The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ข้อมูลภูมิปัญญา-ราษีไศล1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by happybox_2526, 2021-11-15 22:13:37

ข้อมูลภูมิปัญญา-ราษีไศล1

ข้อมูลภูมิปัญญา-ราษีไศล1

ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ อำเภอราษีไศล

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอราษไี ศล
สำนักงาน กศน.จงั หวดั ศรสี ะเกษ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

1. ชอื่ ภูมปิ ญั ญา นายสน ปยิ ะวงษ์ (การนวดแผนไทย)
2. ทีต่ ้งั /ท่ีอยู่ 2 หมู่ท่ี 9 ตำบลเมืองแคน อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรีสะเกษ
3. ประวัติความเป็นมา/สาระที่ได้จากภูมปิ ัญญา

เป็นผทู้ มี่ ีความรู้ความสามารถหลายดา้ น ท้ังทางด้านจกั สาน ดา้ นหมอลำ รวมไปถงึ การนวด
แผนไทย ในภมู ิปัญญาน้จี ะเน้นในด้านการนวดแผนไทย ซึง่ ภูมปิ ัญญาจะมีความรู้ในด้านนโ้ี ดยไดร้ ับ
การถา่ ยทอดจากผู้รู้วทิ ยากร ปู่ย่าตายาย และการศกึ ษาเองรวมไปถึงรับการอบรมจากโรงพยาบาล
ส่งเสรมิ สขุ ภาพประจำตำบล
4. ลักษณะสำคญั ของภูมิปัญญา

ชว่ ยในการผ่อนคลายในการปวดเม่ือย การจับเส้นคลายกลา้ มเน้ือ รวมไปถงึ ในด้านการ
ประกอบอาชีพ
5. ขัน้ ตอนการถา่ ยทอดความรูข้ องภูมิปัญญา

เป็นวทิ ยากรในการใหค้ วามรู้ต่อหนว่ ยงานตา่ งๆที่สนใจรวมไปถงึ การเปน็ หมอนวดของ
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพประจำตำบลเมืองแคน
6.บคุ คล/หนว่ ยงานท่ีเข้ามารับความรู้จากภมู ปิ ัญญา

ไดเ้ ป็นวทิ ยากรใหก้ ับหนว่ ยงาน กศน.อำเภอราษไี ศล ในการอบรมการนวดแผนไทย โดย
อบรมให้กบั นกั ศกึ ษาและผทู้ ่ีเขา้ รว่ มโครงการจำนวน 3 ร่นุ และเปน็ ผ้ถู า่ ยทอดใหแ้ ก่ผูที่สนใจในชุมชน
ตำบลเมืองแคน

1.ชอื่ ภมู ิปัญญา นางสอน คำมาก (การจักสาน)
2.ทต่ี งั้ /ท่ีอยู่ หมู่ท่ี 6 ตำบลเมอื งแคน อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
3.ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระท่ีไดจ้ ากภมู ิปัญญา

เป็นผู้ทม่ี คี วามรู้ความสามารถทางด้านจักสาน การสานตะกร้า กระซงั กระตบิ ข้าว พดั
กระด้ง ส่มุ อ่นื ๆเป็นการอนรุ ักษ์ความรู้ความสามารถทางด้านการจกั สาน รวมถึงการถา่ ยทอดผทู้ ่ี
สนใจ และยงั เป็นการเพิม่ รายได้เป็นอาชพี เสรมิ
4.ลกั ษณะสำคญั ของภมู ปิ ัญญา

เปน็ การอนรุ ักษก์ ารจักสาน โดยทุกวันน้เี ยาวชนไมใ่ ห้ความสำคญั ในด้านการจักสานจึงอาจจะทำ
ใหก้ ารจักสานงานต่างๆลดน้อยลง รวมไปถงึ ชมุ ชนและผู้ที่ศึกษาสามารถนำมาใชใ้ นการประกอบ
อาชพี เสรมิ เพิม่ รายได้
5.ขัน้ ตอนการถ่ายทอดความรู้ของภมู ิปัญญา

เป็นวิทยากรในการใหค้ วามรู้ต่อหน่วยงานต่างๆที่สนใจรวมไปถึงการใชเ่ วลาวา่ งให้
เกิดประโย9นห์ ลงั จากการเก็บเกย่ี ว โดยจะมกี ารจักสานประเภทการจักสานจากไม้ไผ่ ท่ีมกี ารจกั สาน
กระซงั กระติบขา้ ว ทพ่ี ่อค้ามารับโดยตรง การถา่ ยทอดความรกู้ ็จะถ่ายทอดให้กับลูกหลานของตน
และการไปเป็นวิทยากรใหก้ บั หนว่ ยงานต่างๆเชน่ กศน.ราษีไศล
6.บุคคล/หน่วยงานทเ่ี ขา้ มารับความรู้จากภูมิปัญญา

ไดเ้ ป็นวทิ ยากรใหก้ ับหน่วยงาน กศน.ตำบลเมืองแคน ในการออกงานมหกรรมวชิ าการ กศน.
อำเภอราษไี ศล ในการจัดแสดงสินคา้ การถ่ายทอดความรู้ผู้ท่ีสนใจ รวมไปถึงการจดั จำหน่ายสนิ ค้า
ดา้ นการจกั สาน และได้ออกรายการสาวไทยบา้ น ของเคเบิ้ลทีวีศรีสะเกษเปน็ การประชาสมั พนั ธส์ นิ คา้
ด้านจกั สานของบ้านยาง ตำบลเมอื งแคน

1. ช่ือแหลง่ เรียนรู้: กลุ่มทอผ้าไหม
2. ทต่ี ง้ั /ท่ีอย:ู่ บา้ นหนองโง้ง หมู่ 11 ตำบลหวา้ นคำ อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรีสะเกษ
3. ประวตั ิความเปน็ มา/ สาระที่ได้จากแหล่งเรยี นรู้

นางสาวกนั ยา ธรรมวัฒน์ หวั หน้ากลุ่มทอผ้า บา้ นหนองโงง้ หมทู่ ่ี 7 หมูท่ ่ี 11 ตำบลหว้าน
คำ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ เล่าให้ฟังว่าเมื่อก่อนบ้านหว้านเป็นหมูบ่ ้านเกษตรกรรมอาชีพ
หลักคือการทำนา ในอดีตชาวบา้ นจะมีทอผ้าไหมไว้ใช้ในครัวเรอื น เส้นไหมชาวบา้ นก็จะเลี้ยงเอง ซ่ึง
ส่วนใหญ่จะเป็นการทอผ้าลายลูกแก้วย้อมมะเกลือตัดเสื้อแขนยาวซึ่งจะใส่ไปทำนา ทำสวน และทอ
ผา้ ถงุ ไวใ้ สไ่ ปงานบุญตา่ ง ๆ เช่น งานทำบุญในวันพระ งานขึน้ บ้านใหม่ ฯลฯ และงานท่ีสำคัญที่ต้อง
ใช้ผ้าไหมเป็นจำนวนมากคืองานแต่งงาน ซึ่งคนที่จะแต่งงานจะต้องทอผ้าเป็นและใช้ผ้าไหมที่ทอไป
ไหว้ผหู้ ลักผูใ้ หญ่ฝ่ายเจ้าบ่าวท่ีมาผกู ข้อมือในวนั แต่งงาน แต่ในปจั จุบันน้สี ตรใี นหมู่บ้านเร่ิมจะไม่มีการ
ทอผ้าแล้วถ้ามีงานบุญก็จะไปซ้ือผ้าที่ตลาดมาใช้เลยเพื่อความสะดวกและสวยงาม กลุ่มสตรีใน
หม่บู ้านทที่ อผ้า จงึ ได้คิดรวมตวั กนั ข้นึ ต้ังเป็นกลมุ่ ทอผา้ เพื่อสบื ทอดภมู ิปญั ญาของท้องถ่ิน พอรวมตัว
กันแล้วทำให้สมาชิกกลุ่มมผี ้าจำนวนมาก จงึ นำผ้ามาจำหนา่ ยภายนอกหมู่บ้าน ทำให้กลุ่มมีรายได้จา
การจำหน่ายผ้า กลุ่มจึงได้มีการพัฒนาจากการทอผ้าไหมลายลูกแก้วย้อมมะเกลือมาผ้าไหมมัดหมี่
และใช้เส้นไหมที่กลุ่มเลี้ยงเองและเป็นไหมแทน และในปัจจุบันผู้คนหันมาสนใจสุขภาพกันมายิ่งข้ึน
จึงมีการพัฒนามาเป็นการทอผ้าไหมด้วยการย้อมสีธรรมชาติแทนสีเคมี ทำผ้าไหมมัดหมี่ของกลุ่มมี
มลู ค่าเพม่ิ ขึน้ และเปน็ ท่ตี ้องการของตลาด การทำผ้ามดั ยอ้ มใชเ้ อง เป็นความภาคภูมใิ จของคนทำและ
คนที่จะสวมใส่ และสีที่ได้จากธรรมชาติจะมีคุณสมบัติในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บไปในตัวด้วย เช่น ผ้า
ยอ้ มคราม ย้อมฝางแดง เป็นต้น

1. ลกั ษณะของแหลง่ เรียนรู้
การทอผ้าไหม เป็นการนำความรู้และภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาใช้และสืบทอดสู่รุ่นลูกรุ่น

หลาน รวมทั้งเป็นการนำธรรมชาติและสิ่งที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์และทำให้มี
มลู ค่าเพ่ิมขึน้

2. ข้นั ตอนการถ่ายทอดความรู้

❑ นำความรู้และภูมปิ ัญญาท้องถ่ินมาใช้ รวมทั้งเป็นการสืบทอดและอนรุ กั ษภ์ ูมิปญั ญา

ไปส่รู นุ่ ลูกรุน่ หลาน

❑ การศกึ ษาวธิ กี ารทอผ้าไหมจากคนรุ่นเก่า

❑ ขัน้ ตอ้ นการทำผา้ ไหมมดั หมี่

❑ ขัน้ ตอนการย้อมสีธรรมชาติ

❑ การนำวัตถดุ ิบจากธรรมชาติมาใช้แทนสีสงั เคราะห์ หรอื สีทเ่ี ป็นสารเคมี

ขั้นตอนการทำผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ มีดังนี้
1. ตม้ นำ้ ให้เดอื ด ในภาชนะทใี่ หญ่พอประมาณ (ข้นึ อย่กู บั จำนวนผ้า ท่ีจะย้อมด้วย) ใส่เกลือ

ลงไปพรอ้ มกับน้ำเพื่อให้สตี ิดทนนานและสีสดข้นึ
2. นำวตั ถุดิบใหส้ ีท่ีเตรียมไวม้ าสับๆ ให้เลก็ พอประมาณ แลว้ ใส่ ใน ถุงผา้ หรือตาข่ายที่เตรียม

ไว้แล้วนำเอาไปต้มกับน้ำที่เดือด เพื่อสกัดเอาสารที่มี อยู่ในนั้นออกมา ให้สังเกตสีที่ออกมาจากถ้าสี
เขม้ แลว้ จึง

3. นำผ้าที่ผูกลายเสร็จลงไปในหม้อต้มสี ให้กลับด้านผ้าหรือกวน ให้ตลอดเพื่อให้สีผ้าดูดสี
สม่ำเสมอกันทั้งผืน ให้สังเกตสีที่ซึมเข้าไปในเนื้อผ้า ถ้าพอใจหรือเหมาะสมแล้วจึงนำออกมา วางให้
เย็นก่อน (ประมาณ 30 นาที ขึ้นอยูก่ บั อุณหภูมิของนำ้ )

