติดปากกันว่า “เลีย้ งดูปูเสือ่ ” และตามประเพณีทางศาสนาพทุ ธในประเทศไทย
กน็ ิยมใช้เสอ่ื เปน็ เครื่องอฐั บริขารอย่างอื่นในพธิ ีอุปสมบทหรือพธิ ที อดกฐิน จดุ มุ่งหมายในการทอเส่ือ
จงึ เป็นไปเพ่อื ใช้สอยในครวั เรือน บ้านใดไมม่ ีเส่ือใชถ้ ือวา่ พ่อแม่ ลกู เกียจครา้ น ไมม่ ฝี มี ือ หนมุ่ สาวที่
แต่งงานใหมห่ รือขน้ึ เรือนใหม่ จะต้องมฟี ูก หมอน เสื่อทฝ่ี า่ ยหญิงจดั เตรียมสะสมไวเ้ ป็นของขึน้ เรือน
ความจำเป็นดงั กลา่ วนี้ ทำให้มกี ารทอเสือ่ ไวใ้ ช้ หรือหาแลกสนิ ค้าจากหมบู่ ้านอืน่ ไวต้ ดิ บ้านเรือน เสือ่
จึงมคี วามสำคัญในฐานะที่ทำใหท้ ่ีอยอู่ าศยั น่าพกั พิงทั้งในยามต่ืน และยามหลับนอน และยังใชก้ ำบัง
แดด ลม ฝน ข้างฝาเรือนไดอ้ ีกด้วยนอกจากนั้น ชาวบ้านยังทอเสื่อเพื่อถวายเป็นไทยทานใหก้ ับวดั เพื่อ
บำรุงศาสนาในฤดูเทศกาลต่าง ๆ เชน่ บญุ ผา้ ปา่ วนั เขา้ พรรษา และบุญทอดกฐนิ เป็นต้น และ
ชาวบ้านยังนำเสือ่ ทอ เหล่าน้ันไปแลกกับส่ิงของอ่นื ๆ กับหม่บู า้ นใกลเ้ คยี ง ดังนั้น พอจะสรุปไดว้ ่า
วัตถุประสงค์ของการผลติ เส่ือทอของชาวบา้ นในอดตี นั้นก็เพอ่ื การใช้สอย เพอ่ื การทำบญุ สนุ ทาน เปน็
ของฝากญาตมิ ิตร เพ่ือแลกเปลี่ยนกบั สนิ ค้าอ่ืนหรือเพื่อการจำหนา่ ยเพยี งเลก็ น้อยในบางคร้งั
6. ลักษณะสำคญั ของภมู ิปัญญา

เพื่อความสะดวกสบายในการเกบ็ รักษาเส่ือซึง่ มีความยาวขนาดตา่ ง ๆ ความสะดวกในการ
เคลอ่ื นยา้ ย และประโยชน์ใช้สอยแล้วชาวบา้ นก็มีการดดั แปลงรูปแบบของเสอื่ ทเี่ ป็นผนื ใหส้ ามารถพบั
ไดแ้ ละถอื ไปมาไดส้ ะดวก โดยการนำเสอื่ ที่ทอเสร็จแล้วมาตัดเปน็ ชิ้น ๆ แล้วตัดผ้าสีเพื่อทำริมเสอ่ื และ
เย็บริมเส่ือกนั รุ่ยใชผ้ ้าเย็บต่อกันให้เปน็ ผืนตอ่ ใหเ้ ปน็ ผืนกวา้ งตามต้องการเสร็จแล้วใช้ผ้าสเี ดยี วกันเย็บ
ติดเป็นสายห้วิ ไปมาได้สะดวกเปน็ เสอ่ื พบั หนงึ่ ผนื เม่ือเยบ็ เสรจ็ แลว้ พบั เก็บไว้ที่ชั้นเพอื่ รอจำหนา่ ย และ
การทำเสื่อนั่ง ทำทีร่ องจาน รองแก้ว กระเป๋า
7. ขนั้ ตอนการถ่ายทอดความรู้
1. นำกกหรอื ไหลมากรีดออกเป็นเสน้ นำไปตากแดดประมาณ 1 อาทติ ย์

2. เมอ่ื แห้งแลว้ นำมาย้อมสี ตามต้องการโดยสีที่ย้อมเป็นสเี คมี อย่างดี ส่วนมากจะย้อมสีนำ้ ตาล สขี าว
สแี ดง และสนี ้ำเงิน
3. นำเชือกไนลอน หรือเชือกเอนขึงท่ี โฮมทดเส่ือให้เปน็ เสน้ ตามโฮมและฟืม
4. นำกกหรอื ไหลสอดเข้ากบั ไม้สอดเพอ่ื ทจี่ ะสอดเข้ากับโฮมทอเสื่อ
5. เม่ือสอดหรือไหลเข้าไปแล้ว ผลักฟมื เข้าหาตวั เองให้กกหรอื ไหลแน่นตดิ กันเปน็ ลายต่างๆ

6. ลายท่ีทอเปน็ ประจำ และเปน็ ทีน่ ิยม คือ ลายมัดหม่ี ลายธรรมชาติ ลายกระจบั
7. จากนนั้ กน็ ำเสื่อกกท่ีทอแล้วมาแปรรปู เป็นผลิตภณั ฑต์ ่างๆ เช่น หมอน อาสนะ ที่
รองแก้ว
8. บุคคล/หนว่ ยงานท่ีเข้ามารับความรู้จากภูมิปญั ญา
- นักเรยี น นักศกึ ษา ประชาชนตำบลดู่
- บคุ คลทว่ั ไปท่สี นใจ

ภาพประกอบ

1. ชอื่ ภูมปิ ัญญา จกั สาน
2. เจ้าของภูมปิ ญั ญา นายทอง อ่นุ คำ เกิด - / - / 2492 อายุ 64 ปี
3. ท่ตี ้ัง/ท่ีอยู่ 19 หมู่ 3 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรสี ะเกษ
4. ประสบการณ์ 22 ปี
5. ประวัติความเปน็ มา/สาระทไ่ี ดจ้ ากภมู ปิ ัญญา

หัตถกรรมเครอื่ งจักสานเป็นภูมิปญั ญาท้องถิ่นของชุมชนที่สำคญั ยิ่งต่อการดำรงชีวติ ต้งั แต่
อดตี ตง้ั แตส่ มยั อยธุ ยาจนถงึ ปัจจุบนั หัตถกรรมเครื่องจักสานเป็นตัวอย่างหนงึ่ ทแ่ี สดงให้เห็นภูมิ
ปัญญาอันเฉลยี วฉลาดของคนในทอ้ งถนิ่ ทใี่ ช้ภมู ปิ ัญญาสามารถนำสิง่ ที่มอี ยู่ในชุมชนมาประยกุ ต์ทำ
เปน็ เครื่องมือเครือ่ งใช้ในชวี ิตประจำวัน ซึ่งมีประโยชน์ในการดำรงชีวิต จะเหน็ ได้วา่ หัตถกรรมเครื่อง
จกั สานมมี านานแล้วและได้มีการพัฒนามาตลอดเวลาโดยอาศยั การถ่ายทอดความรู้จากคนรนุ่ หนึ่ง
ไปสูค่ นอีกรนุ่ หน่งึ การดำรงชวี ติ ประจำวนั ของชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่ได้เอาการรหู้ นังสือมาเกี่ยวขอ้ ง
การเรยี นรตู้ ่างๆ อาศัยวธิ กี ารฝึกหดั และบอกเล่าซ่ึงไม่เปน็ ระบบในการบนั ทึก สะท้อนใหเ้ หน็ การ
เรยี นรู้ ความรทู้ ี่สะสมที่สืบทอดกันมาจากอดตี มาถึงปจั จบุ นั หรือท่ีเรียกกนั วา่ ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ดังนั้น
กระบวนถ่ายทอดความรจู้ ึงมีความสำคัญอย่างย่งิ ท่ีทำภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นนัน้ คงอยู่ต่อเนื่องและย่ังยืน

6. ลกั ษณะสำคัญของภมู ิปัญญา
การทำเครื่องจักสานทเี่ ปน็ ไมไ้ ผแ่ ละหวาย กก ใบลาน ใบมะพรา้ ว เร่ิมตน้ จากการเตรียมตอก

คอื การเตรียมไมไ้ ผ่ หวาย นำวสั ดทุ จี่ ะใช้ในสานใหเ้ ป็นซต่ี ามความต้องการทีจ่ ะใช้แล้วจงึ สาน ถกั ทอ
ตามลวดลายและรปู ทรงทจ่ี ะทำ เครอ่ื งจักสานทีด่ จี ะไมม่ ีโลหะเป็นสว่ นประกอบปนอยู่ หากแต่ใชว้ สั ดุ
พวกเดยี วกัน เช่นหวาย เชอื ก และเดือยไม้ไผ่เปน็ เครื่องผูกยึดและเป็นโครงสร้าง

7. ขั้นตอนการถา่ ยทอดความรู้
วตั ถุดบิ ในการจักสาน ท่ีใชก้ นั ท่ัวไปมหี ลายอย่างได้แก่ ใบเตย ลำเจียกหรือปาหนนั

ผักตบชวา ย่านลิเพา กระจูด กก ใบตาล ใบลาน หวาย ไม้ไผ่ แตท่ ่นี ิยมนำมาใช้ทำงานจกั สานมาก
ที่สุดคอื ไม้ไผแ่ ละหวาย เนื่องจากคงทน ราคาไมแ่ พง วัตถดุ ิบหาได้ งา่ ยมีอยทู่ ัว่ ไป การเตรยี มไม้ไผ่
เลือกลำต้นท่ีมคี วามตรง ลำปล้องยาว ผิวเรียบเปน็ มนั หลงั จากตดั ออกมาจากกอ นำมาแช่น้ำตลอด
ท้งั ลำเพ่ือให้ไมไ้ ผม่ ีความสดและป้องกันมด ปลวก มอด เจาะไช เมื่อจะนำมาใชง้ านจงึ ตัดเอาตาม
ขนาดทต่ี ้องการมาผา่ ออกแล้วนำไปจักเป็นตอกแล้วตากแดดให้แห้ง รู้

8. บคุ คล/หน่วยงานท่เี ข้ามารบั ความรจู้ ากภมู ิปัญญา
- นักเรยี น นกั ศึกษา ประชาชนตำบลดู่
- บุคคลทัว่ ไปที่สนใจ

ภาพประกอบ

1. ชื่อภูมิปญั ญา ยาสมุนไพรและเกษตรอินทรีย์
2. เจา้ ของภูมปิ ญั ญา นายทองสนิ สมพร
3. ทีต่ ง้ั /ท่อี ยู่ บ้านเลขท่ี 51 หมทู่ ี่ 9 บา้ นดอนมว่ ง ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรีสะเกษ
4. ประสบการณ์ 10 ปี
5. ประวัติความเปน็ มา/สาระทีไ่ ดจ้ ากภูมปิ ัญญา

หมอยา คือ ผู้เชี่ยวชาญดา้ นการรักษาโรค สมัยรุ่นคุณตายังหนุ่ม คุณย่ายังสาว การแพทย์ยงั
ไม่เจริญก้าวหน้าเท่าปัจจุบันนี้ หากย้อนไปมองในยุคนั้นก็จะพบว่า แต่ละชุมชนมักจะมีผู้ที่มีความรู้
เรื่องวิธีรักษาโรค รู้เรื่องยาดีที่สุด หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “หมอยา“ประจำอยู่ เมื่อเกิดอาการเจบ็
ไข้ได้ป่วยก็จะได้หมอยานี่แหละที่บรรเทาเบาบางอาหารเจ็บไข้ให้ แต่ถึงเดี๋ยวนี้สภาพสังคมเปลี่ยนไป
วิถีชีวิตของผู้คนก็เปลี่ยนไปความเชื่อในการพึ่งหมอยาซึ่งรักษาด้วยวิธีตามแบบพื้นบ้านที่ได้รับมรดก
ตกทอดมาจากบรรพบุรุษเริ่มจางหายไป แต่กลับหันไปใช้วิธีที่รักษาได้รวดเร็วกว่านั้น ยาสมุนไพร
เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติปราชญ์ชาวบ้านหรือหมอยาที่มีความรู้ก็จะนำมาสกัดหรือนำมาผ่าน
กรรมวธิ ีต่างๆทนี่ ำตวั ยาออกมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นการรักษาโรค

เกษตรอินทรีย์ คือ ระบบการผลิตที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อมรักษาสมดุลของธรรมชาติและ
ความหลากหลายของทางชีวภาพโดยมีระบบการจัดการนิเวศวิทยาที่คล้ายคลึงกับธรรมชาติและ
หลีกเลย่ี งการใชส้ ารสังเคราะห์ไมว่ ่าจะเป็นปุ๋ยเคมี สารเคมีกำจัดศัตรูพืชและฮอร์โมนต่าง ๆ ตลอดจน
ไม่ใช้พืชหรือสัตว์ที่เกิดจากการตัดต่อทางพันธุกรรมที่อาจเกิดมลพิษในสภาพแวดล้อมเน้นการใช้
อินทรีย์วัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และ ปุ๋ยชีวภาพในการปรับปรุงบำรุงให้มีความอุดม
สมบูรณ์ เพอื่ ใหต้ น้ พชื มีความแข็งแรงสามารถต้านทานโรคและแมลงด้วยตนเอง รวมถงึ การนำเอาภูมิ
ปัญญาชาวบ้านมาใช้ประโยชน์ด้วย ผลผลิตที่ได้จะปลอดภัยจากสารพิษตกค้างทำให้ปลอดภัยทั้ง
ผผู้ ลิตและผู้บรโิ ภคและไมท่ ำให้สภาพแวดล้อมเส่ือมโทรมอีกด้วย

6. ลกั ษณะสำคัญของภูมิปัญญา
(1) นำความรู้ไปใชใ้ นการรกั ษาโรคให้กบั บุคลในครอบครวั และชุมชน
(2) สามารถนำสงิ่ ที่มีอยูใ่ นท้องถ่นิ มาใช้เปน็ ยารกั ษาโรคได้
(3) ไดร้ บั ความรเู้ กย่ี วกับสรรพคณุ ของยาสมนุ ไพรท่ีมอี ยู่ในท้องถ่ิน
(4) ได้ใช้ป๋ยุ อินทรยี ์ชวี ภาพแทนการใชป้ ยุ๋ เคมี
(5) ลดการใช้สารเคมีในนาข้าว โดยใช้ทรพั ยากรธรรมชาติแทน

7. ข้นั ตอนการถา่ ยทอดความรู้
- การศกึ ษาดงู านแหลง่ เรยี นรู้ การลงมอื ทำ สาธติ และการทดลองปฏบิ ตั ิ

8. บคุ คล/หน่วยงานทเ่ี ข้ามารับความรจู้ ากภูมิปัญญา
- นกั เรียน นักศกึ ษา ประชาชนตำบลดู่
- บคุ คลทั่วไปทส่ี นใจ

ภาพประกอบ

1. ชอื่ ภูมปิ ญั ญา : นายสาร โพธิวัฒน์

2. ท่อี ยู่ : 49 หมู่ 2 บ้านส้มป่อย ตำบลส้มป่อย อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรีสะเกษ

3. ประวตั ิความเปน็ มา/สาระความรู้ทไี่ ดจ้ ากภูมิปญั ญา : ภูมปิ ญั ญา ไดช้ ื่อว่าเป็นศาสตรห์ น่ึงท่ีทำให้
คนไทยคนในท้องถิ่นได้รู้จักตัวตนที่แท้จริงของวิถีชีวิตตนเอง และสามารถนำไปเป็นแนวทางเพื่อการ
ดำรงชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม องค์ความรู้ของชาวบ้าน หรือทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดท่ี
เกิดจากสติปัญญา ความสามารถของชาวบ้านที่รู้จักการแก้ไขปัญหา หรือการนำมาใช้ในการดำเนิน
ชีวิตในยุคปัจจุบนั และคติ ความคิด ความเชื่อ เป็นพื้นฐานขององค์ความรูท้ ี่ได้ส่ังสม และสืบทอดกัน
มาชา้ นาน หมอเป่า หมอนวด หมอผี เป็นกลุ่มหมอพ้นื บ้านทมี่ บี ทบาทต่อสงั คมของคนในชนบท ได้รับ
การถา่ ยทอดความรู้จากบรรพบรุ ุษ เช่น ปู่ ตา พอ่ หรือจากครทู ่ีสบื ทอดกันมา

- หมอเป่า สามารถเป่าอาการของเด็กเล็กที่เป็นตาลขโมย เด็กร้องไห้ไม่หยุดก็สามารถเป่า
ช่วยให้หยุดร้องได้ การเป่า เป็นวิธีการรักษาของหมอพื้นบ้าน รักษาอาการเจ็บป่วยโดยใช้เวทมนตร์
คาถาเป่าไปตามร่างกายผู้ป่วย บางครั้งอาจจะใช้สมุนไพรในการรักษาด้วย หมอเป่าเปรียบเสมือน
แพทยท์ ่พี อจะรักษาอาการเจบ็ ไข้ไดป้ ว่ ยใหผ้ ู้ปว่ ยได้ การคิดคา่ รักษาอาจเป็นค่าตอบแทนเล็กน้อยเพื่อ
เป็นสินน้ำใจ หรือถ้าผู้ป่วยไม่มีเงินอาจรักษาให้ฟรี และเมื่อผู้ป่วยหายจากการเจ็บป่วยก็จะจัดเตรียม
ของกินของใช้หรือเงินเพื่อนำไปตอบแทนท่านที่ไดร้ ักษาใหจ้ นหายจากการเจ็บปว่ ย การนวดแผนไทย
หรอื นวดแผนโบราณ เปน็ การนวดชนิดหนง่ึ ในแบบไทย ซึง่ เป็นศาสตร์บำบัดและรักษาโรคแขนงหน่ึง
ของการแพทย์แผนไทย โดยจะเน้นในลักษณะการยืดเส้น และการกดจุด ซึ่งรู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อ
"นวดแผนโบราณ"
4. ลักษณะสำคัญของภูมิปญั ญา : ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ นและประสบการณต์ า่ งๆ ทีส่ นับสนนุ ส่งเสรมิ ให้
ผ้เู รียนเกดิ กระบวนการเรยี นรูแ้ ละเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้

5. ขั้นตอนการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญา : - หมอนวด นวดคลายกล้ามเนื้อ คลายกระดูกทับ
เส้น กระดูกที่หัก เคล็ดขัดยอกสามารถนวดให้หายจากอาการเหล่านี้ได้ สำหรับบางคนที่เดินไม่ได้มา
นวดก็สามารถกลบั มาเดนิ ตอ่ ได้ตามระยะเวลาของอาการ

6. บคุ คล/หน่วยงานทเี่ ข้ามารับความรู้จากภูมิปัญญา :
- ชาวบา้ นทั่วไป
- บคุ คลทสี่ นใจ
- นกั เรียน
- หนว่ ยงานท้องถ่ิน

1. ช่ือภูมปิ ัญญา : นายหนพู รหม บริบาล

2. ที่อยู่ : 62 หมู่ 2 บ้านส้มป่อย ตำบลสม้ ป่อย อำเภอราษไี ศล จังหวัดศรสี ะเกษ

3. ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระความรู้ท่ีไดจ้ ากภมู ิปญั ญา :
เริ่มจากสังเกตจากบิดา ผู้เฒ่าผู้แก่ที่ทำเครื่องใช้ไว้ใช้ในครัวเรือน เช่น ตะกร้าไว้สำหรับหาบ

สิ่งของไปทำไร่ ทำนา ตามวิถีชาวบ้าน จึงได้สนใจลองฝึกตามผู้เฒ่าผู้แก่ และได้ฝึกฝนเรื่อยมา จน
ชำนาญ

ในปัจจุบัน สามารถทำได้หลายแบบ ไม่ว่าจะเป็น ตะกร้า ลอบดักปลา กระบังใส่กุ้ง ตามวิถี
ชาวบ้าน บางคนกม็ าสัง่ ใหท้ ำตามแบบที่ตอ้ งการ

4. ลกั ษณะสำคญั ของภูมิปัญญา : หตั ถกรรมเครื่องจกั สาน ภมู ิปญั ญาชาวบ้านและประสบการณ์
ตา่ งๆ ท่สี นบั สนุนส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรแู้ ละเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้

5. ขัน้ ตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมิปัญญา :
- การบอกเล่าจากผู้เฒา่ ผ้แู ก่ และสาธติ
- ฝึกฝน ลงมอื ปฏบิ ตั ิ

6. บคุ คล/หนว่ ยงานทเ่ี ข้ามารบั ความรจู้ ากภูมปิ ัญญา :
- บุคคลทวั่ ไปทสี่ นใจ
- นักเรียน / นกั ศึกษา
- หน่วยงานทอ้ งถิน่

ภาพประกอบ

1. ชอ่ื ภูมปิ ัญญา : นางพินิจ รัตนวัน
2. ทอี่ ยู่ : 60 หมู่ 15 บ้านส้มปอ่ ย ตำบลส้มป่อย อำเภอราษไี ศล จงั หวัดศรีสะเกษ
3. ประวัตคิ วามเป็นมา/สาระความรู้ทีไ่ ดจ้ ากภมู ิปัญญา :

เร่มิ ทอผา้ ไหมมาแล้วประมาณ 50 ปี จากการเห็นผู้เฒา่ ผ้แู กแ่ ละบรรพบรุ ษุ ทท่ี อผา้ ไหม ทำให้
เกิดความสนใจอยากที่จะเรยี นรูแ้ ละฝึกฝนให้ชำนาญ จึงได้เริ่มฝกึ ฝน สังเกตเวลาที่คนแก่ท่ีทอผ้าไหม
มัดหมี่ แล้วก็ฝึกฝนอยู่เรื่อยๆ จนเก่งและชำนาญ และได้สืบทอดขั้นตอนวิธีการทอผ้าไหมมัดหมี่
จนกระทั่งปัจจุบัน และทอผ้าเป็นอาชีพเสรมิ เพื่อจำหน่าย ราคาขายผืนละ 1,200 บาท ทำให้มีรายได้
เสริมมาจนุ เจือครอบครัวและท้ังยงั ได้อนุรักษ์ศลิ ปะ ภูมิปัญญาไว้คงอยู่สบื ไป

4. ลกั ษณะสำคญั ของภูมปิ ัญญา :
หัตถกรรม งานฝมี ือ ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้านและประสบการณต์ ่างๆ ทสี่ นบั สนนุ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียน

เกดิ กระบวนการเรยี นรู้และเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้

5. ขัน้ ตอนการถา่ ยทอดความรูข้ องภมู ิปัญญา :
- อธิบายวธิ ีการขนั้ ตอน พรอ้ มสาธิต

การทอผ้าไหมมดั หม่ี
การเล้ยี งไหม เป็นอาชพี เสริมรายไดใ้ หแ้ กก่ ลุ่มผู้เลยี้ งไดเ้ ปน็ อย่างดีเปน็ งานท่ีเรยี น

รู้จากภมู ิปัญญาชาวบ้านถา่ ยทอดกนั มาจนชัว่ ลกู ชัว่ หลาน

ขน้ั ตอนและวธิ ีการเลีย้ ง
การคัดพันธ์ุ

- เลอื กรังไหมท่ีมีความสมบรู ณ์เปน็ พันธุ์ ตามต้องการ วางไว้ในภาชนะแล้วคลุมด้วยผา้ ด้วยผ้า
- เกบ็ ไว้ ประมาณ 7-10 วัน ก็จะออกมาเปน็ ผีเส้ือคดั รงั ไหมออกใหห้ มด
- เกบ็ ผีเส้ือมาวางไวบ้ นกระดาษหนังสือพมิ พ์ประมาณ 1-2 วันผีเสอ้ื ออกไข่
- เก็บไข่ไว้ประมาณ 10 วันไข่จะฟักออกเปน็ ตวั
วิธกี ารล้ียงและการให้อาหาร

1. นำตวั ออ่ นมาวางลงบนกระด้งโดยหอ่ ดว้ ยผา้ ให้มิดชดิ กันแมลงวนั แลว้ นำข้ึนช้ันวาง
2. เมื่อตัวไหมได้อายุ ได้ 2-3 วันใหอ้ าหารโดยนำใบหม่อนมาหั่นเปน็ ชนิ้ เลก็ โรยให้กิน
3. ตวั ไหมโตขน้ึ ใหก้ นิ ใบหมอ่ นทง้ั ใบไม่ต้องหัน่ ให้อาหารวนั ละ 2 ครัง้ เช้า - เยน็
ขั้นตอนการเล้ยี ง
1. ตวั ไหมอายุ 3 วัน เรียกว่า นอน 1
2. ตวั ไหมอายุ 6 วนั เรียกวา่ นอน 2
3. ตวั ไหมอายุ 9 วัน เรียกวา่ นอน 3

4. ตวั ไหมอายุ 12 วัน เรียกว่า นอน 4
5. ตวั ไหมอายุ 19 วัน เรียกว่า นอนใหญ่
6. ตวั ไหมอายุ 22 วัน ตัวไหมสุก
การเก็บตัวไหมสุก ต้องเลือกแกจ่ ดั ท่ีมสี ีเหลือง แล้วนำไปกระจายลงในจอ่ ขนาดใหญท่ ิง้ ไว้ประ
2 - 3 ตัวไหมกจ็ ะชักใยเปน็ รังไหม
ประโยชนข์ องการเลยี้ งไหม
1. ดักแด้นำมาประกอบอาหาร
2. เสน้ ใยไหมสมารถนำมาจำหน่ายไดใ้ นราคาทส่ี งู ตกประมาณ กิโลกรัมละ 200- 200 บาท
3. เสน้ ใยสมารถนำมาแปรรปู ไดโ้ ดยการทอผา้ ไหม นำไปตัดเยบ็ เส้ือผ้าได้
4. ทำใหม้ ีรายได้เสริมในครัวเรอื น
การทอผา้ ไหมมัดหม่ี เปน็ การนำวตั ถุดบิ คือ ไหม มามัดทำเป็นลวดลายของผนื ผ้า โดยการ
ใชว้ ัสดกุ ันนำ้ มดั กลมุ่ เสน้ ฝ้ายเปน็ ลวดลายตามต้องการ ก่อนนำฝา้ ยย้อมน้ำสี เม่ือแกว้ ัสดกุ ันน้ำออกจงึ
เกดิ สีแตกต่างกนั ถา้ ต้องการเพยี ง 2 สี จะแก้วัสดุมัดฝ้ายเพียงครง้ั เดยี ว หากต้องการหลายสีจะมีการ
แกม้ ัดวสั ดหุ ลายคร้ัง กอ่ นมัดหม่ี ต้องค้นหม่ีก่อน โดยการนำเส้นฝ้ายพันรอบหลักหม่ี 1 คู่ นบั จำนวน
เสน้ ฝ้ายให้สัมพันธก์ บั ลายหม่ีท่ีจะมดั จากนน้ั จึงทำการมดั หม่ีกลมุ่ เส้นฝ้ายในหลักหมี่ ตามลวดลายหมี่
ท่ีตอ้ งการ เม่ือถอดฝ้ายมดั หม่ีออกจากหลกั หมี่ นำไปย้อมสี บดิ ให้หมาดแล้วจงึ แก้ปอมัดหม่อี อก ทำให้
เกิดลวดลายตรงที่แก้ปอออก นำฝา้ ยที่แกป้ อมัดแลว้ นไี้ ปพันรอบหลอดไม้ไผ่เรยี กวา่ การปั่นหลอด
ร้อยหลอดฝา้ ยตามลำดบั ก่อน-หลงั เก็บไว้อยา่ งดรี ะวังไมใ่ ห้ถูกรบกวนจนเชอื กรอ้ ยขาด ฝ้ายมัดหมีใ่ น
หลอดฝ้ายใช้เป็นเส้นพงุ่ ในการทอ

การคน้ หม่ี
เส้นฝา้ ยมไี ขฉาบโดยธรรมชาติ ก่อนนำมาใชต้ อ้ งชุบนำ้ ให้เปยี กทว่ั อณขู องเส้นฝา้ ย โดยชุบนำ้

แล้วทบุ ดว้ ยทอ่ นไมผ้ วิ เรยี บ เรยี กว่า การฆ่าฝ้าย ก่อนจะชุบฝา้ ยหมาดนำ้ ในน้ำแป้งและตากให้แห้ง
คลอ้ งฝ้ายใส่กงแล้วถ่ายเส้นฝ้ายไปพันรอบอัก ตง้ั อักถา่ ยเส้นฝ้ายพันรอบหลักหม่ี ซง่ึ มีความกวา้ ง
สัมพนั ธก์ ับความกวา้ งของฟมื ที่ใชท้ อผา้ นบั จำนวนเสน้ ฝ้ายให้เป็นหมวดหมู่ แตล่ ะหมู่มีจำนวนเสน้
ฝา้ ยสมั พันธ์กับลายหมี่ มดั หมวดหมู่ฝ้ายดว้ ยเชอื กฟาง
วธิ กี ารคน้ หม่ี

1. เอาฝ้ายท่ีเตรยี มมาแลว้ มดั หลักหม่ีดา้ นล่างก่อน แลว้ พนั รอบหลักหมี่ไปเร่ือยๆ เรยี กว่า
การก่อหม่ี

2. การคน้ หมจี่ ะตอ้ งค้นจากล่างขนึ้ บน หรือบนลงล่างจนกว่าจะครบจำนวนรอบท่ีต้องการ
ภาษาทอ้ งถน่ิ เรยี กแตล่ ะจำนวนวา่ ลกู หรอื ลำ ถ้าก่อหม่ีผกู ฝ้ายด้านขวา ก็ต้องวนซา้ ยมาขวาทุกคร้ัง

3. ควรผูกฝ้ายไว้ทกุ ลกู ด้วยสายแนม เพื่อไมใ่ ห้หม่ีพนั กัน หรือหลดุ ออกจากกัน

6. บคุ คล/หน่วยงานทเี่ ขา้ มารับความรูจ้ ากภมู ิปัญญา :
- บุคคลทวั่ ไปท่สี นใจ
- นกั เรียน / นักศกึ ษา

1. ชอื่ ภูมิปัญญา : นายทองใบ ทองดี

2. ทีอ่ ยู่ : 29 หมู่ 3 บา้ นโก ตำบลสม้ ปอ่ ย อำเภอราษไี ศล จังหวดั ศรีสะเกษ

3. ประวตั ิความเปน็ มา/สาระความรทู้ ่ไี ด้จากภูมปิ ัญญา :
การสู่ขวัญของ พ่อทองใบ ทองดี เป็นหมอสตู รทีช่ าวบ้านให้ความเคารพนับถือและทา่ นมี