4. แลว้ คอ่ ยเอาลงล้างขยี้เบาๆ ในนำ้ ตวั ทำปฏิกริ ยิ าเพื่อทำให้เกิดสีใหม่ เชน่ นำ้ สนิม น้ำ
สารส้ม น้ำปนู ใส น้ำด่างขี้เถ้า (ในขณะทแี่ ชผ่ ้าในตวั ทำปฏิกิริยาแต่ละชนิดให้สังเกตถึงความต่าง
และการเปลี่ยนแปลงสีของแต่ละชนิดไว้ด้วยเพราะแต่ละตัวจะให้สีแตกต่างกัน) ถ้าพอใจแล้วให้แกะ
ลายออกแล้วนำไปตากแดดให้แห้ง หรือถ้ายังไม่พอใจในสีที่ปรากฏให้นำไปล้างน้ำ สะอาดแล้วนำ
กลับไปย้อมกับตัวทำปฏิกิริยาชนิดอื่นๆ อีก แต่ข้อควรระวัง คือในระหว่างที่นำผ้าเปล่ียนตัวทำ
ปฏกิ ิรยิ าใหล้ า้ งน้ำเปล่าก่อน เพ่อื ไมใ่ ห้ผสมกัน หรือถา้ ไม่พอใจอีกอาจนำไปต้มกับน้ำเปลือกไม้อีกคร้ัง
เพอื่ ยอ้ มใหม่ จนเป็นท่พี อใจแลว้ แก้ผ้าทีม่ ดั ไวน้ ำไปตากแดด ใหแ้ ห้ง
สธี รรมชาติได้จากตน้ ไม้ ไดแ้ ก่ ราก แกน่ เปลือก ตน้ ผล ดอก เมล็ด ใบ เป็นตน้ ซง่ึ ต้นไมแ้ ตล่ ะ
ชนดิ ใหโ้ ทนสีต่างกัน ขึ้นอยกู่ ับคุณสมบตั ิของต้นไมน้ ้นั ๆ ซ่งึ จะขอยกมาเปน็ ตัวอยา่ ง เป็นบางสว่ น
ดงั น้ี

- สีแดง ไดจ้ าก รากยอ แก่นฝาง เปลอื กสมอ ครั่ง
- สีคราม ไดจ้ าก ต้นคราม
- สเี หลือง ได้จาก แกน่ ขนนุ ต้นหมอ่ น ขมน้ิ ดอกดาวเรือง
- สีตองอ่อน ได้จาก เปลอื กผลทับทมิ ต้นคราม ใบหูกวาง เปลือกและผลสมอพเิ ภก ใบ
ส้มป่อยและผงขมิน้ ใบแค ใบสบั ปะรดอ่อน
- สดี ำ ได้จาก ผลมะเกลอื ผลกระจาก ผลและเปลือกสมอ
- สสี ม้ ได้จาก เปลอื กและรากยอ ดอกกรรณิการ์
- สีเหลอื งอมสม้ ไดจ้ าก ดอกคำฝอย
- สมี ว่ งออ่ น ไดจ้ าก ลูกหว้า
- สีชมพู ได้จาก ต้นฝาง
- สนี ำ้ ตาล ไดจ้ าก เปลอื กไม้โกงกาง เปลอื กผลมงั คุด
- สีเขยี ว ไดจ้ าก เปลือกต้นมะรดิ ไม้ ใบหูกวาง เปลือกสมอ

3. บคุ คล/หน่วยงานที่เขา้ มารบั ความร้จู ากภมู ิปัญญา
❑ บคุ คลทว่ั ไป

1. ช่อื ภูมิปัญญา หมอแคน (นายเสริม โพธิบุตร)
2. ท่ีอยู่ 68 หมู่ 2 ตำบลหว้านคำ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรีสะเกษ
3. ประวตั คิ วามเป็นมา/สาระที่ได้จากภูมปิ ัญญา

แคน เป็นชื่อเครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคอีสานที่เก่าแก่มีมาแต่โบราณ แคนเป็น เครื่องดนตรีที่
ใช้ปากเป่าให้เป็นเพลง ใครเป็นผู้คิดประดิษฐ์เครื่องดนตรีทีเ่ รียกว่า "แคน" เป็น คนแรก และทำไมจึง
เรียกว่า "แคน" นน้ั ยังไม่มีหลักฐานท่ีแนน่ อนยนื ยนั ได้ แตก่ ม็ ปี ระวัติท่เี ลา่ เปน็ นิยายปรมั ปราสบื ต่อกนั
มาบางท่านก็สันนิษฐานว่า คำว่า "แคน" คงจะเรียกตามเสียงเครื่องดนตรีที่ดังออกมาว่า "แคนแล่น
แคน แล่นแคน แล่นแคน" ซึ่งเป็นเสียงที่ดังออกมาจากการเป่าเครื่องดนตรีชนิดนี้ แต่ บางคนก็มี
ความเห็นว่า คำว่า "แคน" คงเรียกตามไม้ที่ใช้ทำเต้าแคน กล่าวคือ ไม้ที่นำมาเจาะใช้ ทำเต้าแคนรวม
เสียงจากไม้ไผ่น้อยหลาย ๆ ลำนั้น เขานิยมใช้ไม้ตะเคียน ซึ่งภาษาท้องถิน่ ทางภาค อีสานเรียกว่า "ไม้
แคน" แต่บางท่านก็ให้ความเหน็ ที่แตกต่างกันออกไปแต่มีสิ่งหนึ่งที่น่าคดิ อยูบ่ ้างคือ "แคน" นี้น่าจะทำ
ขึน้ โดยผ้หู ญิง ซำ้ ยังเปน็ "หญิงหม้าย" เสยี ดว้ ย ดว้ ยเหตุผลทว่ี า่ สว่ นประกอบทีใ่ ช้ทำแคนอันสำคัญคือ
ส่วนทใี่ ชป้ ากเปา่ ยังเรยี กวา่ "เต้า แคน" และมลี ักษณะรปู รา่ งเปน็ กระเปาะคล้าย "เต้านม" ของสตรีอีก
ด้วย ทั้งการเป่าแคนก็ใช้วิธี เป่าและดูด จนสามารถทำให้เกิดเสียงอันไพเราะ นอกจากนี้ยังมีเหตุผล
สนับสนนุ อีกข้อคือ คำที่เป็นลักษณะนามเรยี กชื่อ และจำนวนของแคนกใ็ ช้คำวา่ "เต้า" แทนคำว่า อัน
หรือ ชิ้น ฯลฯ ดังนี้ เป็นต้น ที่สำคัญคือ เสียงของแคนเป็นเสียงที่ไพเราะอ่อนหวาน ซาบซึ้งเหมือน
เสียงนกการเวก ตาม นิทานเรื่องดังกล่าว เหมือนเสียงของหญิงหม้ายที่ว้าเหว่เดียวดาย ดังนั้นถ้าจะ
กล่าวว่า "หญิงหม้าย" เป็นผู้ประดิษฐ์คิดทำแคนขึ้นเป็นคนแรก จึงเป็นเหตุผลที่น่ารับฟังได้มาก
พอสมควรทีเดยี ว

ลักษณะสำคัญของภูมปิ ัญญา
ลกั ษณะของแคนมสี องชนิด คือ แคนน้อย (ยาวศอก คืบ ยาวสองศอก ยาวสองศอกคืบ) และ

แคนใหญ่ (ยาวสามศอก ยาวสามศอกคบื ส่ศี อก ส่ศี อกคืบ) ที่เคยใช้ในปจั จุบนั แต่ที่เคยมี ยาวถึงหก
ศอก แคนสองขนาดนี้แบ่งเป็นสองอยา่ ง คือ แคนเจ็ด และแคนแปด แคนเจ็ดนัน้ มลี ูกเจ็ดคู่ ส่วนแคน
แปดนั้นมลี กู แปดคู่ ส่วนแคนของเผ่าลาวลมุ่ นั้นมหี กคู่ และแคนของเผา่ ลาวสูงมีแคส่ ามคู่เท่านนั้ และ
ใชท้ อ่ ต่อเต้าสำหรับการเปา่ ตามธรรมดา

ขน้ั ตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมปิ ัญญา
"แคน" ทำดว้ ยไม้อ้อ หรือไมเ้ ห้ียนอ้ ย แตเ่ ดี๋ยวนี้ไมอ้ ้อหาได้ยาก เขาจงึ ทำแคนดว้ ยไมเ้ ห้ยี นอ้ ย

และจะต้องหาให้ได้ขนาดเท่านว้ิ มอื จงึ จะใชไ้ ด้ นอกจากไม้เห้ียน้อย ซึง่ ทำเป็นลูกแคนยาวลดหลั่นกนั
ตามลำดับ 7 คู่ หรอื 8 คู่ ประกอบเข้ากนั กับเตา้ ติดสดู (ขส้ี ูด) ข้างบนและขา้ งลา่ งเต้า เพ่ือไม่ให้ลม
เปา่ เข้าสบู ออกร่ัว แล้วยังมลี นิ้ แคน รแู พว และรนู บั เสียงเป็นสง่ิ สำคญั ดว้ ย ขา้ งในของแต่ละลำไมล้ กู
แคนประกอบดว้ ยล้ินแคนหน่ึงอันทม่ี หี น่ึงเสยี ง และจะต้องเจาะรแู พวให้ถกู ตามเสยี งเสมอ วิธีเปา่ แคน

ลาวลุ่มก็เหมอื นกบั การเป่าแคนลาวเทงิ หรอื ลาวสูง คือจะต้องใช้อุ้งมือท้งั สองขา้ ง อุม้ เต้าแคนไวแ้ ลว้
เป่าหรอื ดูดสูบลมท่รี ูเต้า ส่วนนวิ้ มอื ก็นบั ไลต่ ามเสยี งไปดว้ ย

บุคคล/หนว่ ยงานที่เขา้ มารับความรจู้ ากภมู ปิ ัญญา
นกั เรียน ประชาชนทว่ั ไปที่สนใจ

1. ช่ือภูมิปญั ญา หมอยาตม้ สมุนไพร (พระครูสุวมิ ล ธรรมรงั ษ)ี

2. ที่อยู่ วดั บา้ นหวา้ น หมู่ที่ 2 ตำบลหวา้ นคำ อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรีสะเกษ

3. ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระท่ไี ด้จากภมู ปิ ัญญา

หมอยา คือ ผู้เชี่ยวชาญดา้ นการรักษาโรค สมัยรุ่นคุณตายังหนุ่ม คุณย่ายังสาว การแพทย์ยงั

ไม่เจริญก้าวหน้าเท่าปัจจุบันนี้ หากย้อนไปมองในยุคนั้นก็จะพบว่า แต่ละชุมชนมักจะมีผู้ที่มีความรู้

เรื่องวิธีรักษาโรค รู้เรื่องยาดีที่สุด หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “หมอยา“ประจำอยู่ เมื่อเกิดอาการเจบ็

ไข้ได้ป่วยก็จะได้หมอยานี่แหละที่บรรเทาเบาบางอาหารเจ็บไข้ให้ แต่ถึงเดี๋ยวนี้สภาพสังคมเปลี่ยนไป

วิถีชีวิตของผู้คนก็เปลี่ยนไปความเชื่อในการพึ่งหมอยาซึ่งรักษาด้วยวิธีตามแบบพื้นบ้านที่ได้รับมรดก

ตกทอดมาจากบรรพบุรุษเริ่มจางหายไป แต่กลับหันไปใช้วิธีที่รักษาได้รวดเร็วกว่านั้น ยาสมุนไพร

เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติปราชญ์ชาวบ้านหรือหมอยาที่มีความรู้ก็จะนำมาสกัดหรือนำมาผ่าน

กรรมวิธีต่างๆที่นำตวั ยาออกมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในการรกั ษาโรค

4. ลักษณะสำคัญของภูมิปัญญา

วิธแี ปรรูปสมนุ ไพรเป็นการนำเอาสรรพคณุ ของสมุนไพรมาใช้งาน ซ่ึงมอี ยูห่ ลายวธิ ดี ว้ ยกนั พืช

สมุนไพรแต่ละชนิดก็มีวิธีแปรรูปที่แตกต่างกันไป วิธีแปรรูปสมุนไพรที่พบเห็นได้บ่อยและนิยมใช้กัน

มากได้แก่ การต้ม วิธีการต้มยาสมุนไพรเป็นหนึ่งในวิธีแปรรูปสมุนไพรที่สามารถสกัดตัวยาที่อยู่ใน

สมุนไพรให้ออกมาได้ดีกว่าวธิ ีอน่ื ๆเพราะต้องใชค้ วามร้อนมากและเวลาการต้มที่นานกว่า โดยมีน้ำเป็น

ตวั ละลายยาทีอ่ ยใู่ นตน้ พืชสมุนไพร การต้มยาสมนุ ไพรไม่จำกดั วา่ จะเปน็ สมุนไพรแห้งหรือสมุนไพรสด

โดยมากจะเป็นพืชสมุนไพรจำพวกเปลือกไม้ รากไม้ เมล็ดหรอื ผลของพชื สมุนไพร การต้มยาสมุนไพร

มีข้อดีคือ ทำง่ายและสะดวก สามารถสกัดเอาตัวยาออกมาจากพืชสมุนไพรได้มากแต่ก็มีข้อเสียคือยา

สมุนไพรทไ่ี ด้จากการตม้ มักจะมีรสขม ฝาด กลนิ่ และรสชาตไิ มน่ า่ ดืม่ และยาสมุนไพรท่ีได้จากการต้มไม่

ควรเกบ็ ไว้ข้ามคืนเพราะอาจจะขนึ้ ราและเสียได้ง่าย ควรด่มื ยาสมุนไพรท่ไี ด้จากการต้มให้หมดภายใน

วนั น้นั (ตม้ กนิ วันต่อวัน)

5. ขัน้ ตอนการถา่ ยทอดความร้ขู องภมู ปิ ัญญา
วิธีการต้มยาสมุนไพร ความสะอาดตอ้ งมาเป็นอันดบั หนึ่ง นำ้ และภาชนะที่ใชใ้ นการตม้ ยา

สมนุ ไพรต้องสะอาดและบรสิ ุทธิ์ ภาชนะทใี่ ช้ควรเปน็ ภาชนะท่ีทำดว้ ยดินเผา ไมค่ วรใช้ภาชนะที่เป็น
โลหะเพราะสมุนไพรอาจทำปฏกิ ริ ิยากบั โลหะทำให้มีผลต่อสรรพคณุ ของยาสมุนไพร สว่ นปรมิ าณท่ใี ช้
ต้มใหใ้ สพ่ อท่วมตวั สมุนไพรเท่านัน้ การเตรยี มสมนุ ไพรทจี่ ะตม้ ถ้าสมุนไพรทีน่ ำมาตม้ มีขนาดใหญใ่ ห้
หั่นหรือสบั ใหม้ ีขนาดเล็กลงแตอ่ ยา่ หัน่ หรอื สับสมุนไพรจนเล็กเป็นฝอยเพราะจะทำใหล้ ำบากเวลาจะ
แยกกากสมุนไพรออกจากน้ำสมุนไพรท่ีตม้ ได้ หากเปน็ สมนุ ไพรแห้งก่อนตม้ ให้แชน่ ำ้ ทง้ิ ไว้สัก 20-30
นาที แต่ถ้าเป็นสมุนไพรสดให้ตม้ ได้เลยไมต่ ้องแชน่ ำ้

ความแรงของไฟทใ่ี ชต้ ม้ ยาสมุนไพร ใหใ้ ช้ไฟปานกลางเม่ือต้มยาจนเดือดแลว้ ค่อยๆลดไฟลง
ใหเ้ ปน็ ไฟอ่อนและขณะตม้ ยาสมุนไพรต้องคอยคนยาทต่ี ้มตลอดเวลา ตม้ ยาสมุนไพรดว้ ยไฟอ่อนอีก

10-20 นาทีกใ็ ชไ้ ด้แลว้ การต้มยาสมนุ ไพรตามสตู รคนไทยที่ใชก้ นั มกั ต้มโดยใสน่ ้ำลงไป 3 ส่วนแลว้ ตม้
จนน้ำเหลือ 1 สว่ น(ต้ม 3 เอา 1) ยาสมนุ ไพรท่ไี ดจ้ ากการต้มใหก้ นิ วนั ละ 3 ครั้งและควรกินยา
สมุนไพรทตี่ ม้ ไดใ้ นวนั นั้นใหห้ มดแบบวันตอ่ วนั

6. บุคคล/หน่วยงานที่เข้ามารับความรู้จากภูมิปัญญา
นักเรยี น ประชาชนทว่ั ไปที่สนใจ

1. ชือ่ ภูมปิ ัญญา การสานส่มุ ไก่ (นายทองดี แหวนหลอ่ )
2. ทอี่ ยู่ : 57 หมู่ 11 บ้านหนองโงง้ ตำบลหวา้ นคำ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรสี ะเกษ
3. ประวัตคิ วามเป็นมา/สาระความรูท้ ่ีได้จากภูมิปัญญา :

หัตถกรรมเครื่องจักสานเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน ที่สำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตตั้งแต่
อดีตต้ังแตส่ มัยอยธุ ยาจนถึงปัจจุบนั หัตถกรรมเครือ่ งจักสานเปน็ ตวั อย่างหนึ่งท่ีแสดงให้เห็นภูมิปัญญา
อันเฉลียวฉลาดของคนในท้องถิ่น ที่ใช้ภูมิปัญญาสามารถนำสิ่งที่มีอยู่ในชุมชนมาประยุกต์ทำเป็น
เครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน ซ่ึงมีประโยชน์ในการดำรงชีวิต จะเห็นได้ว่าหัตถกรรมเครื่องจัก
สานมีมานานแล้วและได้มีการพัฒนามาตลอดเวลาโดยอาศัยการถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่
คนอีกรุ่นหนึ่ง การดำรงชีวิตประจำวันของชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่ได้เอาการรู้หนังสือมาเกี่ยวข้อง การ
เรียนรู้ต่างๆ อาศัยวิธีการฝึกหัดและบอกเล่าซึ่งไม่เป็นระบบในการบันทึก สะท้อนให้เห็นการเรียนรู้
ความรู้ที่สะสมที่สืบทอดกันมาจากอดีตมาถึงปัจจุบันหรือที่เรียกกันว่าภูมิปัญญาท้องถิ่น ดังน้ัน
กระบวนถ่ายทอดความรู้จึงมีความสำคญั อย่างย่ิงทท่ี ำภมู ิปัญญาท้องถน่ิ น้นั คงอยู่ต่อเน่ืองและยั่งยนื

การจักสานไม้ไผ่ เป็นงานหัตกรรมที่หล่อหลอมขึ้นจากจิตวิญญาณและภูมิปัญญาของบรรพ
บุรุษ การสานเป็นการนำเอาวัสดุที่เตรียมแล้วมาสานประดิษฐ์ให้เป็นรูปร่างและลวดลายต่างๆ และ
การถักเป็นกระบวนการประกอบทำให้เครื่องจักสานสมบูรณ์เสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง
ภายนอก วสั ดุทน่ี ำมาใช้สานไดแ้ ก่ ไม้ไผ่ หวาย กก ป่าน เป็นตน้

4. ลกั ษณะสำคญั ของภูมิปัญญา:
หตั ถกรรมเครื่องจักสาน ภมู ิปัญญาชาวบา้ นและประสบการณต์ า่ งๆ ทสี่ นบั สนุนสง่ เสรมิ ให้

ผเู้ รียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และเป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้

5. ข้นั ตอนการถา่ ยทอดความรูข้ องภูมิปัญญา:
การบอกเล่าและการสาธิต วัตถุดิบในการจักสาน ที่ใช้กันทั่วไปมีหลายอย่างได้แก่ ใบเตย

ลำเจียกหรือปาหนนั ผักตบชวา ย่านลิเพา กระจูด กก ใบตาล ใบลาน หวาย ไม้ไผ่ แต่ที่นิยมนำมาใช้
ทำงานจักสานมากที่สุดคอื ไมไ้ ผแ่ ละหวาย เนือ่ งจากคงทน ราคาไมแ่ พง วตั ถุดบิ หาได้ งา่ ยมีอย่ทู ่ัวไป
การเตรยี มไม้ไผ่

เลอื กลำต้นที่มคี วามตรง ลำปล้องยาว ผิวเรยี บเป็นมัน หลงั จากตัดออกมาจากกอ นำมาแช่
นำ้ ตลอดท้งั ลำเพ่อื ให้ไม้ไผ่มีความสดและป้องกันมด ปลวก มอด เจาะไช เม่ือจะนำมาใชง้ านจึงตัดเอา
ตามขนาดทีต่ ้องการมาผ่าออกแล้วนำไปจักเป็นตอกแลว้ ตากแดดให้แห้ง

1. วธิ ีการเตรียมไม้ไผ่ วัสดุ อุปกรณก์ ารสาน
2. ข้นั ตอนการสาน การถักไม้ไผ่เป็นผลิตภัณฑ์ได้
3. วธิ กี ารปอ้ งกนั และบำรงุ รกั ษาไม้ไผต่ ลอดจนผลิตภัณฑท์ ่ีสำเรจ็ แลว้
4. ศกึ ษาภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ และสบื ทอดต่อชนรุน่ หลงั ได้

6. บคุ คล/หนว่ ยงานทีเ่ ขา้ มารับความร้จู ากภูมปิ ัญญา:
- นกั เรยี น นกั ศกึ ษา
- หน่วยงานทอ้ งถน่ิ
- บุคคลทั่วไป

1. ช่อื ภูมปิ ัญญา การเป่าสะไน (นายจำเริญ กะตะศลิ า)
2. ที่อยู่ : 18 หมู่ 1 บ้านหว้าน ตำบลหวา้ นคำ อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ
3. ประวตั ิความเปน็ มา/สาระความรทู้ ี่ได้จากภมู ปิ ัญญา:

สันนิฐานว่าสะไนซึ่งเป็นดนตรีประเภทเป่าเปน็ เครื่องดนตรีเก่าแก่ของชนเผ่าเยอ มีมาพร้อม
การอพยพของผู้นำสองพี่น้องคือพระยาไกรกับพระบากตะศิลา เมื่อประมาณศรรตวรรษที่ 13 สมัย
นั้นพระยาไกรและพระยากตะศิลาได้พาบรวิ ารอพยพหนคี วามเดือนร้อนเข้ามาอาศยั ดินแดนประเทศ
ไทย โดยใช้เรอื ยาวเปน็ พาหนะล่องเรอื ตามลำน้ำโขงแลเลีย้ วขวาที่ปากน้ำมลู อำเภอโขงเจียม พาย
เรือทวนน้ำจนถึงปากน้ำห้วยสำราญแวะลงปรึกษากันเพื่อหาทำเลตั้งบ้านเมือง พระยาไกร ได้พา
พรรคพวกสร้างเมืองที่บริเวณด้านตะวันออกเฉียงใต้ของตัวเมืองศรีสะเกษได้แก่บ้านปราสาทเยอ
อำเภอไพรบงึ และเขตอำเภอเมอื งบางตำบล เชน่ ตำบลโพนคอ้ ตำบลทมุ่ สว่ นพระยากตะศิลาได้พา
บริวารขึ้นเรือพายทวนน้ำมูลไปตั้งเมืองที่เมืองคงโคก ปัจจุบันเป็นโบราณสถานไม่มีผู้อาศัยมีเพียง
พระสงฆ์มาบรู ณะฟน้ื ฟเู ป็นวดั คือวัดเมอื งคงในปัจจุบนั