ความรู้ความสามารถในเรื่องหมอสูตรเป็นอย่างดี จากประสบการณ์ที่ท่านส่ังสมมาหลายสิบปี ซึ่งเปน็
ศาสตร์และภูมิปัญญาชาวบ้านที่จะต้องใช้ความพยายาม สามารถบวกกับความขยันและอดทน
เนื่องจากว่าการท่องแต่ละบท แต่ละงานที่ต้องทำพิธีนั้น มีรายละเอียดของเนื้อหาที่แตกต่างกัน ต้อง
แม่นยำ ความจำดี อดทน การหมั่นท่องตำรา ส่วนใหญ่ชาวบ้านก็จะทำพิธีต่างๆ อยู่บ่อยครั้ง ท่านจึง
ไดพ้ รำ่ สอน จนพากเพียรได้วชิ าตดิ ตวั มาและชาวบา้ นทม่ี ีงานมงคล งานบวช สะเดาะเคราะห์ กไ็ ด้ไปสู่
ขวัญอยู่เรื่อยๆ ทำให้เกิดความจำ ชำนาญ คล่องในการท่องบท ท่องจำเนือ้ หา ทั้งยังมีความน่าเชื่อถือ
จากชาวบ้าน และนบั รวมประสบการณถ์ งึ ปัจจุบันประมาณ 40 ปี

4. ลกั ษณะสำคัญของภูมปิ ัญญา :
ภูมปิ ัญญาชาวบา้ นและประสบการณ์ต่างๆ ทีส่ นบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นเกิดกระบวนการ

เรียนรแู้ ละเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรู้

5. ขัน้ ตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมปิ ัญญา :
- การบอกเลา่ จากผู้เฒ่าผแู้ ก่
- การทอ่ งตำรา อ่านหนงั สือ
- ฝึกฝนเป็นประจำ

6. บุคคล/หนว่ ยงานที่เข้ามารับความร้จู ากภมู ปิ ญั ญา :
- บุคคลทว่ั ไปที่สนใจ
- นกั เรยี น / นกั ศกึ ษา

1. ช่อื ภูมิปัญญา : นางหนูพลอย บริบาล
2. ทอี่ ยู่ : 57 หมู่ 15 บ้านส้มปอ่ ย ตำบลสม้ ป่อย อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ
3. ประวตั ิความเป็นมา/สาระความรทู้ ่ไี ด้จากภมู ิปัญญา :

นางหนูพลอย บรบิ าล ภูมิลำเนาเดมิ อยู่ทจ่ี งั หวดั จงั หวดั อุดรธานี ปจั จุบันไดแ้ ต่งานและมี
ครอบครวั อย่ทู ี่ บา้ นสม้ ป่อย หม่ทู ี่ 15 ตำบลส้มป่อย ซงึ่ ในวยั เดก็ และวยั สาวไดเ้ ข้าร่วมเปน็ คณะหมอ
ลำคณะหนงึ่ ในจังหวดั อุดรธานี ซง่ึ มีความสามารถในการร้องหมอลำหมู่ และลำเร่ือง ซง่ึ ความ
เจริญกา้ วหนา้ ของหมอลำกค็ งเหมอื นกบั ความเจรญิ ก้าวหนา้ ของสง่ิ อน่ื ๆ เร่ิมแรก คงเกดิ จากผูเ้ ฒา่ ผู้
แก่เลา่ นทิ าน นทิ านท่ีนำมาเลา่ เก่ียวกับจารตี ประเพณแี ละศีลธรรม โดยเรียก ลูกหลานใหม้ าชุมนมุ กัน
ทแี รกนั่งเลา่ เมื่อลกู หลานมาฟงั กันมากจะน่ังเล่าไมเ่ หมาะ ตอ้ งยนื ขึ้นเลา่ เรื่องทนี่ ำมาเล่าต้องเปน็
เรอื่ งทีม่ ีในวรรณคดี เช่น เร่ืองกาฬเกษ สนิ ชยั เป็นต้น ผเู้ ลา่ เพยี งแต่เล่า ไม่ออกทา่ ออกทางก็ไมส่ นกุ ผู้
เล่าจึงจำเป็นตอ้ งยกไม้ยกมือแสดงทา่ ทางเป็น พระเอก นางเอก เป็นนักรบ เป็นต้นเพียงแตเ่ ล่าอยา่ ง
เดียวไมส่ นกุ จงึ จำเปน็ ต้องใช้สำเนยี งสนั้ ยาว ใช้เสียงสูงตำ่ ประกอบ และหาเคร่ืองดนตรีประกอบ
เช่น ซงุ ซอ ปี่ แคน เพ่ือใหเ้ กิดความสนุกครึกครน้ื ผู้แสดง มเี พยี งแตผ่ ูช้ ายอย่างเดยี วดูไม่มีรสชาติเผ็ด
มนั จึงจำเป็นต้องหา ผหู้ ญงิ มาแสดงประกอบ เมือ่ ผ้หู ญิงมาแสดงประกอบจึงเปน็ การลำแบบสมบรู ณ์
เมอื่ ผู้หญงิ เขา้ มาเก่ยี วข้องเรอื่ งต่างๆ กต็ ามมา เชน่ เรอื่ งเก้ียวพาราสี เรอื่ งชงิ ดชี ิงเดน่ ยาด (แยง่ ) ชู้
ยาดผวั กัน เรือ่ งโจทย์ เร่ืองแก้ เร่อื งประชนั ขันท้า เรอ่ื งตลกโปกฮากต็ ามมา จึงเปน็ การลำสมบูรณ์
แบบ

3. ลกั ษณะสำคัญของภมู ิปัญญา
ประเภทของกลอนลำ

1. ลำโบราณ เปน็ การเล่านทิ านของผเู้ ฒ่าผู้แก่ใหล้ ูกหลานฟงั ไมม่ ีท่าทาง และดนตร
ประกอบลำคู่หรือลำกลอน เป็นการลำท่มี หี มอลำชายหญงิ สองคนลำสลับกัน มีเคร่ืองดนตรีประกอบ
คอื แคน การลำมีทั้งลำเรื่องนิทานโบราณคดีอสี าน เรียกว่า ลำเร่ืองตอ่ กลอน ลำทวย (ทายโจทย์)
ปัญหา ซง่ึ ผู้ลำจะต้องมี ปฏิภาณไหวพริบท่ีดี สามารถตอบโต้ ยกเหตผุ ลมาหกั ล้างฝา่ ยตรงข้ามได้
ต่อมามกี ารเพม่ิ ผูล้ ำ ข้นึ อีกหนึง่ คน อาจเป็นชายหรือหญิง กไ็ ด้ การลำจะเปล่ยี นเปน็ เรื่อง ชงิ รัก หัก
สวาท ยาดชู้ยาดผัว เรยี กวา่ ลำชิงชู้

2. ลำหมู่ เป็นการลำที่มีผู้แสดงเพิ่มมากขึ้น จนเกือบจะครบตามจำนวนตัวละครที่มี
ในเรื่อง มีเครือ่ งดนตรีประกอบเพม่ิ ขึน้ เช่น พิณ (ซุง หรือ ซึง) กลอง การลำจะมี 2 แนวทาง คอื
ลำเวยี ง จะเปน็ การลำแบบลำกลอน หมอลำแสดง เปน็ ตวั ละครตามบทบาทในเรือ่ ง การดำเนนิ เรอื่ ง
คอ่ นข้างชา้ แต่ก็ได้อรรถรสของละครพนื้ บา้ น หมอลำได้ใช้พรสวรรค์ของตวั เองในการลำ ท้งั ทางด้าน
เสยี งรอ้ ง ปฏิภาณไหวพริบ และความจำเป็นท่ีนยิ มในหมู่ผู้สงู อายุ ต่อมาเมื่อดนตรลี กู ทุ่งมอี ทิ ธิพลมาก
ขึ้นจงึ เกดิ วิวฒั นาการของลำหมอู่ ีกครงั้ หนง่ึ กลายเป็นลำเพลนิ ซง่ึ จะมีจังหวะที่เรา้ ใจชวนให้
สนุกสนาน กอ่ นการลำเรือ่ งในช่วงหวั ค่ำจะมีการนำเอารูปแบบของ วงดนตรีลูกท่งุ มาใช้เรียกคนดู
กล่าวคือ จะมนี ักร้อง (หมอลำ) มาร้อง เพลงลูกทุ่งที่กำลังฮิตในขณะน้ัน มหี างเครือ่ งเตน้ ประกอบ

นำเอาเคร่ืองดนตรีสมยั ใหมม่ าประยกุ ต์ใช้ เช่น กตี าร์ คยี บ์ อรด์ แซก็ โซโฟน ทรมั เปต และกลองชดุ
โดยนำมาผสมผสานเขา้ กับเครอ่ื งดนตรเี ดมิ ไดแ้ ก่ พิณ แคน ทำใหไ้ ดร้ สชาติของดนตรีท่แี ปลกออกไป
ยุคนีน้ บั ว่า หมอลำเฟือ่ งฟมู ากที่สดุ คณะหมอลำดงั ๆ สว่ นใหญจ่ ะอยู่ในแถบจังหวัด ขอนแก่น
อุดรธานี มหาสารคาม อบุ ลราชธานี

3. ลำซงิ่ หลังจากทหี่ มอลำค่แู ละหมอลำเพลิน ค่อยๆ เส่ือมความนยิ มลงไป อนั
เนื่องมาจาก การกา้ วเขา้ มาของเทคโนโลยีวทิ ยุโทรทศั น์ ทำให้ดนตรีสตริงเข้ามาแทรกในวถิ ชี วี ติ ของ
ผู้คนอีสาน ความนยิ มของการชมหมอลำ ค่อนขา้ งจะลดลงอย่างเหน็ ได้ชัด จนเกดิ ความวิตกกังวลกัน
มากในกลมุ่ นกั อนุรกั ษศ์ ิลปวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน แตแ่ ล้วมนต์ขลังของหมอลำกไ็ ดก้ ลบั มาอีกครั้ง ด้วย
รูปแบบท่สี ะเทอื นวงการด้วยการแสดงที่เรียกว่า ลำซิง่ ลำซิง่ เป็นวิวฒั นาการของลำคู่ (เพราะใชห้ มอ
ลำ 2 – 3 คน) ใช้เคร่ืองดนตรีสากลเข้ารว่ มให้จงั หวะเหมือนลำเพลิน มหี างเครื่องเหมือนดนตรลี ูกท่งุ
กลอนลำสนกุ สนานมจี ังหวะอันเรา้ ใจ ทำให้ได้รบั ความนิยมอยา่ งรวดเรว็ จนกระท่ังระบาดไปสู่การ
แสดงพ้นื บา้ นอ่ืนให้ต้องประยุกตป์ รับตวั เช่น เพลงโคราชกลายมาเป็นเพลงโคราชซิง่ กนั ตรึมก็กลาย
เป็นกนั ตรึมร็อค หนังปราโมทัย (หนังตะลุงอีสาน) กลายเป็นปราโมทัยซิง่ ถึงกับมีการจดั ประกวด
แขง่ ขัน บนั ทึกเทปโทรทศั น์จำหน่ายกนั อยา่ งแพร่หลาย จนถงึ กบั มีบางทา่ นถงึ กับกล่าวว่า "หมอลำไม่
มวี นั ตาย จากลมหายใจชาวอีสาน"

4. ขั้นตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมิปัญญา
การรอ้ งการลำ
การแต่งกาย
การฟ้อน

5. บคุ คล/หนว่ ยงานท่ีเขา้ มารบั ความรู้จากภมู ิปัญญา
ประชาชนทัว่ ไปที่สนใจ

1. ชอ่ื ภูมปิ ญั ญา : นางคำ ทองสุทธิ์
2. ทีอ่ ยู่ : 1 หมู่ 3 บ้านโก ตำบลส้มปอ่ ย อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรสี ะเกษ
3. ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระความรทู้ ไี่ ด้จากภมู ปิ ัญญา :

คุณยายคำ ทองสุทธิ์ เป็นชาวบา้ นโกโดยกำเนิด ซึ่งมีความสามารถในการป้ัน
เครอื่ งปัน้ ดนิ เผา ประสบการในการปั้นเครื่องปั้นดินเผาประเภทตา่ ง ๆ ไดส้ งั่ สมมาจากผู้เฒ่าผแู้ ก่
และบรรพบุรุษ ท่ไี ด้ถ่ายทอดมาสูร่ นุ่ ลูกหลาน บา้ นโกเดิมประชาชนได้อพยพมาจากอำเภอกลาง
(โนนสงู )จงั หวดั นครราชสีมา โดยอพยพมาทางเรอื มาถึงริมฝ่งั แมน่ ้ำมูล เหน็ ว่าเปน็ ทำเลทเ่ี หมาะสม
และมีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะทีจ่ ะตั้งเป็นชมุ ชนประกอบกบั เปน็ แหล่งที่มีดนิ เหนยี ว ท่ีจะทำการ
ป้นั หมอ้

4. ลกั ษณะสำคญั ของภมู ปัญญา :
เป็นแหล่งเรียนรแู้ ละภมู ิปัญญาชาวบา้ นของชาวบ้านโกทสี่ ืบทอดกนั มาแต่บรรพบรุ ุษในการ

ถา่ ยทอดความรู้และประสบการณส์ ลู่ ูกหลาน ซงึ่ สบื ทอดกนั มาชา้ นานในการนำแนวตดิ และภมู ปิ ญั ญา
ชาวบา้ นในการดินเหนยี ว ซ่ึงเปน็ ทรัพยากรในท้องถิน่ ท่มี ีอยู่แล้วมาใช้ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยการนำดนิ
เหนียวมาเป็นวสั ดุในการทำเครือ่ งปน้ั ดินเผาประเภทตา่ ง ๆ ซึ่งเคร่อื งปน้ั ดินเผาท่ีขน้ึ ชือ่ ทส่ี ุดคือ หม้อ
ดนิ และกระถางดอกไม้ นอกเหนือจากประเภทน้กี ็จะเป็น แจกนั ดอกไม้ และเครอื่ งป้นั ดินเผาประเภท
อ่นื ๆ ทช่ี าวบ้านสามารถทจ่ี ะดัดแปลงและทำข้นึ ตามความตอ้ งการของลูกค้า ซ่ึงแหล่งเรียนรแู้ หง่ นี้
เปน็ สถานท่ที ีจ่ ะสนบั สนนุ สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นและผ้ทู ีส่ นใจในการศึกษาเพ่อื ให้เกดิ กระบวนการเรยี นรู้
ต่อไป

5. ขนั้ ตอนการถา่ ยทอดความรูข้ องภมู ปัญญา
1. การอนรุ กั ษ์และสืบสานศิลปวฒั นธรรมที่เกา่ แก่ไว้ไม่ใหส้ ูญหาย
2. การศกึ ษาวิธีการทำเครื่องปั้นดินเผา
3. ศกึ ษาภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ของชาวบ้าน
4. ศึกษาข้อมูลและวธิ กี ารทำเครือ่ งปั้นดินเผา

อธิบายขั้นตอนวธิ ีการในการทำเครอื่ งปัน้ ดนิ เผา
วัสดุอปุ กรณ์
1. ดินเหนียวธรรมชาติ
2. แกลบ
3. นำ้
4. เคร่อื ง
5. ตระแกรงร่อนดนิ

6. แป้นหมุน
7. อุปกรณ์

วิธีทำ
1. นำดนิ เหนียวธรรมชาตมิ าซอย (เซีย้ มในใหเ้ ป็นแผ่นบาง หมักนำ้ โดยประมาณไว้กอ่ น) แลจ้ งึ นำดิน
มาเข้าเครื่องโม่ สมยั โบราณใชว้ ธิ ีเหยียบและนวดก่อนนำมาปั้น
2. เมอ่ื ได้ดนิ จาการโม่แลว้ จึงนำมาขึน้ รปู ดว้ ยแป้นหมุน ตามแบบและขนาดของเครอ่ื งปั้นทต่ี ้องการ
ตามรปู ตา่ ง ๆ เชน่ หม้อดิน กระถางดอกไม้
3. นำผลิตภณั ฑ์ที่ปั้นแล้วออกผึ่งแดด ผ่งึ ลม พอความแข็งตัวของเน้ือดนิ จับยกได้ โดยไม่ทำให้เสีย
รปู ทรงจึงนำมาข้นึ แปน้ แต่งอีกคร้ัง เพ่ือให้ไดร้ ูปทรงและความหนาบางของเนื้อดนิ ตามแบบและความ
ตอ้ งการจนเสรจ็
4. จากนนั้ จะผึง่ ไว้จนเนื้อดนิ มีความแข็งตัวพอทจ่ี ะขัด หรือขูดแตง่ ใหเ้ รยี บร้อยสวยงามอีกครัง้ แล้วจึง
นำไปเข้าเตาเผา