เครื่องดนตรีสะไน สะไนสะไนเป็นเครื่องดนตรสี ะไนทำจากเขาสัตว์ ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงเพอ่ื
ทำการเกษตรและพาหนะที่มีอยู่ในชุมชน คือ วัวและควาย โดยมีความยาวประมาณ 25-30
เซนตเิ มตร เจาะรูใสล่ ้ินทีก่ ลางสว่ นโค้งดา้ นในตดิ ข้ียุดลนิ้ และลัดด้ายเลก็ ๆ กนั ล้นิ หลุดเขา้ คอเลาเปา่
ความเป็นมาของ สะไน ว่า สะไน เป็นภาษาเขมรแปลว่าเขาสัตว์ ถ้าเป็นเขาควาย เรียกว่า สะไน
กะไบ สะไน เป็นเครื่องคนตรีชนิดเป่าของชาวเยอที่ทำจากเขาสัตว์ โดยนิยมทำจากเขาควาย
เน่อื งจากเขาควายมรี ูลกึ ตัง้ แตโ่ คนเขาถึงปลายเขาทำให้เจาะรูทะลหุ ากนั ได้ง่าย ตามหลักความเชือ่ ของ
ชาวเยอที่อาศัยอยใู่ นพนื้ ทีอ่ ำเภอราษีไศล สะไนนั้นเป็นเคร่ืองดนตรที ีใชป้ ระกอบพิธีกรรมหรือกจิ กรรม
ที่สำคัญ เช่นพิธีกรรมบวงสรวงศาลพญากะตะศิลา เพื่อรำลึกถึง พญากะตะศิลาซึ่งเป็นผู้นำในการพา
กลุ่มชาวเยออพยพมาจากลาวตอนใต้มาตั้งถิ่นฐานที่บริเวณเมืองคงโคก ตำบลเมืองคง อำเภอราษี
ไศล จังหวัดศรีสะเกษ ในปัจจุบัน และการบวงสรวงพระภูมิเจ้าท่าหรือเทพเจ้าแห่งลุ่มน้ำมูลในการ
แข่งขันเรือ ด้วยการเป่าสะไนซึ่งเป็นการส่งสัญญาณเสียงในการออกเรือ และมีการประดิษฐ์ท่ารำ
ประกอบเรียกว่า การเซิ้งสะไน ไม่นิยมนำมาเป่าเล่นเพ่ือนผอ่ นคลายหรือความบนั เทงิ ใดๆ ชาวเยอ
โบราณมีคำสอนเกี่ยวกับการเป่าสะไนและฤดูกาลเป่าสะไนไว้ว่าถ้าจะเป่าสะไนให้เป่าตั้งแต่เดือน 8
(ปลายเดือนกรกฎาคมจะเข้าเดือนสิงหาคม) ถงึ เดือนอา้ ย(เดือนธันวาคมถึงมกราคม) นอกนั้นห้ามเป่า
จะทำให้ฝนตกและฟา้ ผา่ กลางวัน หรืออาจจะเกิดสิ่งที่ไม่ดีขนึ้ ในหมู่บ้าน ในอดีตชาวเยอเช่ือกันว่าการ
เป่าสะไนเป็นการบูชาสังข์ เพราะสะไนสืบเชื้อสายมาจากสังข์ โดยปกติสังคมไทยนับถือสังข์เป็นของ
ศักดส์ิ ิทธิ์ เช่นในพระราชพธิ ีทสี่ ำคัญจะมีการเป่าสังข์ก่อนเพ่ือเปน็ การบอกกล่าวสิ่งศักดิ์สิทธ์ิและเหล่า
เทวดาท้งั หลาย ถ้าเปน็ งานมงคลของประชาชนทว่ั ไปกจ็ ะมีการนำสังข์มาประกอบพธิ ี เช่นตั้งศาลพระ
ภูมิ การรดน้ำสังข์คู่แต่งงาน สะไนจึงเป็นเครื่องดนตรีชนิดเป่าที่ใช้แทนสังข์ เมื่อเป่าสะไนแล้ว เงือก
นาค ภูตผีปีศาลจะไม่มาทำร้าย และ ในขณะเดียวกันจะทำให้ผีเจ้าป่าเจ้าเขาช่วยดูแลคุ้มครองปกปกั
รกั ษา ใหม้ คี วามปลอดภัย อยู่ดกี ินดี นอกจากนัน้ ยงั มีการนำสะไนมาเป่าเพื่อบูชาพระแม่ธรณีและพระ

แม่คงคาในประเพณีการแข่งเรือ หรอื ในสมยั โบราณเมอ่ื มีการเดินทางไกลกจ็ ะมีการเปา่ สะไนก่อนออก
เดินทางเพื่อให้เกิดความโชคดี ปลอดภัย และได้รับความสำเร็จในการประกอบการต่างๆ โดยเฉพาะ
การเดินทางกลางป่าจะนำสะไนติดตวั ไปดว้ ย เชอื่ ว่าสัตว์ปา่ จะไม่มาทำร้าย หรอื แม้แต่การออกรบสมัย
โบราณ ชาวเยอจะเป่าสะไนเพื่อเป็นการเอาฤกษ์เอาชัย ในการเป่าสะไนนั้นเวลาเป่าจะดูดเข้ามีเสียง
ดังกงั วานมอี ำนาจ หน้าเกรงขาม

4. ลกั ษณะสำคัญของภมู ปิ ัญญา:
สะไน เป็นเครื่องดนตรีที่ใช้เสียงแทนความรู้สึกว่าดี ปลอดภัย อุดมสมบูรณ์ สร้างขวัญ

กำลงั ใจแก่มนุษย์ และยังเป็นสว่ นหนงึ่ ของการดำเนนิ วิถชี วี ิตของคนตั้งสมยั โบราณ ถึงปัจจุบัน เพราะ
สะไนนั้นเป็นเครื่องดนตรีชิ้นเล็กๆ แต่เสียงดังเกินตัวหน้าเกรงขาม ถือได้ว่าเป็น “ภูมิปัญญา” ของ
คนโบราณที่ไดค้ ดิ คน้ ขึ้นมาให้เป็นส่วนประกอบสว่ นหน่งึ ของการดำเนินชวี ติ ของคนจนถงึ ปัจจบุ ัน

5. ขัน้ ตอนการถ่ายทอดความรูข้ องภมู ิปัญญา:
วิธกี ารทำสะไน
จะต้องหาเขาควายให้ได้อย่างน้อย 5 เขาถึงจะทำได้ก่อนทำสะไนนั้นจะต้องทำพิธีบูชาครู

ก่อนแล้วจึงนำเขาควายที่หามาได้ทำการต้มรวมกับเครื่องชนะทั้ง 4 อย่าง ประกอบด้วยเกลือ ,ส้ม
(มะขาม มะนาว ฯลฯ), ตะไคร้, และถ่านไฟ ซึ่งจะแทนธาตุ 4 อย่าง คือ น้ำ ดิน ลม และไฟ นั้นเอง
จากนั้นนำมาต้มนานประมาณ 3 น้ำลด จนเขาสะอาจไม่มีกลิ่นแล้วจึงนำมาตากให้แห้งแล้วตกแต่ง
ตามขนาดความต้องการจึงประกอบเข้ากับลิ้นที่ทำจากไม้ไผ่แล้วทำการติดลิ้นด้วยถ่านไฟบดเข้ากับ
ยางต้นพยอมเข้าตรงกลางเขาพร้อมขัดเงา ทำความสะอาดให้สวยงาม สะไนจะไมม่ กี ารซื้อหรือขายถ้า
มคี นต้องการจะคิดเปน็ คา่ บูชาครอู ันละ 500 บาทจะให้มากกว่าน้หี รอื นอ้ ยกว่าน้กี ็ไมไ่ ด้

ปัจจุบันสะไนเป็นเครือ่ งดนตรีตามความเชื่อของชาวเยอว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์และเป็นมงคลใช้
ประกอบในพิธกี รรมต่างๆ และนอกจากนั้นแลว้ ประชาชนทั่วไปยังนิยมบชู าไว้เพื่อเป็นของฝากของที่
ระลกึ เพ่ือเปน็ มงคลแก่ผใู้ ห้และผู้รบั และทุกปี อำเภอราษไี ศลจะจัดให้มีการแขง่ ขนั เรือยาวประเพณีท่ี
ทำสืบต่อกันมาทุกปี โดยมีความเชื่อว่าหลังออกพรรษาจะต้องมีการบวงสรวงเทพเจ้าแห่งลุ่มน้ำมูล
บูชาพระแมค่ งคาพระแมธ่ รณี ศาลพระภูมิเจา้ ท่ี และบวงสรวงศาลพญากะตะศลิ า ดว้ ยการจดั ให้มีการ
แข่งขันเรือและทุกครั้งที่มีการเปิดทำการแข่งขันเรือจะส่งสัญญาณเสียงในการออกเรือด้วยการเป่า
“สะไน”

ความรเู้ กีย่ วกับสะไน
1. สะไนเป็นเครื่องดนตรีชนิดเป่า เวลาเปา่ จะดดู เขา้ ถอื กำเนดิ มาจากชาวเยอหรือเผ่าเยอซ่ึง
เป็น 1 ใน 4 เผ่า ของจังหวัดศรีสะเกษ ได้แก่ ส่วย เขมร และ ลาว ทำมาจากเขาสัตว์ นิยมทำจาก
เขาควายมากกว่าเขาสตั วช์ นดิ อ่ืนๆ เพราะเขาควายจะมีรูทะลตุ ั้งแต่โคนเขาถึงปลายเขา

2. การเป่าสะไนหรือการดูดสะไน จะใช้ในการประกอบพิธีกรรมหรือกิจกรรมที่สำคัญต่างๆ
เท่านนั้ เชน่ พิธบี วงสรวง การแขง่ เรือ จะไม่นิยมนำมาเปา่ เล่นเพอื่ ความบนั เทิง

3. สะไนเป็นเครื่องดนตรีที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นมงคลตามความเชื่อของชาวเยอ เมื่อเป่าแล้ว
สามารถขับไล่ภตู ผปี ศี าจและสิง่ ที่ไมด่ ีเพ่ือไม่ให้มาทำร้าย และยังใหผ้ ี เจา้ ป่าเจ้าเขามาดูแลคุ้มครองปก
ปักรักษาให้ปลอดภยั และอยดู่ ีกินดี และยังใชเ้ ปา่ เพอ่ื เป็นการเอาฤกษ์เอาชยั ก่อนออกเดินทาง

4. การเป่าสะไนจะให้ดีและเป็นมงคลแลว้ จะต้องเปา่ ให้ถกู ช่วงฤดูกาลคือระหวา่ งปลายเดือน
กรกฎาคม ไปจนถึงเดอื นมกราคม

5.วิธีการทำสะไนนั้นเนื่องจากสะไนเป็นเครื่องคนตรีที่ศักดิ์สิทธิ์จะต้องมีเคล็ดในการจัดทำ
กล่าวคอื จะทำแต่ละคร้งั จะตอ้ งหาเขาสตั ว์อย่างน้อย 5 อนั และจะตอ้ งมพี ิธบี ูชาครูเสยี ก่อนทุกคร้ังจึง
จะสามารถทำตามขัน้ ตอนได้

โอกาสท่ใี ช้แสดง สมยั โบราณสันนฐิ านวา่ เป็นสัญญาณเรียกคนให้ มารวมกนั เพ่ือทำงานที่
ต้องการออกแรงและเป็นสญั ญาณเตือนภัยปัจจุบนั
การเปา่ สะไนและเซ้งิ สะไน ซง่ึ สะไนเป็นเครอื่ งดนตรโี บราณท่ใี ชใ้ นการประกอบพธิ ีกรรมของคนเผา่
เยอ เป็นการสบื ทอดวฒั นธรรมจากรุ่นสู่ร่นุ นอกจากนีบ้ า้ นเชอื กยังเปน็ ตวั แทนของอำเภอราษีไศลไป
แสดงในงานเทศกาลสำคญั ของจงั หวัดศรสี ะเกษ เช่น งานเทศกาลดอกลำดวนบาน เทศกาลปใี หม่ส่ี
เผ่าไทย ใช่ในการแขง่ ขนั ใชใ้ นการบวงสรวงดวงวญิ ญาณพระยากตะศิลา ใช้ประกอบการแสดงรำ
สะไน