6. บคุ คล/หนว่ ยงานท่เี ข้ามารบั ความรู้จากภมู ิปัญญา :
- นกั เรยี น
- บคุ คลทั่วไป

1. ช่ือภูมปิ ญั ญา : นายประไพ ธานี
2. ทอี่ ยู่ : 86 หมู่ 15 บา้ นสม้ ป่อย ตำบลส้มปอ่ ย อำเภอราษไี ศล จงั หวัดศรีสะเกษ
3. ประวัติความเป็นมา/สาระความรู้ที่ได้จากภูมิปัญญา : ภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่จังหวัดอุบลราชธานี
เริ่มฝึกอาชีพแกะสลักไม้ ตั้งแต่ อายุ 10 ขวบ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากบิดา ผู้ซึ่งมีวิชา
ตัง้ แตเ่ ด็ก จึงไดฝ้ กึ ฝน รำ่ เรยี นมาจนถึงปจั จบุ นั และได้ถ่ายทอดภมู ปิ ัญญาสรู่ ่นุ ลกู รุ่นหลานต่อไป ทั้งยงั
สามารถเปน็ อาชพี ท่ใี ช้เลีย้ งครอบครวั ทำให้การดำเนินชวี ติ ไปแบบเรยี บง่าย พอเพียง
4. ลกั ษณะสำคัญของภูมปิ ัญญา :

ภมู ิปัญญาชาวบ้านและประสบการณ์ตา่ งๆ ท่สี นับสนนุ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนเกดิ กระบวนการ
เรยี นรู้และเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้

5. ข้นั ตอนการถ่ายทอดความรู้ของภูมปิ ัญญา :
การปั้นและแกะสลัก จะปั้นแกะสลัก ประเภท ดินเหนียว ปูน และไม้ งานปั้นและแกะสลัก

ที่เด่น ๆ คือ การแกะสลักโบสถ์ และนอกนั้นจะเป็นการปั้นตามที่สั่ง จะนำไปประดับตกแต่งบ้าน
อาคาร สถานท่ี หรอื จะเปน็ แบบต่างๆ ท่ีต้องการ ระยะเวลาในการแกะสลักแต่ละแบบข้ึนอยู่กับแบบ
ทใี่ หท้ ำ

6. บคุ คล/หน่วยงานทเ่ี ขา้ มารับความรจู้ ากภมู ปิ ญั ญา : - บุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ
- นักเรยี น / นักศกึ ษา
- หน่วยงานท้องถ่นิ

1. ชื่อภูมปิ ญั ญา : นางสาวมณี ทองสทุ ธิ์
2. ที่อยู่ : 1 หมู่ 12 บ้านโก ตำบลสม้ ป่อย อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ
3. ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระความรู้ทไี่ ด้จากภมู ปิ ัญญา :

ภูมิปัญญา ได้ชื่อว่าเป็นศาสตร์หนึ่งที่ทำให้คนไทยคนในท้องถิ่นได้รู้จกั ตัวตนที่แท้จรงิ ของวิถี
ชวี ติ ตนเอง และสามารถนำไปเป็นแนวทางเพ่ือการดำรงชีวติ ได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสม องค์ความรู้
ของชาวบ้าน หรือทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดที่เกิดจากสติปัญญา ความสามารถของชาวบ้านที่รู้จัก
การแก้ไขปัญหา หรือการนำมาใช้ในการดำเนินชีวิตในยุคปัจจุบัน และคติ ความคิด ความเชื่อ เป็น
พื้นฐานขององค์ความรู้ที่ได้สั่งสม และสืบทอดกันมาช้านาน หมอเป่า หมอนวด หมอผี เป็นกลุ่มหมอ
พื้นบ้านที่มบี ทบาทต่อสังคมของคนในชนบท ได้รับการถ่ายทอดความรู้จากบรรพบรุ ุษ เช่น ปู่ ตา พ่อ
หรอื จากครูท่สี บื ทอดกันมา

การนวดแผนไทย หรือ นวดแผนโบราณ เป็นการนวดชนิดหนึ่งในแบบไทย ซึ่งเป็นศาสตร์
บำบัดและรักษาโรคแขนงหนึ่งของการแพทย์แผนไทย โดยจะเน้นในลักษณะการยืดเส้น และการกด
จุด ซ่งึ รู้จกั กนั โดยทว่ั ไปในชอื่ "นวดแผนโบราณ"

การนวดแผนไทย ทำใหส้ ขุ ภาพดี ผ่อนคลาย ซ่งึ แบ่งออกได้หลายประเภทได้แก่
1. การกด การใช้นำ้ หนกั กดบนเส้นพลงั งานบนกล้ามเน้อื โดยใช้นิว้ หวั แมม่ ือ น้วิ โป้งกดนวด
เปน็ วงกลม ฝ่ามอื กดเปน็ วงกลม และกดเสน้ พลงั งานและ ใช้น้ำหนกั ตัวกด น้วิ และหัวแม่มือ หัวเขา่
ฝา่ เทา้ ทำการยืดเส้น ทำใหห้ ลอดเลอื ดขยาย การไหลเวียนของเลือด ระบบประสาร การทำงานของ
อวัยวะต่างๆดีข้ึน
2. การบีบ เป็นการใชน้ ำ้ หนัก บบี กล้ามเนือ้ ให้เตม็ ฝา่ มือเข้าหากันโดยการออกแรง สามารถ
ใช้น้วิ หวั แม่มอื ชว่ ยหรือการประสานมือเพ่ือเพิ่มการออกแรง เปน็ การเพิ่มการหมุนเวยี นของเลือด
ผอ่ นคลายกล้ามเน้อื
3. การทุบ/ตบ/สับ ใช้มือและกำปั้นทุบกล้ามเนื้อเบาๆเป็นการผ่อนคลายการตึงของ
กลา้ มเนอื้ และให้เลือดหมนุ เวียนดีข้ึนและเปน็ การช่วยขจดั ของเสียออกจาก รา่ งกาย
4. การคลึง เป็นการใช้น้ำหนักกดคลึงบริเวณกล้ามเนื้อโดยการหมุนแขนใหก้ ล้ามเนื้อเคลื่อน
หรือคลึงเปน็ วงกลม ใช้แรงมากกวา่ การใชข้ อ้ ศอก
5. การถู โดยใช้น้ำหนักนวดถไู ปมา หรอื วนไปมาเป็นวงกลม บนกลา้ มเนอื้ เพ่ือชว่ ยผ่อนคลาย
อาการปวดเมอ่ื ยเฉพาะจดุ หรอื ตามข้อตอ่ ต่างๆ
6. การหมุน โดยการออกแรงหมุนข้อต่อกระดูกวนเป็นวงกลม ช่วยให้การเคลื่อนไหวของขอ้
ต่อทำงานดขี ้นึ ผ่อนคลาย
7. การกลง้ิ เป็นการใช้ข้อศอกและแขนท่อนลา่ ง กดแรงๆในกลา้ มเนอื้ มัดใหญ่ๆ เช่นต้นขา
8. การสั่น/เขยา่ ใช้มอื เขยา่ ขาหรือแขนของผู้ถูกนวด เพอื่ ช่วยทำใหก้ ารหมนุ เวยี นของเลือดดี
ข้ึน ผ่อนคลายกล้ามเน้ือไปในตวั

9. การบิด ลักษณะคล้ายการหมุน แต่เป็นการออกแรงบิดกล้ามเนื้อกับข้อต่อให้ ยืดขยาย
ออกไปในแนวทแยง ทำใหก้ ลา้ มเนอ้ื ยดื

10. การลั่นข้อต่อ เป็นการออกแรงยืดข้อต่อให้เกิดเสียงดังลั่น ทำให้การเคลื่อนไหวของข้อ
ตอ่ ทำงานดีขนึ้

11. การยืดดัดตัว โดยใช้ฝ่าเท้า เป็นการออกแรงยืดกล้ามเนื้อข้อต่อให้ยืดขยายออกไปทาง
ยาว ช่วยใหก้ ลา้ มเน้อื เสน้ เอ็นยืดคลายตวั

12. การหยุดการไหลเวียนของเลือด ใช้ฝ่ามือกดที่จุดชีพจรที่โคนขาเพื่อหยุดการไหลเวียน
ของเลือดชั่วขณะกดไวป้ ระมาณคร่ึงถงึ 1 นาที แล้วค่อยๆปลอ่ ยช้าเพ่ือใหเ้ ลอื ด กลับหมนุ เวียนดีขึ้น

4. ลกั ษณะสำคญั ของภมู ปิ ัญญา :
ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้านและประสบการณ์ตา่ งๆ ท่ีสนับสนุนส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนเกิดกระบวนการ

เรียนรู้และเป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้

5. ขั้นตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมิปัญญา : -
หมอนวด นวดคลายกล้ามเนื้อ คลายกระดูกทับเส้น กระดูกที่หัก เคล็ดขัดยอกสามารถนวด

ให้หายจากอาการเหล่านี้ได้ สำหรับบางคนที่เดินไม่ได้มานวดก็สามารถกลับมาเดินต่อได้ตาม
ระยะเวลาของอาการ

6. บคุ คล/หนว่ ยงานที่เขา้ มารบั ความรจู้ ากภูมิปัญญา :
- ชาวบา้ นท่ัวไป
- นักเรยี น
- หนว่ ยงานท้องถน่ิ

1. ชือ่ ภูมปิ ัญญา : นายกิตติ วรรณวงษ์ เปน็ ชาวเยอแท้แตก่ ำเนิด
2. ที่อย:ู่ 21 หมู่ 15 ซอย ถนน ตําบลเมอื งคง อําเภอราษีไศล จงั หวดั ศรสี ะเกษ 33160
3. ประวัตคิ วามเป็นมา/สาระความร้ทู ่ไี ดจ้ ากภมู ิปัญญา :

นกั ดนตรที ่มี ีความสำคญั และมีฝมี อื ในการเปา่ สะไนทีเ่ ปน็ ท่ีรู้จักกนั ทว่ั ไปของจงั หวัดศรีสะเกษ
คือ นายกิตติ วรรณวงษ์ เป็นชาวเยอแท้แต่กำเนิด เกิดเมื่อวันท่ี 7 พฤศจิกายน 2485 ณ บ้านโพธ์ิ
ตำบลเมอื งคง อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรีสะเกษ บิดาชื่อ นายเล่ วรรณวงษ์ มารดาชือ่ นางจำปี วรรณ
วงษ์ เปน็ บุตรคนที่ 4 ในจำนวนพ่ีนอ้ งรว่ มบิดามารดา 5 คน เปน็ ชาย 3 คน หญงิ 2 คน จุดเรมิ่ ตน้ ของ
การเล่นสะไนนั้น ได้กล่าวให้เป็นที่ทราบเบื้องต้นแล้วว่า ได้หัดเป่าสะไนมาตั้งแต่เด็ก ๆ ในช่วงสมัย
เรียนชั้นประถม โดยแรกเริ่มต้นได้หัดเป่าเอง เป่าแบบผิด ๆ ถูก ๆ โดยลักจำเอาจากคนแก่คนเฒ่าท่ี
เป่า แล้วแอบเลียนแบบ ต่อมาด้วยความสนใจ ประกอบกับความมานะ ได้ทำการศึกษา ค้นคว้า
สอบถามหาความรู้จากผู้แก่ผู้เฒ่ามาทำการฝึกเป่า ฝึกทำ จึงทำให้สามารถทำสะไนได้เอง และนำเอา
ดนตรีสะไนที่ทำขึ้นนั้นมาเล่นเอง ซึ่งได้ทำการถ่ายทอดวิชาการสะไนนี้ครั้งแรกให้กับอาจารย์อัคคพล
อาจารย์ปรญิ ญาโท สอนอยู่มหาวิทยาลยั ราชภัฏบรุ ีรัมย์ ท่านได้นำคณะของท่านมาหัดทำหัดเป่าอยู่ท่ี
บ้านของนายกิตติ วรรณวงษ์อยูห่ ลายคร้งั ชุดทสี่ อง ไดถ้ า่ ยทอดให้กบั อาจารย์พัลลภ เปน็ อาจารย์สอน
อยู่ทว่ี ทิ ยาลยั นาฎศิลป์จงั หวัดรอ้ ยเอด็

ปัจจบุ นั นี้ นายกติ ติ วรรณวงษ์ได้นำความรู้ด้านสะไนไปเล่นเปน็ วงดนตรีพื้นบ้านร่วมกับคณะ
โรงเรยี นบ้านอหี นา ตำบลบวั หงุ่ อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ ทำใหโ้ รงเรยี นบ้านอีหนาเป็นที่รู้จัก
มีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วจังหวัดและต่างจังหวัด และนายกิตติเองก็ได้เป็นอาจารย์พิเศษช่วยสอนดนตรี
พน้ื บ้านให้กับนกั เรยี นโรงเรยี นบ้านอหี นาอกี ด้วย

ส่ิงท้งั หมดทีน่ ายกิตติทำมานั้น มีความตัง้ ใจอยากจะอนรุ กั ษ์ดนตรีพ้นื เมืองอีสานเอาไว้
โดยเฉพาะในดา้ นสะไนง์ ซ่งึ นับวนั ใกล้จะสญู หายไปเพราะไมม่ คี นสบื ทอด ดงั นั้นจงึ คดิ เสียดายความรู้
ท่มี ี จงึ อยากจะถ่ายทอดความรทู้ ่มี นี ้ีใหก้ บั ลูกหลานอนุชนรุ่นหลงั และในทุกวันน้ีนายกิตตไิ ดเ้ ขียน
ตำราเกยี่ วกบั ดนตรีพน้ื บา้ นสะไน โดยเขียนเป็นภาษาท้องถ่ิน คอื ภาษาเยอ ซึง่ เรื่องทีน่ ายกิตติ วรรณ
วงษ์ ได้เขียนขึน้ มีอยู่ 9 เรอ่ื ง ดงั นี้

1. ประเพณี ความเปน็ มาของเผ่าเยอ/ความเป็นมาของอำเภอราษไี ศล
2. เรอ่ื งพระเจา้ สรา้ งโลก
3. เรอ่ื งความเปน็ มาของสงั ข์สะไน
4. ความเปน็ มาของว่าว
5. เรอ่ื งพ่อค้าเกวยี นกับสะไน
6. เรอ่ื งเสือกลวั เสยี งสะไน
7. เรื่องทองคำฝ้ายออกลายเป็นเสอื
8. เร่ืองอสรพิษงู ความเปน็ มา
9. เรื่องนกนางแอ่น – นกอนิ แส่วกบั นกแต๊ดแตถ้ ือสตั ย์สาบาน

เรอ่ื งทัง้ หมดทเี่ ขียนมาน้ี นายกิตติได้ทำการสอบถามจากผู้แก่ผเู้ ฒา่ ในเผ่าเยอท่มี าอยู่กอ่ น
และเป็นผรู้ ใู้ นเร่อื งนนั้ ๆ ดี ซึ่งเปน็ เร่อื งทนี่ ่าศึกษานา่ เรยี นรู้สำหรบั อนชุ นรนุ่ หลงั
ผลงานทไี่ ดร้ บั รางวัลเชดิ ชเู กียรติ
นายกิตตมิ ีความสามารถในการผลิตเครื่องดนตรีพนื้ บา้ นท้งั สะไนง์ สะนูว่าว พิณ แคน และได้นำไป
แสดงในงานวฒั นธรรม ณ สถานท่ตี า่ ง ๆ ท่วั ทุกจงั หวัดท่ีจดั ให้มกี ารประกวดดนตรีพ้ืนบา้ นขึ้น ซง่ึ
ได้รับรางวลั ตา่ งๆ รวมทัง้ ไดร้ ับเชญิ ให้ไปร่วมเป็นเกียรตใิ นงานวฒั นธรรม ดงั น้ี

1. เกยี รตบิ ัตรร่วมงานฟื้นฟมู รดกอสี านสืบสานวฒั นธรรม จากโรงเรียนศลิ าลาดประชา
รงั สรรค์ เมื่อปี 2543

2. เป็นอาจารยท์ ีป่ รึกษาการรำสะไน จากสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดศรสี ะเกษ ปี
2543

3. ให้การสนบั สนนุ การจดั งานวนั อนรุ กั ษม์ รดกไทย จากสภาวัฒนธรรมจังหวดั ศรีสะ
เกษและจังหวัดศรสี ะเกษ ปี 2544

4. ร่วมกิจกรรมเส็งสะนวู า่ ว ในงาน “มหกรรมหอการคา้ เทรดแฟร์ ครั้งที่ ” เทศกาล
อาหารและขนมไทย 4 ภาค จัดโดยหอการค้าจังหวัดศรีสะเกษ รว่ มกบั สภาวัฒนธรรมจังหวัดศรสี ะ
เกษ ปี 2545

5. ชนะเลศิ การประกวดดนตรีพน้ื บา้ น (สะนวู ่าว) จากงาน “มหกรรมหอการค้าเทรด
แฟรค์ รงั้ ท่ี 2 เทศกาลอาหารและขนมไทย 4 ภาค จดั โดยหอการค้าจงั หวดั ศรีสะเกษ รว่ มกับสภา
วฒั นธรรมจังหวัดศรสี ะเกษ ปี 2545

6. รางวลั ชมเชยการแกว่งสะนูในงานมหกรรมวฒั นธรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ ริม
บงึ แกน่ นคร จงั หวัดขอนแก่น จากสำนกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติ กระทรวงวฒั นธรรม ปี
2545

7. ชนะเลศิ การประกวดเปา่ สะไน ในงานพญากตะศลิ ารำลึก ประจำปี 2546 จากองค์
การบรหิ ารสว่ นตำบลเมืองคง ปี 2546

8. ชนะเลิศการประกวดดดี พิณ ในงานพยากตะศิลารำลึก ประจำปี 2546 จากองค์การ
บริหารสว่ นตำบลเมอื งคง ปี 2546

9. ชนะเลศิ ดีดพณิ (ประเภทประชาชน) ในงานมหกรรมเล่นว่าว เป่าโหวด อำเภอเบญจ
ลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2546

10. รองชนะเลศิ อันดับ 2 การประกวดพิณ ในงาน “แลกเปลีย่ นวัมนธรรมไทย – ลาว –
กมั พูชา” จากจงั หวัดศรสี ะเกษ ปี 2546

11. รองชนะเลศิ อันดับ 2 การประกวดดดี พิณ เนื่องในงานบุญกฐนิ สามัคคสี ่งเสริมภูมปิ ัญญา
อีสาน สืบตำนานวฒั นธรรมทอ้ งถิ่น จากสภาวฒั นธรรมอำเภอเบญจลักษณ์ ปี 2547

12. ชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดเปา่ แคน เนอื่ งในงานบุญกฐนิ สามัคคีส่งเสริมภมู ปิ ัญญา
อสี าน สืบตำนานวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน จากสภาวัฒนธรรมอำเภอเบญจลกั ษณ์ ปี 2547

13. ชนะเลิศการประกวดดีดพิณ ในงานมหกรรมเลน่ ว่าว เปา่ โหวด อำเภอเบญจลกั ษณ์ ปี
2548

14. รองชนะเลิศอนั ดบั 1 ประกวดเป่าแคน ในมหกรรมเล่นว่าว เปา่ โหวด อำเภอเบญจ
ลกั ษณ์ ปี 2548

15. รองชนะเลิศอนั ดบั 1 การแขง่ ขนั เป่าแคน ในงานย้อนรำลึกปราสาทสระกำแพงใหญ่ ขึน้
2 คำ่ เดือน 5 แห่งวิศุวสงกรานต์

16. ร่วมเปน็ กรรมการตัดสินการประกวดศลิ ปนิ พน้ื บา้ น พิณ แคน ซอ โหวด เปา่ ขล่ยุ เป่า
ใบไม้ และมโหรี งานเทศกาลดอกลำดวนบาน สืบสานประเพณีสเ่ี ผา่ ไทย ประจำปี 2548 จงั หวดั ศรี
สะเกษ

จากผลการทำงานดงั กลา่ ว ส่งผลให้นายกิตติ วรรณวงษ์ ได้รบั คดั เลอื กให้เป็น ศิลปนิ พ้นื บา้ น
อสี าน สาขาดนตรีพื้นบา้ น (สะไน) จากสถาบนั วิจัยศลิ ปะและวฒั นธรรมอสี าน มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม
ภารกิจการงานในปจั จบุ นั

ปจั จุบนั ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปน็ อาชพี หลกั เวลาวา่ งนำดนตรีพื้นบา้ นท่ีทำขึ้นเอง
ได้แก่ พิณ สะไน สะนู ว่าว ไปแสดงในงานวฒั นธรรม ณ สถานที่ตา่ ง ๆ และเป็นอาจารย์พเิ ศษสอน
ดนตรี พนื้ บ้านให้กบั นักเรียนโรงเรียนบ้านอีหนา ตำบลบัวหุ่ง อำเภอราษไี ศล จังหวดั ศรีสะเกษ และ
รว่ มเปน็ คณะนักดนตรีของวงดนตรีเซง้ิ สะไนสภาวฒั นรรมอำเภอราษีไศล

1. ช่อื ภูมิปญั ญา : นายชนะ จติ รม่นั
เกิดวนั ท่ี 16 พฤศจิกายน 2483

2. ทีอ่ ยู่ : 6 หมู่ 1 บ้านหนองคไู ซ ตำบลสรา้ งปี่ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรีสะเกษ
3. ประวตั คิ วามเป็นมา/สาระความรทู้ ่ีไดจ้ ากภูมปิ ญั ญา :

ภูมิปัญญา ได้ชื่อว่าเป็นศาสตร์หนึ่งที่ทำให้คนไทยคนในท้องถิ่นได้รู้จกั ตัวตนท่ีแท้จรงิ ของวิถี
ชวี ติ ตนเอง และสามารถนำไปเปน็ แนวทางเพื่อการดำรงชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม องคค์ วามรู้
ของชาวบ้าน หรือทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดที่เกิดจากสติปัญญา ความสามารถของชาวบ้านที่รู้จัก
การแก้ไขปัญหา หรือการนำมาใช้ในการดำเนินชีวิตในยุคปัจจุบัน และคติ ความคิด ความเชื่อ เป็น
พื้นฐานขององค์ความรู้ที่ได้สั่งสม และสืบทอดกันมาช้านาน หมอเป่า หมอนวด หมอผี เป็นกลุ่มหมอ
พื้นบ้านที่มีบทบาทต่อสังคมของคนในชนบท ได้รับการถ่ายทอดความรู้จากบรรพบุรุษ เช่น ปู่ ตา พ่อ
หรอื จากครูท่สี บื ทอดกนั มา

การนวดแผนไทย หรือ นวดแผนโบราณ เป็นการนวดชนิดหนึ่งในแบบไทย ซึ่งเป็นศาสตร์
บำบัดและรักษาโรคแขนงหนึ่งของการแพทย์แผนไทย โดยจะเน้นในลักษณะการยืดเส้น และการกด
จุด ซงึ่ รู้จกั กนั โดยทว่ั ไปในช่ือ "นวดแผนโบราณ"

การนวดแผนไทย ทำใหส้ ุขภาพดี ผ่อนคลาย ซงึ่ แบง่ ออกได้หลายประเภทไดแ้ ก่
1. การกด การใช้น้ำหนักกดบนเส้นพลงั งานบนกล้ามเนื้อโดยใช้นิ้วหวั แม่มอื นิ้วโปง้ กดนวด
เปน็ วงกลม ฝ่ามือกดเป็นวงกลม และกดเส้นพลังงานและ ใช้นำ้ หนักตัวกด นิ้วและหัวแม่มือ หัวเข่า
ฝ่าเทา้ ทำการยดื เสน้ ทำใหห้ ลอดเลือดขยาย การไหลเวยี นของเลือด ระบบประสาร การทำงานของ
อวัยวะต่างๆดีขึ้น
2. การบีบ เปน็ การใช้นำ้ หนัก บีบกลา้ มเนื้อใหเ้ ต็มฝา่ มือเข้าหากนั โดยการออกแรง สามารถ
ใช้นว้ิ หัวแมม่ ือชว่ ยหรือการประสานมอื เพื่อเพิ่มการออกแรง เปน็ การเพิ่มการหมุนเวียนของเลือด
ผอ่ นคลายกล้ามเน้ือ
3. การทุบ/ตบ/สับ ใช้มือและกำปั้นทุบกล้ามเนื้อเบาๆเป็นการผ่อนคลายการตึงของ
กลา้ มเนื้อและให้เลือดหมุนเวยี นดีขนึ้ และเป็นการช่วยขจัดของเสยี ออกจาก ร่างกาย
4. การคลึง เป็นการใชน้ ้ำหนักกดคลึงบริเวณกล้ามเนื้อโดยการหมุนแขนให้กล้ามเนื้อเคลือ่ น
หรอื คลึงเปน็ วงกลม ใชแ้ รงมากกวา่ การใชข้ อ้ ศอก
5. การถู โดยใช้น้ำหนักนวดถูไปมา หรือวนไปมาเป็นวงกลม บนกล้ามเนอื้ เพ่ือช่วยผ่อนคลาย
อาการปวดเม่ือยเฉพาะจุด หรือตามข้อตอ่ ตา่ งๆ
6. การหมุน โดยการออกแรงหมุนข้อต่อกระดูกวนเป็นวงกลม ช่วยให้การเคลื่อนไหวของข้อ
ตอ่ ทำงานดีข้ึน ผอ่ นคลาย
7. การกล้ิง เป็นการใช้ข้อศอกและแขนทอ่ นลา่ ง กดแรงๆในกลา้ มเน้ือมดั ใหญๆ่ เช่นต้นขา
8. การสัน่ /เขยา่ ใช้มอื เขย่าขาหรือแขนของผู้ถูกนวด เพ่อื ชว่ ยทำใหก้ ารหมนุ เวียนของเลือดดี
ขน้ึ ผ่อนคลายกล้ามเน้อื ไปในตวั

9. การบิด ลักษณะคล้ายการหมุน แต่เป็นการออกแรงบิดกล้ามเนื้อกับข้อต่อให้ ยืดขยาย
ออกไปในแนวทแยง ทำใหก้ ล้ามเนื้อยดื

10. การลั่นข้อต่อ เป็นการออกแรงยืดข้อต่อให้เกิดเสียงดังลั่น ทำให้การเคลื่อนไหวของข้อ
ต่อทำงานดขี น้ึ

11. การยืดดัดตัว โดยใช้ฝ่าเท้า เป็นการออกแรงยืดกล้ามเนื้อข้อต่อให้ยืดขยายออกไปทาง
ยาว ชว่ ยให้กลา้ มเนือ้ เส้นเอน็ ยดื คลายตัว

12. การหยุดการไหลเวียนของเลือด ใช้ฝ่ามือกดที่จุดชีพจรที่โคนขาเพื่อหยุดการไหลเวียน
ของเลอื ดช่ัวขณะกดไว้ประมาณครง่ึ ถงึ 1 นาที แลว้ คอ่ ยๆปลอ่ ยชา้ เพ่ือใหเ้ ลอื ด กลับหมนุ เวียนดีข้ึน

4. ลักษณะสำคญั ของภูมปิ ัญญา :
ภมู ิปญั ญาชาวบา้ นและประสบการณ์ต่างๆ ที่สนบั สนนุ สง่ เสริมให้ผ้เู รียนเกิดกระบวนการ

เรียนรู้และเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้

5. ขั้นตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมิปญั ญา : -
หมอนวด นวดคลายกล้ามเนื้อ คลายกระดูกทับเส้น กระดูกที่หัก เคล็ดขัดยอกสามารถนวด

ให้หายจากอาการเหล่านี้ได้ สำหรับบางคนที่เดินไม่ได้มานวดก็สามารถกลับมาเดินต่อได้ตาม
ระยะเวลาของอาการ

- หมอเป่า สามารถเป่าอาการของเด็กเล็กที่เป็นตาลขโมย เด็กร้องไห้ไม่หยุดก็สามารถเป่า
ช่วยให้หยุดร้องได้ การเป่า เป็นวิธีการรักษาของหมอพื้นบ้าน รักษาอาการเจ็บป่วยโดยใช้เวทมนตร์
คาถาเป่าไปตามร่างกายผู้ป่วย บางครั้งอาจจะใช้สมุนไพรในการรักษาด้วย หมอเป่าเปรียบเสมือน
แพทย์ท่ีพอจะรักษาอาการเจบ็ ไข้ไดป้ ว่ ยให้ผู้ป่วยได้ การคิดคา่ รักษาอาจเป็นค่าตอบแทนเล็กน้อยเพื่อ
เป็นสินน้ำใจ หรือถ้าผู้ป่วยไม่มีเงินอาจรักษาให้ฟรี และเมื่อผู้ป่วยหายจากการเจ็บป่วยก็จะจัดเตรียม
ของกนิ ของใช้หรอื เงนิ เพ่อื นำไปตอบแทนทา่ นทไ่ี ดร้ ักษาให้จนหายจากการเจ็บป่วย

- หมอผี ชาวบา้ นมกั พากนั ไปพง่ึ หมอผใี นยามเจบ็ ไข้ไดป้ ่วย ขับไลว่ ญิ ญาณรา้ ย ส่งิ ที่ไมด่ ีขจดั
ปัดเป่าออกไป

6. บคุ คล/หนว่ ยงานทเ่ี ข้ามารบั ความรู้จากภมู ิปญั ญา :
- ชาวบา้ นทว่ั ไป
- บคุ คลทส่ี นใจ
- นกั เรยี น
- หน่วยงานทอ้ งถิ่น

1. ช่อื ภูมปิ ัญญา : นายเลศิ ทองตัน
2. ทอ่ี ยู่ : 75 หมู่ 2 บ้านสรา้ งป่ี ตำบลสร้างป่ี อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ
3. ประวัติความเปน็ มา/สาระความรทู้ ่ีได้จากภมู ปิ ญั ญา :

เริ่มจากสังเกตจากบิดา ผู้เฒ่าผู้แก่ที่ทำเครื่องใช้ไว้ใช้ในครัวเรือน เช่น ตะกร้าไว้สำหรับหาบ
สิ่งของไปทำไร่ ทำนา ตามวิถีชาวบ้าน จึงได้สนใจลองฝึกตามผู้เฒ่าผู้แก่ และได้ฝึกฝนเรื่อยมา จน
ชำนาญ

ในปัจจุบัน สามารถทำได้หลายแบบ ไม่ว่าจะเป็น ตะกร้า ลอบดักปลา กระบังใส่กุ้ง ตามวิถี
ชาวบา้ น บางคนกม็ าสั่งให้ทำตามแบบต่างๆ เช่น การสานตะกร้า จะทำได้ 3 ใบ/วัน ราคาใบละ 70-
80 บาท (ขึ้นอยู่แต่ละขนาด) และยังมีคณะครูจากโรงเรียนมาสั่งทำอยู่เรื่อยๆ เพื่อส่งเข้าประกวด
แขง่ ขนั ในงานตา่ งๆ ซึ่งก็ได้รับรางวัลตา่ งๆมามากมาย