6. บุคคล/หนว่ ยงานท่เี ขา้ มารบั ความรจู้ ากภมู ปิ ัญญา:
บุคคลทั่วไป

1. ช่ือภูมิปัญญา ศลิ ปะพืน้ บ้าน (นายวงศ์เสถียร ชารผี ล)
2. ท่อี ยู่ 57 หมู่ 1 ตำบลไผ่ อำเภอราษไี ศล จังหวัดศรสี ะเกษ
3. ประวตั ิความเป็นมา/สาระทไ่ี ดจ้ ากภมู ิปญั ญา

ศลิ ปะพื้นบา้ น เป็นงานศลิ ปะท่มี คี วามงามความเรียบง่ายจากฝมี ือของชาวบา้ นทั่วๆ
ไปสรา้ งสรรค์ผลงานอันมคี ณุ ค่าทางด้านความงาม และประโยชนใ์ ช้สอยตามสภาพของท้องถิ่น มี
อยู่มากมายหลายแขนง การประดษิ ฐส์ รา้ งสรรค์เป็นไปตามเทคนิคและรปู แบบที่ถ่ายทอดกนั ใน
ครอบครวั โดยตรงจากพ่อ แม่ ปู่ ยา่ ตา ยาย โดยจดุ ประสงค์หลกั คือทำขน้ึ เพื่อใช้สอยใน
ชีวิตประจำวัน มีการถ่ายทอดและมีอิทธิพลแกก่ นั และกัน เช่นเดียวกบั คติพื้นบา้ นแล้วปรับปรงุ ให้
เข้ากับสภาพของท้องถ่นิ จนกลายเปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะของตนเอง เชน่ การรอ้ งรำทำเพลง การ
วาดเขียน การถักทอ เปน็ ตน้
4. ลักษณะสำคญั ของภูมิปัญญา

- การวาดภาพ การเขียนปา้ ย การสร้างสรรค์งานประดิษฐ์
5. ขนั้ ตอนการถ่ายทอดความรู้ของภูมิปญั ญา

- การเรียนร้ขู ้นั ตอนการเตรียมเครอื่ งมือ
- การเรยี นรู้การวาดลายเส้น
- เรยี นรู้การลงสี
- เรยี นรกู้ ารสรา้ งความคิดสร้างสรรค์
6. บุคคล/หนว่ ยงานทเ่ี ขา้ มารับความรูจ้ ากภูมิปญั ญา
- นักเรยี น ประชาชนทั่วไปท่ีสนใจ

1. ช่อื ภูมปิ ัญญา หมอแคน (นายสมัย รตั นะวัน)

2. ท่ีอยู่ 68 หมู่ 10 ตำบลไผ่ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ

3. ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระทไี่ ด้จากภมู ปิ ญั ญา

แคน เป็นชื่อเครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคอีสานที่เก่าแก่มีมาแต่โบราณ แคนเป็น เครื่องดนตรีท่ี

ใชป้ ากเปา่ ให้เป็นเพลง ใครเป็นผูค้ ิดประดษิ ฐ์เครอ่ื งดนตรที ่เี รยี กว่า "แคน" เปน็ คนแรก และทำไม

จึงเรียกว่า "แคน" นั้น ยังไม่มีหลักฐานที่แน่นอนยืนยันได้ แต่ก็มีประวัติที่เล่า เป็นนิยายปรัมปรา

สืบต่อกันมาบางท่านก็สันนิษฐานว่า คำว่า "แคน" คงจะเรียกตามเสียงเครื่องดนตรีที่ดังออกมา

ว่า "แคนแล่นแคน แล่นแคน แล่นแคน" ซึ่งเป็นเสียงที่ดังออกมาจากการเป่าเครื่องดนตรีชนิดนี้

แต่ บางคนก็มีความเห็นว่า คำว่า "แคน" คงเรียกตามไม้ที่ใช้ทำเต้าแคน กล่าวคือ ไม้ที่นำมาเจาะ

ใช้ ทำเต้าแคนรวมเสียงจากไม้ไผน่ อ้ ยหลาย ๆ ลำนั้น เขานิยมใช้ไม้ตะเคียน ซึ่งภาษาท้องถิ่นทาง

ภาค อีสานเรียกว่า "ไม้แคน" แต่บางท่านก็ให้ความเห็นที่แตกต่างกันออกไปแต่มีสิ่งหนึ่งที่น่าคิด

อยู่บ้างคือ "แคน" นี้น่าจะทำขึ้นโดยผู้หญิง ซ้ำยังเป็น "หญิงหม้าย" เสียด้วย ด้วยเหตุผลที่ว่า

ส่วนประกอบที่ใช้ทำแคนอันสำคัญคือส่วนที่ใช้ปากเป่า ยังเรียกว่า "เต้า แคน" และมีลักษณะ

รูปร่างเป็นกระเปาะคล้าย "เต้านม" ของสตรีอีกด้วย ทั้งการเป่าแคนก็ใช้วิธี เป่าและดูด จน

สามารถทำใหเ้ กิดเสียงอันไพเราะ นอกจากนีย้ ังมีเหตุผลสนับสนุนอีกข้อคือ คำท่เี ป็นลักษณะนาม

เรียกชอื่ และจำนวนของแคนกใ็ ช้คำว่า "เต้า" แทนคำวา่ อัน หรือ ชนิ้ ฯลฯ ดงั น้ี เป็นต้น ที่สำคัญ

คือ เสียงของแคนเป็นเสียงที่ไพเราะอ่อนหวาน ซาบซึ้งเหมือนเสียงนกการเวก ตาม นิทานเรื่อง

ดังกล่าว เหมือนเสียงของหญิงหม้ายที่ว้าเหว่เดียวดาย ดังนั้นถ้าจะกล่าวว่า "หญิงหม้าย" เป็นผู้

ประดิษฐ์คิดทำแคนข้นึ เปน็ คนแรก จงึ เปน็ เหตุผลทีน่ ่ารบั ฟังได้มากพอสมควรทีเดยี ว

4. ลักษณะสำคัญของภูมิปัญญา
ลักษณะของแคนมีสองชนดิ คือ แคนน้อย (ยาวศอก คืบ ยาวสองศอก ยาวสองศอก

คืบ) และแคนใหญ่ (ยาวสามศอก ยาวสามศอกคบื ส่ีศอก ส่ีศอกคืบ) ท่ีเคยใชใ้ นปจั จุบัน แต่ท่ี
เคยมี ยาวถงึ หกศอก แคนสองขนาดนแี้ บง่ เป็นสองอยา่ ง คือ แคนเจด็ และแคนแปด แคนเจด็
นั้นมลี กู เจด็ คู่ ส่วนแคนแปดนั้นมีลูกแปดคู่ สว่ นแคนของเผ่าลาวลุม่ นน้ั มีหกคู่ และแคนของ
เผา่ ลาวสงู มแี คส่ ามคู่เทา่ น้ัน และใชท้ อ่ ต่อเตา้ สำหรบั การเป่าตามธรรมดา

5. ขัน้ ตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมิปัญญา
"แคน" ทำดว้ ยไม้อ้อ หรือไมเ้ ห้ียน้อย แต่เด๋ียวนีไ้ มอ้ ้อหาได้ยาก เขาจงึ ทำแคนดว้ ย

ไม้เหีย้ น้อย และจะต้องหาใหไ้ ดข้ นาดเท่าน้ิวมือจึงจะใช้ได้ นอกจากไม้เหยี้ นอ้ ย ซ่งึ ทำเป็นลูก
แคนยาวลดหลั่นกนั ตามลำดับ 7 คู่ หรอื 8 คู่ ประกอบเข้ากันกับเต้า ตดิ สดู (ขี้สูด) ขา้ งบน
และขา้ งลา่ งเตา้ เพื่อไม่ใหล้ มเป่าเขา้ สูบออกรว่ั แลว้ ยังมีลิ้นแคน รแู พว และรนู บั เสยี งเป็นสง่ิ
สำคญั ด้วย ขา้ งในของแต่ละลำไมล้ ูกแคนประกอบด้วยล้ินแคนหนง่ึ อันที่มีหนง่ึ เสยี ง และ
จะตอ้ งเจาะรูแพวใหถ้ ูกตามเสียงเสมอ วธิ เี ปา่ แคนลาวลมุ่ ก็เหมือนกบั การเปา่ แคนลาวเทิง
หรือ ลาวสงู คือจะต้องใช้อุ้งมือท้ังสองข้าง อุม้ เต้าแคนไว้แล้ว เป่าหรอื ดูดสูบลมที่รูเต้า สว่ น
นว้ิ มือกน็ ับไล่ตามเสียงไปด้วย
6. บุคคล/หน่วยงานท่ีเขา้ มารับความรู้จากภมู ิปญั ญา
- นักเรยี น ประชาชนทั่วไปท่สี นใจ

ภาพประกอบ

นายสมัย รตั นะวัน

1. ช่ือภมู ปิ ัญญา หมอยาต้มสมนุ ไพร (นายหอม พนั ระหา)

2. ท่ีอยู่ 41 หมู่ 10 ตำบลไผ่ อำเภอราษไี ศล จงั หวัดศรสี ะเกษ

3. ประวัตคิ วามเป็นมา/สาระทีไ่ ด้จากภูมปิ ัญญา

หมอยา คือ ผู้เชี่ยวชาญดา้ นการรักษาโรค สมัยรุ่นคุณตายังหนุ่ม คุณย่ายังสาว การแพทย์ยงั

ไม่เจริญก้าวหน้าเท่าปัจจุบันนี้ หากย้อนไปมองในยุคนั้นก็จะพบว่า แต่ละชุมชนมักจะมีผู้ที่มีความรู้

เรื่องวิธีรักษาโรค รู้เรื่องยาดีที่สุด หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “หมอยา“ประจำอยู่ เมื่อเกิดอาการเจบ็

ไข้ได้ป่วยก็จะได้หมอยานี่แหละที่บรรเทาเบาบางอาหารเจ็บไข้ให้ แต่ถึงเดี๋ยวนี้สภาพสังคมเปลี่ยนไป

วิถีชีวิตของผู้คนก็เปลี่ยนไปความเชื่อในการพึ่งหมอยาซึ่งรักษาด้วยวิธีตามแบบพื้นบ้านที่ได้รับมรดก

ตกทอดมาจากบรรพบุรุษเริ่มจางหายไป แต่กลับหันไปใช้วิธีที่รักษาได้รวดเร็วกว่านั้น ยาสมุนไพร

เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติปราชญ์ชาวบ้านหรือหมอยาที่มีความรู้ก็จะนำมาสกัดหรือนำมาผ่าน

กรรมวิธตี ่างๆทนี่ ำตวั ยาออกมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการรกั ษาโรค

4. ลกั ษณะสำคัญของภูมปิ ัญญา

วิธีแปรรูปสมนุ ไพรเป็นการนำเอาสรรพคณุ ของสมุนไพรมาใชง้ าน ซ่ึงมอี ยหู่ ลายวิธีด้วยกนั พืช

สมุนไพรแต่ละชนิดก็มีวิธีแปรรูปที่แตกต่างกันไป วิธีแปรรูปสมุนไพรที่พบเห็นได้บ่อยและนิยมใช้กัน

มากได้แก่ การต้ม วิธีการต้มยาสมุนไพรเป็นหนึ่งในวิธีแปรรูปสมุนไพรที่สามารถสกัดตัวยาที่อยู่ใน