4. ลักษณะสำคญั ของภมู ิปัญญา : หตั ถกรรมเคร่ืองจกั สาน ภูมิปญั ญาชาวบา้ นและประสบการณ์
ตา่ งๆ ท่ีสนับสนนุ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนเกิดกระบวนการเรยี นรูแ้ ละเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้

5. ขัน้ ตอนการถ่ายทอดความรู้ของภมู ปิ ัญญา :
- การบอกเล่าจากผเู้ ฒ่าผ้แู ก่ และสาธติ
- ฝึกฝน ลงมอื ปฏิบตั ิ

6. บุคคล/หนว่ ยงานที่เข้ามารบั ความรจู้ ากภูมปิ ัญญา :
- บคุ คลทั่วไปท่สี นใจ
- นักเรียน / นักศึกษา

- หน่วยงานทอ้ งถนิ่

1. ชอ่ื ภูมิปัญญา : นางหนูรกั วรพมิ รัตน์
2. ทอ่ี ยู่ : 98 หมู่ 3 บ้านด่านนอกดง ตำบลสรา้ งป่ี อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรสี ะเกษ
3. ประวัตคิ วามเปน็ มา/สาระความรู้ทีไ่ ด้จากภูมปิ ญั ญา :

การทอเสอ่ื จัดเปน็ หตั ถกรรมพืน้ บ้าน หกู ทอเสอื่ มลี กั ษณะเหมือนหกู ทอผ้า แต่เตี้ยกว่ากันมาก
จนคนทอไม่ต้องนั่งม้าทอ แต่ต้องขึ้นไปนั่งบนหูกเลย ชนิดของเส่ือจะดีหรือไม่ดี ขึ้นอยู่กับคุณภาพของ
วสั ดทุ น่ี ำมาทอมากกว่าว่า มเี ส้นละเอียดเทา่ กันหรือไม่ นยิ มทอเสอ่ื ไว้ใช้ในครัวเรือน วสั ดุท่ีนำมาใช้ทอ
คือ ตน้ ไหล จึงปลูกตน้ ไหลไว้ เพือ่ ใชเ้ ป็นวัสดุในการทอเสื่อ ท่ใี ชต้ น้ ไหลในการทอเสอื่ นั้น เพราะต้นไหล
มีคุณลักษณะและคุณสมบัตเิ หมือนตน้ กก แต่จะปลูกได้ง่ายกว่าตน้ กก ปลูกได้ในดินทั่วไปเจริญเตบิ โต
เร็ว เส่อื ที่ทอจากตน้ ไหล จะมีความสวยงาม คงทน และไม่ขึ้นรา เป็นเงางามกว่าต้นกก

4. ลักษณะสำคัญของภูมปิ ัญญา :
หตั ถกรรมพ้ืนบ้าน ภูมิปญั ญาชาวบ้านและประสบการณ์ต่าง ๆ ที่สนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียน

เกิดกระบวนการเรยี นรแู้ ละเป็นบุคคลแหง่ การเรยี นรู้

5. ข้นั ตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมิปัญญา :
- อธิบายวิธกี ารทอเส่อื ตามข้ันตอนต่างๆ
- สาธติ พร้อมปฏบิ ตั ิ

ขนั้ ตอนการทอเส่ือ
1. ตดั ไหลที่มีอายุ 3-4 เดอื น (ตัดไหลให้เหลอื ตอไว้เพ่ือไหลทีเ่ หลอื จะไดแ้ ตกหนอ่ )
2. คัดเลือกตน้ ไหลทต่ี ัดแล้วให้มขี นาดความยาวเท่ากัน มัดไวเ้ ป็นมัดๆ แลว้ ตดั ใบออก
3. ผ่าครง่ึ ตน้ ไหล (คล้ายการจกั ตอก) ให้ตน้ ไหลเล็กลง มัดไวเ้ หมือนเดมิ
4. นำไหลที่ผ่าครึ่งไปผึ่งลมหรือผึ่งแดดให้แห้ง ประมาณ 1 สัปดาห์ แล้วนำมาย้อมสี (ตามท่ี

ต้องการ)
5. นำเชอื กไนลอนมาขงึ สอดตามรฟู ืมทุกรูเปน็ แนวยืน ขึงใหต้ ึง
6. นำไหลไปพรมน้ำให้ชุ่ม ห่อด้วยผ้าหรือกระสอบป่านเพื่อไม่ให้ไหลแห้งเพราะจะทำให้ไหล

หักงา่ ยไมเ่ หนยี ว จะเพ่ิมความนม่ิ ทอง่าย คงทน ยืดอายกุ ารใชง้ าน
7. นำเส้นไหลสอดใส่ในรทู ไี่ มส้ อดทลี ะเส้นเพื่อนำไปสอดเวลาทอ
8. การทอเริ่มที่การคว่ำฟืมลงแล้วสอดเส้นไหลที่สอดใส่ไม้แล้วในช่องเชือก ในข้อ 5 เป็น

แนวนอน (แนวทอ) แลว้ ดงึ ไมส้ อดกลับออกมา จบั ฟืมกระทงุ้ เขา้ มาใหแ้ นน่ (เหมอื นทอผ้า)
9. หงายฟืมแล้วสอดเส้นไหลเข้าไปในช่องเชือก เหมือน ข้อ 8 เมื่อกระทุ้งเสร็จ ริมขอบเสื่อ

จะต้องถกั เปียให้แน่น เพื่อไมใ่ หร้ มิ ขอบเส่อื หลุดลุย่
10. การทอจะต้องทำตามขัน้ ตอนข้อ8และ9สลับกนั ไปเร่อื ย ๆ จนไดค้ วามยาวสดุ เชอื ก

ไนลอนที่ขึงไว้
11. เม่อื ทอถึงตามขอ้ 10 แลว้ นำฟืมออกมัดไนลอนทปี่ ลายใหแ้ น่นเพือ่ ป้องกันการหลุดของ

เส้นไหลทที่ อ เสรจ็ แล้วใชก้ รรไกรตัดไหลทรี่ มิ ขอบส่วนที่เกินออกท้งั สองขา้ ง กจ็ ะไดเ้ ส่ือจากตน้ ไหล 1
ผนื นำไปใช้ประโยชนไ์ ด้

6. บุคคล/หน่วยงานทเ่ี ขา้ มารับความรู้จากภูมิปัญญา :
- บุคคลทัว่ ไปที่สนใจ
- นกั เรยี น / นักศกึ ษา
- หน่วยงานทอ้ งถิ่น

1. ชอ่ื ภูมิปญั ญา : นางบบุ ผา มณีวงษ์
2. ทอ่ี ยู่ : 21 หมู่ 3 บ้านดา่ นนอกดง ตำบลสรา้ งปี่ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรสี ะเกษ
3. ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากภูมิปัญญา :

กระติบมีมานานค่กู บั วถิ ีชวี ิตของคนอสี าน ภาคอีสานนิยมกินขา้ วเหนียว จึงมีความคดิ ทำ
อปุ กรณ์ใสข่ า้ ว เพื่อไว้รับประทาน กระติบข้าวเปน็ ของใช้ประจำบา้ นทีใ่ ชบ้ รรจขุ ้าวเหนียว ทกุ
ครวั เรอื น ทุกพน้ื ที่ท่ีรบั ประทานขา้ วเหนียว เหตุผลทที่ ำให้นยิ มใชก้ ระตบิ ข้าวบรรจขุ ้าวเหนยี วคือ ทำ
ให้ขา้ วเหนียวทีบ่ รรจไุ มเ่ หนียวแฉะ ไม่ติดมือ พกพาสะดวก หวิ้ ไปไดท้ กุ หนทกุ แห่ง

4. ลักษณะสำคญั ของภูมิปัญญา :
หัตถกรรมพื้นบ้าน ภมู ิปญั ญาชาวบ้านและประสบการณ์ตา่ งๆ ทีส่ นบั สนุนส่งเสริมให้ผ้เู รยี นเกิด
กระบวนการเรยี นรู้และเปน็ บุคคลแห่งการเรยี นรู้

5. ขนั้ ตอนการถ่ายทอดความรู้ของภมู ปิ ัญญา :
- อธบิ ายวิธกี ารตามขน้ั ตอนต่างๆ
- สาธติ พรอ้ มปฏบิ ตั ิ
ข้ันตอนการสานกระตบิ
1. ตดั ไหลที่มีอายุได้ประมาณ 3-4 เดือน ต้นไมอ่ ่อนไมแ่ ก่จนเกนิ ไปโดยตดั เอาสว่ นทเ่ี ปน็ ต้น

ปลอม (เพราะไม่เป็นปล้องและข้อ)
2. ตากไหลให้แห้งใช้เวลาประมาณ 5 วัน (อาจนานวันกว่านแี้ ล้วแต่แสงแดด)
3. ผา่ ไหลเป็นเส้น ขนาดแลว้ แต่ความพอใจ ถา้ ตอ้ งการความละเอียด สวยงาม จะทำเป็นเสน้

เล็กๆ
4. นำไหลทที่ ำเปน็ เสน้ ประมาณ 10 เส้นรวมกนั ทำเปน็ ไสใ้ นการสาน บดิ สัก 5-6 รอบ แล้ว

ขดเปน็ วงกลมขนาดเล็กๆ
5. ร้อยตอกไหลใสเ่ ข็มสอดสานไปเรื่อยจนได้ขนาดความกว้างและความสงู ตามต้องการ

ขณะท่สี านควรพรมนำ้ บา้ งเส้นไหลจะเหนียว ไมแ่ ขง็
6. เมอื่ สานตัวกระตบิ เสรจ็ แล้ว ค่อยสานฝาซง่ึ ขั้นตอนการสานจะเหมือนกัน เพียงแต่ความ

กวา้ งให้กว้างกวา่ ตัวกระติบเลก็ น้อย
7. เมอ่ื สานเสร็จแลว้ ทำขากระติบ ซง่ึ ใชไ้ ม้ก้านตาลมาฝ่าเป็นแผ่นบางๆขดเปน็ วงกลม ขนาด

เท่าตวั กระติบ เจาะรใู ชเ้ ชือกมดั ขากับตัวกระติบใหแ้ นน่
8. ทำสายกระตบิ โดยใชเ้ ชือกไนล่อนแขวนหรือสะพาย เมอ่ื เสร็จทกุ ขนั้ ตอน กน็ ำ

ออกจำหน่ายได้ หรือนำไปใชไ้ ด้เลย

6. บคุ คล/หนว่ ยงานท่เี ข้ามารบั ความรู้จากภมู ิปัญญา :
- บุคคลทั่วไปทสี่ นใจ
- นกั เรียน / นักศึกษา
- หนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ

1. ชื่อภูมิปญั ญา : นางทองดี ปัทมะ
2. ที่อยู่ : 112 หมู่ 3 บา้ นด่านนอกดง ตำบลสร้างปี่ อำเภอราษไี ศล จังหวัดศรสี ะเกษ
3. ประวตั ิความเปน็ มา/สาระความรูท้ ไี่ ดจ้ ากภูมปิ ัญญา :

เริ่มมัดหมี่มาแล้วประมาณ 20 ปี จากการเห็นผู้เฒ่าผู้แก่มัดหมี่ ทำให้เกิดความสนใจอยากที่
จะเรยี นรู้และฝกึ ฝนให้ชำนาญ จงึ ไดเ้ ร่มิ ฝกึ ฝน สังเกตเวลาทค่ี นแกม่ ัดหมี่ ค้นหมี่ แลว้ กฝ็ ึกฝนอยูเ่ รื่อยๆ
จนเก่งและชำนาญ จึงได้มีชาวบ้านมาจ้างให้มัดหมี่ โดยเริ่มตั้งแต่มัดหมี่ ผืนละ 50 บาท จนกระท่ัง
ปัจจุบัน ผืนละ 200 บาท ใช้เวลาในการมัดหมี่ประมาณ 3 วัน/ผืน ทำให้มีรายได้เสริมมาจุนเจือ
ครอบครวั และทัง้ ยงั ไดอ้ นุรกั ษศ์ ิลปะ ภูมิปญั ญาไวค้ งอยสู่ ืบไป

การทำพานบายศรี เป็นงานฝีมืออีกชิน้ หนึง่ ที่สนใจ และได้ฝึกฝน ปฏิบัติจนเกิดความชำนาญ
และไดร้ บั จ้างทำพานบายศรีสูข่ วญั ในงานตา่ งๆ เชน่ งานแตง่ งาน งานบวช ซ่งึ ลวดลาย ความยากง่าย
ขนึ้ อย่กู บั ว่าลูกค้าต้องการก่ชี นั้ แบบไหน ก็จะมตี ้งั แต่ราคา 500 – 1,500 บาท เป็นการอนุรักษ์ศิลปะ
อีกแขนงและ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น และพร้อมทจ่ี ะถ่ายทอดความรใู้ หร้ ุ่นลกู รนุ่ หลานต่อไป

4. ลกั ษณะสำคัญของภมู ิปัญญา :
หตั ถกรรม งานฝีมือ ภูมิปญั ญาชาวบา้ นและประสบการณ์ต่างๆ ทีส่ นบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียน

เกิดกระบวนการเรยี นรูแ้ ละเป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้

5. ขนั้ ตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมปิ ัญญา :
- อธบิ ายวิธีการขนั้ ตอน พรอ้ มสาธติ
การมดั หม่ี
การมัดหมี่ เป็นการทำลวดลายของผืนผ้า โดยการใช้วัสดุกันน้ำมัดกลุ่มเส้นฝ้ายเป็นลวดลาย

ตามต้องการ ก่อนนำฝา้ ยย้อมน้ำสี เมื่อแกว้ ัสดกุ ันนำ้ ออกจงึ เกดิ สแี ตกต่างกัน ถ้าตอ้ งการเพยี ง 2 สี จะ
แก้วัสดมุ ัดฝา้ ยเพยี งคร้ังเดียว หากต้องการหลายสีจะมกี ารแก้มดั วัสดหุ ลายครงั้ กอ่ นมดั หมี่ ตอ้ งค้นหมี่
กอ่ น โดยการนำเส้นฝา้ ยพันรอบหลกั หมี่ 1 คู่ นับจำนวนเสน้ ฝา้ ยใหส้ ัมพันธ์กบั ลายหมี่ทจี่ ะมัด จากน้ัน
จึงทำการมัดหมี่กลุ่มเส้นฝ้ายในหลักหมี่ ตามลวดลายหมี่ที่ต้องการ เมื่อถอดฝ้ายมัดหมี่ออกจากหลัก
หมี่ นำไปย้อมสี บิดให้หมาดแล้วจึงแก้ปอมัดหมี่ออก ทำให้เกิดลวดลายตรงท่ีแก้ปอออก นำฝ้ายที่แก้
ปอมัดแล้วนี้ไปพันรอบหลอดไม้ไผ่เรียกว่า การปั่นหลอด ร้อยหลอดฝ้ายตามลำดับก่อน-หลัง เก็บไว้
อย่างดรี ะวังไม่ใหถ้ กู รบกวนจนเชอื กรอ้ ยขาด ฝ้ายมดั หม่ใี นหลอดฝ้ายใช้เปน็ เสน้ พุ่งในการทอ
การคน้ หม่ี