สมุนไพรให้ออกมาได้ดีกว่าวิธอี ืน่ ๆเพราะต้องใช้ความร้อนมากและเวลาการต้มที่นานกว่า โดยมนี ้ำเป็น

ตัวละลายยาที่อยใู่ นตน้ พชื สมุนไพร การตม้ ยาสมุนไพรไมจ่ ำกดั ว่าจะเป็นสมนุ ไพรแห้งหรือสมุนไพรสด

โดยมากจะเป็นพชื สมุนไพรจำพวกเปลือกไม้ รากไม้ เมลด็ หรอื ผลของพืชสมุนไพร การต้มยาสมุนไพร

มีข้อดีคือ ทำง่ายและสะดวก สามารถสกัดเอาตัวยาออกมาจากพืชสมุนไพรได้มากแต่ก็มีข้อเสียคือยา

สมนุ ไพรท่ีไดจ้ ากการต้มมักจะมรี สขม ฝาด กลน่ิ และรสชาตไิ ม่นา่ ดื่มและยาสมนุ ไพรที่ได้จากการต้มไม่

ควรเก็บไวข้ ้ามคืนเพราะอาจจะข้ึนราและเสียได้ง่าย ควรดื่มยาสมนุ ไพรทีไ่ ด้จากการต้มให้หมดภายใน

วนั นัน้ (ต้มกินวนั ต่อวนั )

5. ขั้นตอนการถ่ายทอดความรู้ของภูมปิ ัญญา
วิธีการต้มยาสมุนไพร ความสะอาดต้องมาเป็นอันดับหนึ่ง น้ำและภาชนะที่ใช้ในการต้มยา

สมุนไพรต้องสะอาดและบริสุทธิ์ ภาชนะที่ใช้ควรเป็นภาชนะที่ทำด้วยดินเผา ไม่ควรใช้ภาชนะที่เป็น
โลหะเพราะสมุนไพรอาจทำปฏิกิริยากับโลหะทำใหม้ ีผลต่อสรรพคุณของยาสมุนไพร ส่วนปริมาณท่ีใช้
ต้มใหใ้ ส่พอทว่ มตัวสมนุ ไพรเทา่ น้ัน การเตรียมสมุนไพรทีจ่ ะตม้ ถา้ สมุนไพรท่นี ำมาต้มมีขนาดใหญ่ให้
หั่นหรือสับให้มีขนาดเล็กลงแต่อย่าหั่นหรือสับสมุนไพรจนเล็กเป็นฝอยเพราะจะทำให้ลำบากเวลาจะ

แยกกากสมุนไพรออกจากน้ำสมุนไพรที่ต้มได้ หากเป็นสมุนไพรแห้งก่อนต้มให้แช่น้ำทิ้งไว้สัก 20-30
นาที แต่ถา้ เป็นสมุนไพรสดให้ต้มได้เลยไม่ตอ้ งแช่นำ้
ความแรงของไฟทใี่ ช้ตม้ ยาสมุนไพร ใหใ้ ช้ไฟปานกลางเม่ือต้มยาจนเดอื ดแล้ว คอ่ ยๆลดไฟลงใหเ้ ป็นไฟ
ออ่ นและขณะต้มยาสมนุ ไพรต้องคอยคนยาทต่ี ้มตลอดเวลา ตม้ ยาสมนุ ไพรดว้ ยไฟอ่อนอีก 10-20 นาที
กใ็ ชไ้ ดแ้ ลว้ การต้มยาสมนุ ไพรตามสูตรคนไทยท่ใี ช้กัน มกั ต้มโดยใส่นำ้ ลงไป 3 สว่ นแลว้ ตม้ จนนำ้ เหลือ
1 ส่วน(ต้ม 3 เอา 1) ยาสมุนไพรทไี่ ดจ้ ากการตม้ ให้กนิ วนั ละ 3 ครั้งและควรกนิ ยาสมนุ ไพรท่ตี ม้ ได้ใน
วนั นัน้ ใหห้ มดแบบวนั ตอ่ วัน
6. บคุ คล/หน่วยงานท่ีเขา้ มารับความร้จู ากภูมปิ ัญญา

- นกั เรียน ประชาชนทัว่ ไปทีส่ นใจ

ภาพประกอบ

1. ชอื่ ภูมปิ ัญญา หมอนวดแผนโบราณ (นายสุบนิ แวน่ แก้ว)
2. ที่อยู่ 176 หมู่ 5 ตำบลไผ่ อำเภอราษไี ศล จังหวัดศรีสะเกษ
3. ประวัติความเป็นมา/สาระทไี่ ด้จากภูมปิ ัญญา

"การนวดแผนโบราณ" เป็นภมู ิปญั ญาอนั ล้ำคา่ ของคนไทยทม่ี ปี ระวตั แิ ละเร่อื งราวสืบทอด
กันมาชา้ นาน มบี ทบาทสำคัญในการรกั ษาโรค ตัง้ แต่อดตี จนถงึ ปัจจบุ นั เป็นวฒั นธรรมและวิถชี ีวิตของ
คนไทยทดี่ ูแลและช่วยเหลอื กันเองภายในครอบครัว เช่น สามีนวดให้ภรรยา ภรรยานวดให้
สามี ลูกหลานนวดใหพ้ ่อแม่ หรอื ปู่ ย่า ตา ยาย "การนวดแผนโบราณ" หมายถงึ การตรวจ การ
วินจิ ฉัยและการบำบัดโรคดว้ ยการกด คลึง บีบ ทุบ สับ ประคบ หรอื วธิ กี ารนวดอนื่ ใดตามแบบแผน
ของการประกอบโรคศิลปะ "การนวดแผนโบราณ" ไมใ่ ชเ่ พื่อรักษาความเจบ็ ปวดเท่านัน้ แต่มีคุณค่า
ต่อสุขภาพเป็นกระบวนการดูแลสุขภาพและรักษาโรค โดยอาศัยการสมั ผัสอย่างมีศิลปะ มีหลักการ
ระหว่างผู้ให้บริการและรบั บริการ การนวดจะส่งผลโดยตรงตอ่ ร่างกายและจิตใจ "การนวดแผน
โบราณ" จงึ เป็นเสนห่ ์ไทยพ้นื บา้ นทีไ่ ดร้ ับการยอมรบั จากชาวไทยและชาวตา่ งชาติ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่
ในปจั จบุ นั กระแสสงั คมหนั มาใหค้ วามสำคัญกับการสง่ เสรมิ สุขภาพและบำบดั อาการดว้ ยวิธกี ารทาง
ธรรมชาตมิ ากขึ้น "การนวดแผนโบราณ" เปน็ อีกทางเลือกหนึ่งซงึ่ เป็นทีย่ อมรับแลว้ ว่าสามารถผอ่ น
คลายบรรเทาอาการเจบ็ ป่วยไดห้ ลายกลมุ่ อาการโรค

ลักษณะสำคญั ของภูมิปญั ญา
มลี กั ษณะ 2 แบบ คือ
1. นวดแบบราชสำนกั คอื หมอนวดจะใช้เฉพาะมือ นิ้วหวั แมม่ ือ และปลายนวิ้ อ่ืน ๆ ในการนวด
เท่านัน้ และไม่ใช้การนวดคลึงในขณะกด (นวด) ไม่ใช้การดดั หรอื การงอข้อ หลงั หรือส่วนต่าง ๆ
ของรา่ งกายดว้ ยกำลังแรง และกริยาการนวดจะดเู รียบร้อยกว่าการนวดแบบเชลยศกั ดิ์
2. นวดแบบเชลยศักด์ิ คือ หมอนวดจะใช้ฝ่ามือ น้ิวมอื ศอก หรือเข่า ในการนวด และจะใกลช้ ดิ
กบั ผู้ถกู นวดมากกวา่ มีการยดื ดดั

1. ขนั้ ตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมิปญั ญา
ลกั ษณะการนวด
1. การนวดยืด ดดั ลักษณะการนวดแบบนคี้ ือ การยืด ดัดกล้ามเน้ือ เสน้ เอน็ พังผืด ให้ยืดคลาย
2. การนวดแบบจับเส้น ลกั ษณะการนวดคือ การใชน้ ้ำหนักกดลงตลอดลำเส้นไปตามอวัยวะตา่ ง
ๆ การนวดชนดิ น้ตี อ้ งอาศัยความเชื่ยวชาญของผู้นวด ซ่ึงได้ทำการนวดมานานและ สงั เกตปฏิกิรยิ า

ของแรงกดทีแ่ ลน่ ไปตามอวยั วะตา่ ง ๆ
3. การนวดแบบกดจุด ลักษณะ การนวดคือ การใชน้ ำ้ หนักกดลงไปบนจดุ ของร่างกาย การนวดน้เี กดิ
จากประสบการณ์ และความเชอื่ วา่ อวัยวะของร่างกายมแี นวสะทอ้ นอยูบ่ นสว่ นต่าง ๆ และเรา
สามารถกระตุ้นการทำงานของอวยั วะนน้ั โดยการกระตนุ้ จดุ สะท้อนทอี่ ยู่ บนส่วนต่าง ๆ บนรา่ งกาย

2. บุคคล/หน่วยงานทเ่ี ขา้ มารบั ความร้จู ากภูมปิ ญั ญา
- นกั เรียน ประชาชนทัว่ ไปท่สี นใจ

ภาพประกอบ

1. ช่อื ภูมิปัญญา จกั สาน (นายบุญมา บญุ คุ้ม)
2. ที่อยู่ 112 หมู่ 5 ตำบลไผ่ อำเภอราษไี ศล จงั หวัดศรีสะเกษ
3. ประวตั ิความเป็นมา/สาระท่ีได้จากภมู ิปัญญา

หตั ถกรรมเครือ่ งจักสานเป็นภูมิปญั ญาท้องถิ่นของชมุ ชนทส่ี ำคญั ย่งิ ต่อการดำรงชีวติ ตงั้ แต่
อดตี ต้งั แต่
สมยั อยธุ ยาจนถงึ ปัจจบุ นั หตั ถกรรมเครอ่ื งจักสานเปน็ ตวั อย่างหน่ึงท่ีแสดงให้เห็นภมู ิปัญญาอัน
เฉลียวฉลาดของคนในท้องถิ่น ที่ใช้ภูมิปัญญาสามารถนำสิ่งที่มีอยู่ในชุมช นมาประยุกต์ทำเป็น
เครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีประโยชน์ในการดำรงชีวิต จะเห็นได้ว่าหัตถกรรมเครื่องจัก
สานมีมานานแล้วและได้มีการพัฒนามาตลอดเวลาโดยอาศัยการถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่
คนอีกรุ่นหนึ่ง การดำรงชีวิตประจำวันของชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่ได้เอาการรู้หนังสือมาเกี่ยวข้อง การ
เรียนร้ตู า่ งๆ อาศยั วิธกี ารฝกึ หัดและบอกเล่าซ่ึงไม่เป็นระบบในการบนั ทึก (ชเู กยี รต์ิ ลีสุวรรณ, 2535)
สะท้อนให้เห็นการเรียนรู้ ความรู้ที่สะสมที่สืบทอดกันมาจากอดีตมาถึงปัจจุบันหรือที่เรียกกันว่าภูมิ
ปัญญาท้องถ่ิน ดงั นนั้ กระบวนถ่ายทอดความรู้จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งท่ีทำภูมปิ ัญญาท้องถ่ินน้ันคงอยู่
ต่อเนอื่ งและยั่งยืน

4. ลักษณะสำคญั ของภูมิปัญญา
การทำเครอื่ งจักสานทเ่ี ป็นไม้ไผ่และหวาย กก ใบลาน ใบมะพรา้ ว เรม่ิ ต้นจากการเตรียมตอก

คือการเตรียมไม้ไผ่ หวาย นำวัสดุที่จะใช้ในสานให้เป็นซี่ตามความตอ้ งการที่จะใช้แล้วจงึ สาน ถัก ทอ
ตามลวดลายและรปู ทรงท่จี ะทำ เคร่อื งจกั สานท่ีดจี ะไม่มีโลหะเป็นสว่ นประกอบปนอยู่ หากแต่ใช้วัสดุ
พวกเดียวกัน เชน่ หวาย เชอื ก และเดือยไมไ้ ผเ่ ปน็ เครื่องผกู ยดึ และเป็นโครงสร้าง
5. ขัน้ ตอนการถา่ ยทอดความรูข้ องภมู ิปัญญา

วตั ถุดบิ ในการจกั สาน ท่ีใชก้ ันทว่ั ไปมหี ลายอย่างไดแ้ ก่ ใบเตย ลำเจียกหรอื ปาหนนั ผักตบชวา
ย่านลิเพา กระจูด กก ใบตาล ใบลาน หวาย ไม้ไผ่ แต่ที่นิยมนำมาใช้ทำงานจักสานมากที่สุดคือไม้ไผ่
และหวาย เนื่องจากคงทน ราคาไม่แพง วัตถุดิบหาได้ ง่ายมีอยู่ทั่วไป การเตรียมไม้ไผ่ เลือกลำต้นที่มี
ความตรง ลำปล้องยาว ผิวเรียบเป็นมัน หลังจากตัดออกมาจากกอ นำมาแช่น้ำตลอดท้ัง ลำเพื่อให้ไม้
ไผ่มีความสดและป้องกันมด ปลวก มอด เจาะไช เมื่อจะนำมาใช้งานจึงตัดเอาตามขนาดที่ต้องการมา
ผา่ ออกแลว้ นำไปจักเป็นตอกแลว้ ตากแดดใหแ้ ห้ง

6. บุคคล/หน่วยงานทเี่ ข้ามารับความรจู้ ากภมู ิปัญญา
ประชาชนทัว่ ไปที่สนใจ

1. ชือ่ ภูมิปัญญา หมอเปา่ (นายบวั ผัน รตั นะวนั )
2 .ท่ีอยู่ 29 หมู่ 5 ตำบลไผ่ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรสี ะเกษ
3. ประวัตคิ วามเป็นมา/สาระท่ีได้จากภมู ิปญั ญา

หมอเป่าเป็นหมอที่ชาวบ้านมีความเชื่อเวลาเจ็บป่วยที่มีอาการเป้นแผลหรือเป็นโรคผิวหนัง
อักเสบท่ีเป็นหนองเร้ือรังในสมยั ท่ยี ังไม่มยี ารักษาโรคก็มักจะไปหาหมอเป่าในหมู่บา้ นเพื่อรักษาอาการ
ทเี่ ปน็ อยู่ใหห้ ายแตป่ จั จุบนั ก็ยงั มชี าวบา้ นทีเ่ วลาเจ็บตา ขอ้ เท้าเคล็ดหรอื กระดูกหักก็จะให้หมอเป่าเพื่อ
รักษาอาการแต่ก็ทำให้อาการที่เป็นอยู่หายได้เวลาหายแล้วก็จะดอกไม้ไปขอขมาคาราวะดำหัวหมอ
เป่าแต่ปจั จุบนั ชาวบา้ นบางคนก็ยงั นิยมทจ่ี ะไปหาหมอเปา่ ในหมูบ่ ้านตามความเชอ่ื และความนับถอื ต่อ
4. ลกั ษณะสำคญั ของภูมิปัญญา

หมอเป่า สามารถเป่าอาการของเดก็ เล็กที่เป็นตาลขโมย เด็กร้องไห้ไม่หยดุ ก็สามารถเป่าชว่ ย
ให้หยุดร้องได้ การเป่า เป็นวิธีการรักษาของหมอพื้นบ้าน รักษาอาการเจ็บป่วยโดยใช้เวทมนตร์คาถา
เป่าไปตามร่างกายผู้ป่วย บางครั้งอาจจะใช้สมุนไพรในการรักษาด้วย หมอเป่าเปรียบเสมือนแพทย์ที่
พอจะรักษาอาการเจ็บไข้ได้ป่วยให้ผู้ป่วยได้ การคิดค่ารักษาอาจเป็นค่าตอบแทนเล็กน้อยเพื่อเป็น
สินน้ำใจ หรือถ้าผู้ป่วยไม่มีเงินอาจรักษาให้ฟรี และเมื่อผู้ป่วยหายจากการเจ็บป่วยก็จะจัดเตรียมของ
กนิ ของใชห้ รอื เงนิ เพ่อื นำไปตอบแทนทา่ นทไี่ ด้รักษาใหจ้ นหายจากการเจบ็ ปว่ ย

5. ข้ันตอนการถา่ ยทอดความรู้ของภูมิปัญญา
หมอเปา่ มวี ิธีการเป่าหลายรูปแบบ เชน่ การเค้ยี วหมาก บรกิ รรมคาถาเวทย์มนตร์ แล้วเปา่

สามครัง้ แล้วแตโ่ รคที่เปน็
6. บุคคล/หน่วยงานท่เี ขา้ มารบั ความรู้จากภูมิปญั ญา

ประชาชนทว่ั ไปทส่ี นใจ

1. ชอื่ ภูมปิ ัญญา การสูข่ วญั หรือ การสตู รขวน (นายสมร อรรคบุตร)

2. ทอ่ี ยู่ 39 หมู่ 5 ตำบลไผ่ อำเภอราษไี ศล จงั หวดั ศรสี ะเกษ

3. ประวัติความเป็นมา/สาระทไ่ี ด้จากภมู ิปญั ญา

คนเผ่าไทย-ลาว อาศัยอยู่บริเวณลุ่มน้ำโขงและสาขาต่างๆ ของแม่น้ำโขง ตั้งแต่แคว้นสิบสอง

ปันนาในมณฑลยูนนานของประเทศจีน ลงมาจนถึงลุ่มน้ำโขงตอนล่างในภาคอีสานของประเทศไทย

และภาคใต้ของประเทศลาว คนเหล่านี้มีวัฒนธรรมและอารยธรรมที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรอื งมาช้า

นาน ภาคอีสานและชาวไทยอีสานเป็นส่วนหนึ่งของผู้สืบทอดวัฒนธรรมและอารยธรรมดังกล่าว

กาลเวลาได้ล่วงพ้นมาจนถึงปัจจุบัน สภาพเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง การปกครองของคนเผ่า

ไทย-ลาวได้เปลี่ยนแปลงไป โดยมีแนวคิด วิทยาการ และภูมิปัญญาจากดินแดนอื่นเข้ามาผสมปนเป

ดังนั้น วัฒนธรรมและอารยธรรมของคนเผ่าไทย-ลาวเอง ก็ไม่ได้รับการยกเว้น ชีวิตที่แห้งแล้ง หดหู่

ห่อเหี่ยว หวั่นหวิวไปด้วยความวิตกกังวลและหมดหวังตลอดเวลา เรียกว่า ชีวิตที่ไม่มีชีวา ความเต็ม

เปี่ยมด้วยความพอใจรอบด้านน่าจะเรียกได้ว่านี่คือ "ชีวา" ศูนย์แห่งความสมดุลของชีวานี้จะเรียกได้

ว่า "ขวัญ" การเสียขวัญย่อมจะส่งผลให้คนทำอะไรไม่ได้ ดีไม่ดีถึงกับเจ็บป่วยและอาจถึงตายก็ได้

ดังนั้นการสู่ขวัญจึงเป็นวิธีกรรมหนึ่งที่เรียกชีวากลับมาสู่ชีวิต ถ้าชีวิตมีชีวาก็จะสามารถทำอะไรได้

อย่างมีประสิทธิภาพเป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่งซึ่งปราชญ์โบราณอีสานได้คิดขึ้น เป็นการสร้างขวัญและ

กำลังใจแก่คน และเสริมศิริแก่บ้านเรือน ล้อเลื่อน เกวียน วัว รถ เป็นต้น เป็นการรวมสิริแห่งโภค

ทรัพย์ ดังคำที่ท่านพระศิริมังคลมหาเถระกล่าวไว้ว่า "สิริโภคานมาสโย" แปลว่า สิริเป็นที่มารวมแห่ง

โภคสมบัติ

4. ลักษณะสำคญั ของภูมิปัญญา
การสู่ขวญั นไี้ ม่นิยมทำเฉพาะในวันจมและวนั เดอื นดบั (ข้างแรม) นอกนัน้ ไมห่ า้ ม การสู่ขวญั

มกั ทำในเวลากลางวนั แตต่ อนเย็นหรือกลางคืนก็เห็นมีการทำอยู่ จงึ ไมส่ ำคัญเรือ่ ง กลางวันกลางคนื
แต่ใหเ้ ร่มิ เวลาเปน็ มงคลเท่านั้นก็พอ เวลาเปน็ มงคลน้นั ใหด้ ูในหมวดวา่ ด้วย ฤกษ์งามยามดี แล้วใหถ้ อื
ปฏบิ ตั ิตามน้ันอย่างเคร่งครัด

5. ขัน้ ตอนการถ่ายทอดความรขู้ องภูมปิ ัญญา
ก่อนทจ่ี ะทำการสขู่ วญั นนั้ ให้ดำเนินการตามขัน้ ตอนดังน้ี
เชญิ ผู้รบั การส่ขู วญั จดุ ธปู เทียน
กราบพระ ขอโอกาสกอ่ นค่อยสูตร (ถ้าพระอยู่ท่นี น้ั )
ขึงด้ายมงคลระหวา่ งพาขวัญกับผรู้ บั การสู่ขวัญและญาติ ถา้ ไมม่ ีกไ็ มต่ อ้ งใช้ ให้จับพาขวัญ และ
จับเส้อื หรืออะไรตอ่ ๆ กันไป โดยใหเ้ รม่ิ จบั ตอนสูตรขวัญ ตอนอื่นนอกนนั้ ใหน้ ง่ั ประณม มือ การ
จับพาขวัญใหเ้ อามือขวาจับ
อญั เชญิ เทวดาหรือชมุ นมุ เทวดา ดว้ ย คาถา

เรม่ิ สตู รขวัญ บอกให้ลูกหลานทุกคนนั่งประณมมือไวก้ ่อน จนถึงคำวา่ ศรี ศร.ี .. จงึ ใหจ้ ับ พาขวัญ
วดิ ฟาย (พรมนำ้ มนต์โดยพอ่ พราหมณ)์
6. บคุ คล/หน่วยงานท่ีเขา้ มารับความร้จู ากภมู ปิ ญั ญา

ประชาชนทั่วไปท่สี นใจ

นายสมร อรรคบตุ ร

1. ชอ่ื ภูมิปญั ญา หมอลำ (นางคำจร อรรคบุตร)
2. ที่อยู่ 39 หมู่ 5 ตำบลไผ่ อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรีสะเกษ
3. ประวัติความเป็นมา/สาระท่ไี ดจ้ ากภมู ปิ ญั ญา