เสน้ ฝา้ ยมีไขฉาบโดยธรรมชาติ กอ่ นนำมาใช้ต้องชุบนำ้ ให้เปียกท่ัวอณูของเส้นฝา้ ย โดยชุบน้ำ
แล้วทุบด้วยท่อนไม้ผิวเรียบ เรียกว่า การฆ่าฝ้าย ก่อนจะชุบฝ้ายหมาดน้ำในน้ำแป้งและตากให้แห้ง
คล้องฝ้ายใส่กงแล้วถ่ายเส้นฝ้ายไปพันรอบอัก ตั้งอักถ่ายเส้นฝ้ายพันรอบหลักหมี่ ซึ่งมีความกว้าง
สัมพันธ์กับความกว้างของฟืมที่ใช้ทอผ้า นับจำนวนเส้นฝ้ายให้เป็นหมวดหมู่ แต่ละหมู่มีจำนวนเส้น
ฝ้ายสัมพันธก์ บั ลายหมี่ มัดหมวดหม่ฝู า้ ยด้วยเชือกฟาง

วธิ ีการค้นหม่ี
1. เอาฝ้ายที่เตรียมมาแล้วมัดหลักหมี่ด้านล่างก่อน แล้วพันรอบหลักหมี่ไปเรื่อยๆ เรียกว่า
การก่อหม่ี
2. การค้นหมี่จะต้องค้นจากล่างขึ้นบน หรือบนลงล่างจนกว่าจะครบจำนวนรอบที่ต้องการ
ภาษาท้องถิ่นเรียกแตล่ ะจำนวนว่าลูกหรอื ลำ ถ้าก่อหมผ่ี กู ฝ้ายดา้ นขวา กต็ อ้ งวนซ้ายมาขวาทกุ ครั้ง
3. ควรผกู ฝา้ ยไว้ทุกลกู ดว้ ยสายแนม เพ่ือไม่ใหห้ ม่พี ันกนั หรือหลุดออกจากกัน

การทำพานบายศรี ต้องเลือกใบตองที่มีใบไม่ฉีกขาด ลุ่ย จะต้องแช่ในน้ำมันมะกอกไว้ เพื่อรักษาเกบ็
ไวไ้ ด้หลายวันและคงความ มันวาว สวยงาม

6. บคุ คล/หนว่ ยงานท่ีเขา้ มารับความรจู้ ากภมู ิปัญญา :
- บคุ คลทว่ั ไปท่สี นใจ
- นักเรยี น / นักศึกษา

1. ช่ือภูมิปญั ญาท้องถนิ่ : นายพร ศิริพัฒน์
2. ท่ีอยู่ : 85 หมู่ 4 บ้านด่านนอกดง ตำบลสร้างป่ี อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรสี ะเกษ
3. ประวัตคิ วามเปน็ มา/สาระความรู้ทไี่ ดจ้ ากภูมิปญั ญา :

หัตถกรรมเครื่องจักสานเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ที่สำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตตั้งแต่
อดตี ตัง้ แตส่ มัยอยุธยาจนถึงปจั จุบนั หตั ถกรรมเครื่องจักสานเป็นตัวอย่างหน่ึงที่แสดงให้เห็นภูมิปัญญา
อันเฉลียวฉลาดของคนในท้องถิ่น ที่ใช้ภูมิปัญญาสามารถนำสิ่งที่มีอยู่ในชุมชนมาประยุกต์ทำเป็น
เครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีประโยชน์ในการดำรงชีวิต จะเห็นได้ว่าหัตถกรรมเครื่องจัก
สานมีมานานแล้วและได้มีการพัฒนามาตลอดเวลาโดยอาศัยการถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่
คนอีกรุ่นหนึ่ง การดำรงชีวิตประจำวันของชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่ได้เอาการรู้หนังสือมาเกี่ยวข้อง การ
เรียนรู้ต่างๆ อาศัยวิธีการฝึกหัดและบอกเล่าซึ่งไม่เป็นระบบในการบันทึก สะท้อนให้เห็นการเรียนรู้
ความรู้ที่สะสมที่สืบทอดกันมาจากอดีตมาถึงปัจจุบันหรือที่เรียกกันว่าภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังนั้น
กระบวนถา่ ยทอดความรูจ้ ึงมีความสำคญั อยา่ งยง่ิ ท่ีทำภูมิปัญญาท้องถน่ิ นน้ั คงอยู่ตอ่ เนื่องและยงั่ ยนื

การจักสานไม้ไผ่ เป็นงานหัตกรรมที่หล่อหลอมขึ้นจากจิตวิญญาณและภูมิปัญญาของบรรพ
บุรุษ การสานเป็นการนำเอาวัสดุที่เตรียมแล้วมาสานประดิษฐ์ให้เป็นรูปร่างและลวดลายต่างๆ และ
การถักเป็นกระบวนการประกอบทำให้เครื่องจักสานสมบูรณ์เสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง
ภายนอก วัสดุท่นี ำมาใชส้ านได้แก่ ไม้ไผ่ หวาย กก ปา่ น เป็นตน้

4. ลกั ษณะสำคัญของภมู ปิ ัญญา :
หัตถกรรมเคร่ืองจักสาน ภูมิปัญญาชาวบ้านและประสบการณ์ต่างๆ ทส่ี นบั สนนุ ส่งเสริมให้

ผเู้ รียนเกดิ กระบวนการเรยี นรู้และเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้

5. ขน้ั ตอนการถ่ายทอดความรู้ของภูมปิ ัญญา :
การบอกเลา่ และการสาธติ
วัตถุดบิ ในการจกั สาน ท่ีใช้กันทวั่ ไปมีหลายอย่างไดแ้ ก่ ใบเตย ลำเจยี กหรอื ปาหนนั ผักตบชวา

ย่านลิเพา กระจูด กก ใบตาล ใบลาน หวาย ไม้ไผ่ แต่ที่นิยมนำมาใช้ทำงานจักสานมากที่สุดคือไม้ไผ่
และหวาย เนื่องจากคงทน ราคาไมแ่ พง วตั ถดุ บิ หาได้ งา่ ยมอี ยู่ทั่วไป

การเตรียมไม้ไผ่ เลือกลำต้นที่มีความตรง ลำปล้องยาว ผิวเรียบเป็นมัน หลังจากตัดออกมา
จากกอ นำมาแช่น้ำตลอดทั้ง ลำเพื่อให้ไม้ไผ่มีความสดและป้องกันมด ปลวก มอด เจาะไช เมื่อจะ
นำมาใชง้ านจึงตัดเอาตามขนาดทีต่ ้องการมาผา่ ออกแลว้ นำไปจักเปน็ ตอกแล้วตากแดดใหแ้ หง้

1. วธิ กี ารเตรยี มไม้ไผ่ วสั ดุ อปุ กรณก์ ารสาน
2. ขน้ั ตอนการสาน การถักไม้ไผเ่ ป็นผลิตภัณฑไ์ ด้
3. วธิ กี ารปอ้ งกันและบำรงุ รักษาไมไ้ ผต่ ลอดจนผลติ ภัณฑท์ ่สี ำเรจ็ แล้ว
4. ศึกษาภูมิปัญญาท้องถนิ่ และสืบทอดต่อชนรุน่ หลังได้

6. บคุ คล/หนว่ ยงานทีเ่ ขา้ มารับความร้จู ากภูมปิ ญั ญา :
- นกั เรยี น นกั ศกึ ษา
- หน่วยงานทอ้ งถน่ิ
- บุคคลทั่วไป

1. ช่อื ภูมปิ ญั ญา : นายสงกรานต์ ปอ้ งแกว้

2. ท่ีอยู่ : 5 หมู่ 4 บ้านดา่ นนอกดง ตำบลสร้างป่ี อำเภอราษไี ศล จังหวดั ศรสี ะเกษ

3. ประวตั ิความเปน็ มา/สาระความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากภูมิปัญญา :
เริม่ ร่ำเรียนวิชาการสขู่ วญั กับ พ่อพมึ่ หงษาธร (เสียชีวิตแลว้ ) มคี วามคดิ ครั้งหนึง่ ท่จี ะไม่เรียน

วิชาการ สู่ขวัญ เพราะคดิ ว่ายาก ตอ้ งใชค้ วามจำมาก เน่ืองจากว่าแต่ละบท แตล่ ะงานที่ต้องทำพิธี
นั้น มีรายละเอียดของเนื้อหาที่แตกต่างกัน ต้องแม่นยำ ความจำดี อดทน แต่แล้วพ่อพึ่ม หงษาธร
(เสยี ชวี ติ แลว้ ) ก็บงั คบั ให้กลบั มาเรยี น ท่องตำราอีกครงั้ ส่วนใหญช่ าวบ้านกจ็ ะทำพิธีตา่ งๆ อยู่บ่อยครงั้
ท่านจึงได้พร่ำสอน จนพากเพียรได้วิชาติดตัวมาและชาวบ้านที่มีงานมงคล งานบวช สะเดาะเคราะห์
ก็ได้ไปสู่ขวัญอยู่เรื่อยๆ ทำให้เกิดความจำ ความชำนาญ คล่องในการท่องบท ท่องจำเนื้อหา ทั้งยังมี
ความน่าเชอื่ ถือจากชาวบ้าน และนับรวมประสบการณถ์ ึงปัจจบุ นั ประมาณ 10 ปี

4. ลกั ษณะสำคญั ของภูมิปัญญา : ภมู ปิ ญั ญาชาวบ้านและประสบการณ์ต่างๆ ทสี่ นบั สนุนส่งเสริมให้
ผเู้ รียนเกิดกระบวนการเรียนรูแ้ ละเป็นบคุ คลแห่งการเรยี นรู้

5. ข้ันตอนการถ่ายทอดความรู้ของภมู ปิ ญั ญา :
- การบอกเลา่ จากผู้เฒา่ ผ้แู ก่
- การทอ่ งตำรา อา่ นหนงั สือ
- ฝึกฝนเปน็ ประจำ

6. บคุ คล/หน่วยงานทีเ่ ข้ามารบั ความรจู้ ากภูมิปัญญา :
- บคุ คลท่วั ไปท่ีสนใจ
- นกั เรียน / นกั ศกึ ษา

1. ชอื่ ภูมปิ ัญญา : นางมูล เสาร์หงษ์

2. ท่ีอยู่ : 38 หมู่ 4 บ้านดา่ นนอกดง ตำบลสร้างป่ี อำเภอราษีไศล จังหวัดศรสี ะเกษ

3. ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระความรูท้ ไ่ี ด้จากภูมปิ ญั ญา :
การทอเสือ่ จัดเปน็ หตั ถกรรมพืน้ บ้าน หูกทอเส่ือมลี ักษณะเหมือนหูกทอผา้ แตเ่ ตี้ยกว่ากันมาก

จนคนทอไม่ต้องนัง่ ม้าทอ แต่ต้องขึ้นไปน่ังบนหูกเลย ชนิดของเสือ่ จะดีหรือไมด่ ี ขึ้นอยู่กับคุณภาพของ
วัสดทุ น่ี ำมาทอมากกว่าว่า มเี ส้นละเอยี ดเทา่ กนั หรือไม่ นิยมทอเสื่อไว้ใชใ้ นครัวเรือน วสั ดุที่นำมาใช้ทอ
คือ ต้นไหล จงึ ปลูกต้นไหลไว้ เพือ่ ใช้เป็นวสั ดุในการทอเส่ือ ทีใ่ ชต้ ้นไหลในการทอเส่ือนนั้ เพราะต้นไหล
มีคุณลักษณะและคุณสมบัติเหมือนตน้ กก แต่จะปลูกได้ง่ายกว่าต้นกก ปลูกได้ในดินทั่วไปเจริญเตบิ โต
เร็ว เส่ือทที่ อจากต้นไหล จะมคี วามสวยงาม คงทน และไม่ข้ึนรา เป็นเงางามกวา่ ตน้ กก

4. ลักษณะสำคญั ของภมู ปิ ัญญา : หัตถกรรมพ้ืนบ้าน ภมู ปิ ัญญาชาวบ้านและประสบการณ์ตา่ งๆ ท่ี
สนบั สนนุ สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนเกิดกระบวนการเรยี นรู้และเป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้

5. ขน้ั ตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมปิ ญั ญา :
- อธบิ ายวิธกี ารทอเส่ือตามขนั้ ตอนต่างๆ
- สาธิต พรอ้ มปฏบิ ัติ

ข้นั ตอนการทอเสอ่ื
1. ตดั ไหลที่มีอายุ 3-4 เดอื น (ตดั ไหลใหเ้ หลอื ตอไว้เพอื่ ไหลทีเ่ หลือจะได้แตกหนอ่ )
2. คดั เลอื กต้นไหลที่ตดั แลว้ ให้มีขนาดความยาวเทา่ กนั มัดไว้เปน็ มดั ๆ แลว้ ตัดใบออก
3. ผา่ คร่ึงตน้ ไหล (คลา้ ยการจักตอก) ใหต้ ้นไหลเลก็ ลง มัดไวเ้ หมอื นเดมิ
4. นำไหลทผี่ า่ ครึ่งไปผ่ึงลมหรอื ผึง่ แดดให้แห้ง ประมาณ 1 สัปดาห์ แล้วนำมาย้อมสี (ตามสีที่

ตอ้ งการ)
5. นำเชือกไนลอนมาขงึ สอดตามรูฟืมทุกรเู ป็นแนวยืน ขึงให้ตงึ
6. นำไหลไปพรมน้ำให้ชุ่ม ห่อด้วยผ้าหรือกระสอบป่านเพื่อไม่ให้ไหลแห้งเพราะจะทำให้ไหล

หกั ง่ายไมเ่ หนียว จะเพม่ิ ความนม่ิ ทองา่ ย คงทน ยืดอายุการใช้งาน
7. นำเส้นไหลสอดใสใ่ นรูทไ่ี ม้สอดทีละเสน้ เพ่ือนำไปสอดเวลาทอ
8. การทอเริ่มที่การคว่ำฟืมลงแล้วสอดเส้นไหลที่สอดใส่ไม้แล้วในช่องเชือก ในข้อ 5 เป็น

แนวนอน (แนวทอ) แล้วดงึ ไมส้ อดกลบั ออกมา จับฟมื กระทงุ้ เข้ามาให้แนน่ (เหมอื นทอผา้ )
9. หงายฟืมแล้วสอดเส้นไหลเข้าไปในช่องเชือก เหมือน ข้อ 8 เมื่อกระทุ้งเสร็จ ริมขอบเส่ือ

จะต้องถักเปียให้แน่น เพอ่ื ไม่ใหร้ มิ ขอบเสอ่ื หลุดลุ่ย
10. การทอจะต้องทำตามขั้นตอนข้อ8และ9สลบั กันไปเรื่อยๆจนไดค้ วามยาวสุดเชือกไนลอน

ท่ขี ึงไว้
11. เมอ่ื ทอถงึ ตามข้อ10 แล้วนำฟมื ออกมัดไนลอนทป่ี ลายให้แน่นเพื่อปอ้ งกนั การหลดุ ของ

เส้นไหลที่ทอ เสรจ็ แลว้ ใช้กรรไกรตัดไหลทรี่ มิ ขอบส่วนที่เกินออกท้งั สองขา้ ง กจ็ ะไดเ้ ส่ือจากตน้ ไหล 1
ผืน นำไปใช้ประโยชน์ได้

6. บคุ คล/หน่วยงานท่เี ข้ามารบั ความรู้จากภูมิปัญญา :
- บุคคลท่วั ไปท่สี นใจ
- นกั เรยี น / นักศกึ ษา
- หนว่ ยงานท้องถิน่

1. ชือ่ ภูมิปญั ญา : นายจำนง นนั ตากาศ เกิดวนั ท่ี 7 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2500

2. ทอี่ ยู่ : 50 หมู่ 7 บา้ นสร้างแกว้ ตำบลสร้างป่ี อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรีสะเกษ

3. ประวัตคิ วามเป็นมา/สาระความรู้ที่ไดจ้ ากภมู ิปัญญา : ภมู ลิ ำเนาเดมิ อยทู่ จ่ี ังหวัดเชยี งใหม่ เริ่มฝึก
อาชีพแกะสลักไม้ ตั้งแต่ อายุ 7 ขวบ ขณะที่กำลังศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้รับการถ่ายทอด
ภูมิปัญญาจากบิดา ผู้ซึ่งมีวิชาตั้งแต่เด็ก จึงได้ฝึกฝน ร่ำเรียนมาจนถึงปัจจุบัน และได้ถ่ายทอดภูมิ
ปัญญาสู่รุ่นลูกรุ่นหลานต่อไป ทั้งยังสามารถเป็นอาชีพที่ใช้เลี้ยงครอบครัว ทำให้การดำเนินชีวิตไป
แบบเรยี บงา่ ย พอเพยี ง

ปัจจุบนั ได้รับเลือกให้เปน็ สนิ คา้ OTOP ประจำตำบล

4. ลกั ษณะสำคัญของภูมิปัญญา : ภมู ปิ ัญญาชาวบ้านและประสบการณ์ตา่ งๆ ที่สนบั สนุนสง่ เสรมิ ให้
ผู้เรยี นเกิดกระบวนการเรียนรู้และเปน็ บคุ คลแห่งการเรยี นรู้

5. ขั้นตอนการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปัญญา : การเลือกไม้ที่มาทำส่วนใหญ่จะเป็นไม้ที่เป็นมงคล
เช่น ไม้พยุง ไม้จามจุรี ไม้มะยม ไม้ขนุน ไม้ประดู่ ไม้ยอ เป็นต้น แต่ที่นิยมจะเป็นไม้จามจุรี การ
แกะสลักจะทำตามที่สั่ง เพราะเนื่องจากบุคคลทั่วไป หน่วยงานต่างๆ จะนำไปประดับตกแต่งบ้าน
อาคาร สถานที่ เพื่อเป็นศิริมงคล มีทั้งเป็น มังกร ชูชก พระพิฒเนศวร หรือจะเป็นแบบต่างๆ ที่
ต้องการ ระยะเวลาในการแกะสลักแต่ละแบบขึ้นอยู่กับแบบที่ให้ทำ เช่น การแกะสลัก มังกร จะใช้
เวลาประมาณ 10 วนั /ตัว ขนาดตวั ละ 2 เมตร

เครื่องมอื ในการแกะสลกั จะใช้ “สวิ่ ” ในการแกะสลัก จะไมใ่ ชเ้ ครื่องมือไฟฟ้า

6. บคุ คล/หนว่ ยงานท่เี ขา้ มารับความรู้จากภมู ปิ ญั ญา : - บุคคลทว่ั ไปทส่ี นใจ
- นกั เรยี น / นกั ศกึ ษา
- หนว่ ยงานท้องถ่ิน

1. ช่ือภูมิปัญญา : นายสาย การะเกษ

2. ทีอ่ ยู่ : 10 หมู่ 10 บา้ นสร้างป่ี ตำบลสร้างปี่ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

3. ประวัติความเป็นมา/สาระความรูท้ ี่ไดจ้ ากภูมปิ ญั ญา :
เริ่มจากการเป็นช่างสร้างที่อยู่อาศัย ช่างบ้าน เมื่ออายุประมาณ 20 ปี ได้เริ่มหันมาจักสาน

อปุ กรณ์ เครือ่ งมอื ตา่ งๆที่ใช้ในครวั เรอื น ใชเ้ ปน็ พาหนะ ภาชนะต่างๆ เชน่ ตะกรา้ หวด กระด้ง เปลไม้
ไผ่ เป็นตน้ และทำจากเถาวลั ย์ เครือยา่ นาง เช่น แจกนั โคมไฟ เป็นต้น

“เปลไมไ้ ผ่” หรอื เปลกระบอกไม้ไผ่ มักแขวนไว้ตามใต้ถนุ บา้ น หรือ ตามใตร้ ม่ ไม้ เพื่อใช้นอน
หรือนั่งเล่นในยามว่าง บางทีใช้สำหรับเด็กๆนอนก็มีการใช้ไม้ไผ่มาทำเปลนั้นเพราะไม้ไผ่มีประโยชน์
มากมายในท้องถิ่น มีทั้งขึ้นเองตามธรรมชาตแิ ละปลูกไว้ ใช้ประโยชน์อื่น ๆ ด้วยเหตุนี้ ชาวบ้านจึงใช้
ไม้ไผ่ประดิษฐ์ ของนานาชนิด เปลไม้ไผ่จึงเป็นผลงานของบรรพบุรุษ ซึ่งทำไว้ ในสมัยก่อน ปัจจุบันไม่
ค่อยมีการทำ เพราะมีวัสดุที่ใช้ทำแทนแล้ว เช่น เชือก เปลไนลอน หรือเปลญวน ซึ่งสะดวกต่อการใช้
สอยและเกบ็ รักษา ซง่ึ ชาวบา้ นฤกษอ์ ุดมยังเป็นหม่บู ้านที่ยังอนรุ ักษแ์ ละเห็นคุณค่าของเครื่องใช้ ที่เป็น
สิ่งที่สืบทอดกนั มาแตโ่ บราณ โดยยังคงทำเคร่อื งมือ เครอื่ งใช้ จกั สานด้วยไม้ไผห่ ลายชนดิ ซ่งึ มอี ยอู่ ย่าง
แพร่หลายในพื้นท่ี ภาคอีสาน เช่น กระติบข้าว ตะกร้า ข้อง ซึ่ง การทำเครื่องมอื เครื่องใช้ส่วนใหญจ่ ะ
เกี่ยวกับวิถีชีวิตความเป็น อยู่ของชาวบ้านเอง นอกจากทำเครื่องมือเครื่องใช้แล้ว ก็จะมองหาส่ิง
อำนวยความสะดวก และสามารถสร้างความอบอุ่นภายในครอบครวั เช่น การทำเปล ให้ลูกนอน การ
สานกระด้งไว้ใช้ เป็นต้น เปลไม้ไผ่มีความแข็งแรง ทนทาน มีรูปทรงที่สวยงาม อ่อนช้อย และมีอายุ
การใช้งานนาน 10 ปี เหมาะสำหรับใช้เป็นเปลนอนในพื้นที่ภาคอีสาน เพราะมีอากาศร้อน ไม้ไผ่จะ
ระบายอากาศ บริเวณ ผิวหรือ ติวของไม้ไผ่จะมีความเย็นเป็นพิเศษ จึงทำให้ผู้ที่ทำงานหนักอากาศ
ร้อน มานอนแล้วจะเย็น รูปทรงของเปลไม้ไผ่ เป็นลักษณะโปร่ง โค้งเข้ากับสรีระของร่างกายพอดี จึง
ทำให้สามารถนอนพักผ่อนไดด้ ี

4. ลกั ษณะสำคัญของภูมปิ ัญญา : หัตถกรรมเคร่ืองจกั สาน ภูมิปญั ญาชาวบา้ นและประสบการณ์
ตา่ งๆ ทส่ี นับสนุนสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นเกิดกระบวนการเรียนรู้และเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้

5. ขัน้ ตอนการถ่ายทอดความรู้ของภูมปิ ญั ญา :
ตัวอยา่ ง ขนั้ ตอนกระบวนการวิธีการทำเปลไม้ไผ่

1. ขัน้ เตรียมการ
คดั เลือกวตั ถุดิบทจ่ี ะนำมาใช้ในการสานเปลไม้ไผ่ ประกอบดว้ ย

1.1 เปลไม้ไผ่ คือ “ไผ่สีสุก” โดยลักษณะของลำไม้ไผ่ที่เหมาะสมในการนำมาใช้ คือ มี
ลักษณะโค้งขึ้น คล้ายเรือ เมื่อนำมา สานจะได้เปลที่สวยงามโดยไม่ต้องดัดแปลงมาก แต้ถ้าหากไม่มี
ลักษณะดังกล่าว ก็สามารถนำไม้ไผ่ที่มีลักษณะเป็นเส้นตรงมาใช้ได้เช่นกัน เมื่อช่างจะทำการสานเปล

ไม้ไผ่ จะเลือกตัดไม้ไผส่ สี กุ มา 1 ลำ และมาแบง่ ออกเปน็ 2 ชุด คอื สว่ นหนึง่ ใช้ทำเปน็ ตวั โครง อีกส่วน
หนึ่งนำมา จักตอก ทำเป็นเส้น เพื่อนำมาสาน โดยช่าง จะทำการสานเปลในขณะที่ไม้ไผย่ ังมีความสด
อยู่ เพราะมคี วามเหนียว ยืดหยุ่นไดด้ ี

1.2 หวาย หวายที่ใช้ในการจักสานเปลไม้ไผ่น้ี เป็นหวายที่มีคุณภาพดี ซึ่งแต่เดิมใน ชุมชน
บ้านฤกษ์อุดมปลูกไว้เพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะในครัวเรือนใช้เมื่อจำเป็น และกิน ไม่ทัน จึงเหลือไว้ให้
เปน็ หวายเส้น แตป่ ัจจุบนั หาไดน้ ้อยมาก เมือ่ มคี วามจำเป็นต้องใช้มาก ชา่ งจึงหาวตั ถุดบิ จากแหล่งอื่น
เช่น หมบู่ ้านใกลเ้ คียง ซึ่งหายากเชน่ กัน จึงใช้หวายนำเขา้ จากสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว
ซง่ึ เป็นหวายทเ่ี หนียว และทนตอ่ การใชง้ าน โดยการซื้อมาเก็บไว้เพือ่ ใช้งานตลอดปี เม่อื จะนำมาใช้ จะ
นำมาแชใ่ นน้ำไว้กอ่ น 5-12 ชวั่ โมง

1.3 ไม้โครง ช่างจะเตรียมไม้โครงไว้เพื่อช่วยในการกะระยะห่างของเส้นโครงให้มีความ
สม่ำเสมอ สวยงาม ซึ่งมีหลายขนาด เปน็ การใช้เทคโนโลยีของชาวบ้าน ช่วยใหช้ ิ้นงานมีความสวยงาม
ขนาดมาตรฐาน ไม้โครงนี้ ทำจากไม้ไผ่ มีเชือกไนล่อนเป็นตัวยึดไม้โครงกับไม้ไผ่ที่นำมาขึ้นรูปเป็น
โครงสรา้ งของเปลไมไ้ ผ่

2. ขั้นการผลติ
2.1 นำไม้ไผ่ที่เตรียมไว้ที่มีอายุ 3 ปีขึ้นไป มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ตั้งแต่ขนาด 4 -5 นิ้ว มีความ

ยาว 3 เมตร (8-9 ปล้อง) มาตกแต่งปล้องไม้ไผ่ โดยการเหลาปล้องกลาง เหลือไว้เฉพาะ ไม้ไผ่ที่อยู่
ดา้ นหัวและทา้ ย

2.2 ใช้ตลับเมตรวัดปล้องไม้ไผ่หัว-ทา้ ย มีความยาวด้านละ 12 นิ้ว ทำเครื่องหมายไว้ วัดเส้น
รอบวงไม้ไผ่ แบ่งไม้ไผอ่ อกเป็น 3 ส่วน โดยเลือกไว้ 2 ส่วน นำมาแบ่ง ช่องเป็น 12 ชอ่ งๆ ละเทา่ ๆ กัน
ส่วนทเี่ หลอื ใช้เลื่อยตัดสว่ นหัวทา้ ยของไม้ไผ่ออก เปน็ 1 ส่วน

2.3 ใช้มีดปลายแหลม หรือเหล็กซี เจาะให้เป็นรู ตรงที่แบ่งไว้ 12 ช่อง เป็น 6 รู ให้เป็นแนว
เดียวกัน ทั้งหัวท้าย แล้วนำมีดพร้ามาผ่าตามแนว โดยมีค้อนตอกสิ่วร่วมด้วย จากนั้นใช้มีดพร้าผ่า
ตกแตง่ แตล่ ะซี่ให้ตรงเป็น ลกั ษณะรี ขนาดประมาณ 1.5 เซนตเิ มตร โดยพยายามให้ทุกซีม่ ีขนาดเท่าๆ
กัน ในการเหลาไม้ไผ่ จะต้องเหลอื เปลอื กนอกไวท้ ุกซ่ี

2.4 วัดขนาดความยาวจากหัวถึงท้ายไม้ไผ่ หาจุดกึ่งกลาง จากนั้นนำไม้มาจับยึดทั้งสองด้าน
ของ ไม้ไผ่ไว้ โดยขึ้นรูปให้โค้งเล็กน้อย แล้วนำไม้โครงต้น แบบมาจับยึดจากเส้นโครงกลาง แล้วค่อย
ขยายตามแบบทก่ี ะระยะให้มแี นวโค้งตามแบบ ใหม้ รี ะยะห่างเท่าๆ กนั โดยไม้โครงตน้ แบบ จะมหี ลาย
ขนาด การขึ้นโครงของเปลไม้ไผ่ จะใช้ไม้โครงต้นแบบ 3 ช่วง คือ ช่วงกลาง และวัดจากตรงกลาง
ออกไปครง่ึ หนึ่ง ของระยะหา่ งจาก กลางไปถึงขอบ แตล่ ะด้าน

2.5 นำหวายที่เตรียมไว้มาผ่าออกเป็น 3 ส่วนเท่าๆ กัน แล้วทำการเหลาให้ได้
เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 0.7-1 เซนตเิ มตร ความยาวประมาณ 200 เซนติเมตร จำนวน 10 เส้น แช่
น้ำไว้แล้วตัดไม้ไผ่เตรียม ทกตอก โดยการเหลาตอกนี้จะต้องจักตอก ให้เป็นลักษณะวงรี เหลือผิวของ

ไผ่ติดไว้ตลอด เมื่อเตรียมจักตอกเสร็จ นำหวายมาสานเข้ากับตัวโครงเปล บริเวณหัว-ท้าย โดยสาน
ลายขดั ยกหน่ึง ข่มหน่งึ สานความยาว ข้างละ 5 เส้น ต่อจากนั้น นำไมไ้ ผ่มาสานต่อ จนแลว้ เสรจ็

2.6 นำไม้ไผ่ที่แกแ่ ลว้ ความยาวเท่ากบั ขนาดของขอบเปล มาผ่าให้ได้ขนาดกว้าง 2 น้ิว เหลา
ใหเ้ รยี บร้อย จำนวน 4 ทอ่ น และ จักตอกเปน็ เสน้ กลม ความยาว เทา่ ขอบเปล จำนวน 6 เสน้ โดยนำ
ไม้ไผ่ มาประกบมัดด้วยหวาย ใช้คีมล็อคจับขอบ ช่วยยึด ระยะห่างประมาณ 3 นิ้ว มัดไปจนติดขอบ
อกี ดา้ นหน่งึ โดยทำขอบทั้งสองด้านของเปลไม้ไผ่ เสรจ็ แลว้ ทำการเก็บรายละเอยี ดของเปล เพิ่มสีสัน
และความคงทนโดยการ ทายรู เิ ทน

2.7 เมื่อจะนำไปใช้ แขวนให้เจาะรูปล้องไม้ไผ่ โดยให้ห่างจากข้อ ประมาณ 5 นิ้ว นำเหล็กท่ี
เตรยี มไว้มาใสร่ ู ให้ปลายของเหล็กทัง้ สองขา้ งยื่นออกยาว 5 น้วิ

6. บคุ คล/หนว่ ยงานทเี่ ข้ามารบั ความรจู้ ากภมู ิปญั ญา :
- บุคคลท่ัวไปทสี่ นใจ
- นักเรยี น / นกั ศึกษา
- หนว่ ยงานท้องถนิ่


Click to View FlipBook Version