ความเจริญก้าวหน้าของหมอลำก็คงเหมือนกับความเจริญก้าวหน้าของสิ่งอื่นๆ เริ่มแรก คง
เกดิ จากผู้เฒา่ ผ้แู กเ่ ล่านทิ าน นิทานทน่ี ำมาเล่าเกี่ยวกับจารีตประเพณแี ละศีลธรรม โดยเรยี ก ลูกหลาน
ให้มาชมุ นุมกนั ทแี รกนั่งเล่า เมื่อลกู หลานมาฟงั กันมากจะน่ังเล่าไม่เหมาะ ต้องยืนข้ึนเลา่ เร่ืองที่นำมา
เล่าต้องเป็นเรื่องที่มีในวรรณคดี เช่น เรื่องกาฬเกษ สินชัย เป็นต้น ผู้เล่าเพียงแต่เล่า ไม่ออกท่าออก
ทางก็ไม่สนุก ผู้เล่าจึงจำเป็นต้องยกไม้ยกมือแสดงท่าทางเป็น พระเอก นางเอก เป็นนักรบ เป็นต้น
เพียงแต่เล่าอย่างเดียวไม่สนุก จึงจำเป็นต้องใช้สำเนียงสั้นยาว ใช้เสียงสูงต่ำ ประกอบ และหาเครื่อง
ดนตรปี ระกอบ เช่น ซุง ซอ ปี่ แคน เพือ่ ใหเ้ กิดความสนุกครึกครน้ื ผูแ้ สดง มีเพยี งแต่ผู้ชายอย่างเดียว
ดไู ม่มีรสชาติเผ็ดมนั จงึ จำเป็นต้องหา ผู้หญงิ มาแสดงประกอบ เม่อื ผ้หู ญงิ มาแสดงประกอบจงึ เปน็ การ
ลำแบบสมบูรณ์ เมื่อผหู้ ญงิ เขา้ มาเก่ียวขอ้ งเร่ืองตา่ งๆ ก็ตามมา เชน่ เรอื่ งเก้ยี วพาราสี เร่ืองชิงดีชิงเด่น
ยาด (แย่ง) ชู้ยาดผัวกัน เรื่องโจทย์ เรื่องแก้ เรื่องประชัน ขันท้า เรื่องตลกโปกฮาก็ตามมา จึงเป็นการ
ลำสมบูรณแ์ บบ
4. ลกั ษณะสำคญั ของภมู ิปัญญา

ประเภทของกลอนลำ
ลำโบราณ เป็นการเล่านทิ านของผู้เฒ่าผู้แก่ใหล้ ูกหลานฟัง ไม่มีท่าทาง และดนตรี ประกอบ
ลำคู่หรอื ลำกลอน เป็นการลำที่มีหมอลำชายหญิงสองคนลำสลับกัน มีเครื่องดนตรีประกอบ คือ แคน
การลำมีทั้งลำเรื่องนิทานโบราณคดีอีสาน เรียกว่า ลำเรื่องต่อกลอน ลำทวย (ทายโจทย์) ปัญหา ซึ่งผู้
ลำจะต้องมี ปฏิภาณไหวพริบที่ดี สามารถตอบโต้ ยกเหตุผลมาหักล้างฝ่ายตรงข้ามได้ ต่อมามีการเพ่ิม
ผู้ลำ ขึ้นอีกหนึ่งคน อาจเป็นชายหรือหญิง ก็ได้ การลำจะเปลี่ยนเป็นเรื่อง ชิงรัก หักสวาท ยาดชู้ยาด
ผวั เรยี กวา่ ลำชิงชู้
ลำหมู่ เป็นการลำที่มีผู้แสดงเพิ่มมากขึ้น จนเกือบจะครบตามจำนวนตัวละครที่มีในเรื่อง มีเครื่อง
ดนตรีประกอบเพิ่มขึ้น เช่น พิณ (ซุง หรือ ซึง) กลอง การลำจะมี 2 แนวทาง คือ ลำเวียง จะเป็นการ
ลำแบบลำกลอน หมอลำแสดง เป็นตัวละครตามบทบาทในเรื่อง การดำเนินเรื่องค่อนข้างช้า แต่ก็ได้
อรรถรสของละครพื้นบ้าน หมอลำได้ใช้พรสวรรค์ของตัวเองในการลำ ทั้งทางด้านเสียงร้อง ปฏิภาณ
ไหวพริบ และความจำเป็นที่นิยมในหมู่ผู้สูงอายุ ต่อมาเมื่อดนตรีลูกทุ่งมีอิทธิพลมากขึ้นจึงเกิด
วิวัฒนาการของลำหมู่อกี ครั้งหนง่ึ กลายเป็นลำเพลนิ ซึ่งจะมีจงั หวะที่เร้าใจชวนใหส้ นกุ สนาน ก่อนการ
ลำเรื่องในช่วงหัวค่ำจะมีการนำเอารูปแบบของ วงดนตรีลูกทุ่งมาใช้เรียกคนดู กล่าวคือ จะมีนักร้อง
(หมอลำ) มาร้อง เพลงลูกทุ่งที่กำลังฮิตในขณะนั้น มีหางเครื่องเต้นประกอบ นำเอาเครื่องดนตรี
สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เช่น กีตาร์ คีย์บอร์ด แซ็กโซโฟน ทรัมเปต และกลองชุด โดยนำมาผสมผสาน
เข้ากับเครื่องดนตรีเดิมได้แก่ พิณ แคน ทำให้ได้รสชาติของดนตรีที่แปลกออกไป ยุคนี้นับว่า หมอลำ
เฟ่ืองฟมู ากที่สุด คณะหมอลำดังๆ สว่ นใหญ่จะอยใู่ นแถบจังหวัด ขอนแก่น มหาสารคาม อบุ ลราชธานี

ลำซิ่ง หลังจากที่หมอลำคู่และหมอลำเพลิน ค่อยๆ เสื่อมความนิยมลงไป อันเนื่องมาจากการก้าวเข้า
มาของเทคโนโลยีวิทยุโทรทัศน์ ทำให้ดนตรีสตริงเขา้ มาแทรกในวิถชี ีวิตของผู้คนอีสาน ความนิยมของ
การชมหมอลำ ค่อนข้างจะลดลงอย่างเห็นได้ชัด จนเกิดความวิตกกังวลกันมากในกลุ่มนักอนุรักษ์
ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน แต่แล้วมนต์ขลังของหมอลำก็ได้กลับมาอีกครั้ง ด้วยรูปแบบที่สะเทือนวงการ
ด้วยการแสดงที่เรียกว่า ลำซิ่ง ลำซิ่ง เป็นวิวัฒนาการของลำคู่ (เพราะใช้หมอลำ 2 - 3 คน) ใช้เครื่อง
ดนตรีสากลเข้าร่วมให้จังหวะเหมือนลำเพลิน มีหางเครื่องเหมือนดนตรีลูกทุ่ง กลอนลำสนุกสนานมี
จงั หวะอันเรา้ ใจ ทำใหไ้ ด้รบั ความนิยมอยา่ งรวดเร็ว จนกระท่งั ระบาดไปสู่การแสดงพ้ืนบ้านอ่ืนให้ต้อง
ประยุกต์ปรับตัว เช่น เพลงโคราชกลายมาเปน็ เพลงโคราชซ่ิง กันตรมึ ก็กลายเป็นกันตรมึ ร็อค หนังปรา
โมทัย (หนังตะลุงอีสาน) กลายเป็นปราโมทัยซิ่ง ถึงกับมีการจัดประกวดแข่งขัน บันทึกเทปโทรทัศน์
จำหนา่ ยกนั อย่างแพรห่ ลาย จนถงึ กบั มีบางทา่ นถึงกบั กล่าวว่า "หมอลำไม่มวี ันตาย จากลมหายใจชาว
อีสาน"
5. ข้นั ตอนการถ่ายทอดความร้ขู องภมู ิปัญญา

การร้องการลำ
การแต่งกาย
การฟ้อน
6. บุคคล/หน่วยงานทีเ่ ข้ามารบั ความรจู้ ากภูมิปัญญา
ประชาชนท่ัวไปที่สนใจ

นางคำจร อรรคบตุ ร

1. ช่อื ภูมิปัญญา หมอยาสมนุ ไพร
2. เจา้ ของภูมปิ ญั ญา นายดำ สภุ าพ เกิด 25 เมษายน 2489 อายุ 67 ปี
3. ทตี่ ้ัง/ทีอ่ ยู่ 17 หมู่ 10 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จังหวดั ศรสี ะเกษ
4. ประสบการณ์ 25 ปี
5. ประวัตคิ วามเปน็ มา/สาระท่ีได้จากภูมปิ ญั ญา

หมอยา คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาโรค สมัยรุ่นคุณตายังหนุ่ม คุณย่ายังสาว
การแพทยย์ ังไม่เจริญกา้ วหน้าเท่าปัจจุบันน้ี หากย้อนไปมองในยุคนั้นก็จะพบว่า แต่ละชุมชน
มักจะมีผู้ที่มีความรู้เรื่องวิธีรักษาโรค รู้เรื่องยาดีที่สุด หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “หมอยา
“ประจำอยู่ เม่ือเกิดอาการเจบ็ ไข้ได้ป่วยก็จะได้หมอยานี่แหละทบ่ี รรเทาเบาบางอาหารเจ็บไข้
ให้ แต่ถึงเดี๋ยวนี้สภาพสังคมเปลี่ยนไปวิถชี ีวิตของผู้คนก็เปลีย่ นไปความเชื่อในการพึ่งหมอยา
ซึ่งรักษาด้วยวิธีตามแบบพื้นบ้านที่ได้รับมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษเริ่มจางหายไป แต่
กลับหันไปใช้วิธีที่รักษาได้รวดเร็วกว่านั้น ยาสมุนไพร เป็นสิ่งที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ
ปราชญ์ชาวบ้านหรือหมอยาที่มีความรู้ก็จะนำมาสกัดหรือนำมาผ่านกรรมวธิ ตี ่างๆท่ีนำตัวยา
ออกมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นการรกั ษาโรค
6. ลักษณะสำคญั ของภมู ิปัญญา

วธิ ีแปรรปู สมนุ ไพรเป็นการนำเอาสรรพคุณของสมนุ ไพรมาใช้งาน ซ่ึงมอี ยูห่ ลายวิธี
ด้วยกัน พืชสมุนไพรแต่ละชนิดกม็ ีวิธีแปรรูปทแี่ ตกตา่ งกนั ไป วิธีแปรรปู สมุนไพรที่พบเห็นได้
บ่อยและนยิ มใช้กันมากไดแ้ ก่ การตม้ วิธีการตม้ ยาสมนุ ไพรเป็นหน่ึงในวธิ แี ปรรปู สมุนไพรที่
สามารถสกัดตัวยาท่ีอย่ใู นสมุนไพรให้ออกมาได้ดีกว่าวิธีอืน่ ๆเพราะต้องใชค้ วามร้อนมากและ
เวลาการตม้ ทน่ี านกว่า โดยมนี ำ้ เป็นตวั ละลายยาท่ีอยู่ในต้นพืชสมนุ ไพร การต้มยาสมุนไพรไม่
จำกัดวา่ จะเปน็ สมนุ ไพรแหง้ หรือสมุนไพรสด โดยมากจะเป็นพืชสมุนไพรจำพวกเปลือกไม้
รากไม้ เมล็ดหรอื ผลของพชื สมุนไพร การตม้ ยาสมุนไพรมีขอ้ ดีคือ ทำง่ายและสะดวก
สามารถสกดั เอาตัวยาออกมาจากพืชสมุนไพรไดม้ ากแต่ก็มีขอ้ เสยี คือยาสมุนไพรที่ไดจ้ ากการ
ตม้ มักจะมรี สขม ฝาด กลน่ิ และรสชาตไิ มน่ า่ ด่ืมและยาสมุนไพรท่ีไดจ้ ากการต้มไมค่ วรเกบ็ ไว้
ขา้ มคืนเพราะอาจจะขนึ้ ราและเสียได้ง่าย ควรดืม่ ยาสมนุ ไพรท่ไี ด้จากการต้มให้หมดภายใน
วนั นั้น(ตม้ กินวนั ตอ่ วนั )
7. ข้ันตอนการถ่ายทอดความรู้

วิธีการต้มยาสมุนไพร ความสะอาดต้องมาเป็นอันดับหนึ่ง น้ำและภาชนะท่ีใช้ในการ
ต้มยาสมุนไพรต้องสะอาดและบริสุทธิ์ ภาชนะที่ใช้ควรเป็นภาชนะที่ทำด้วยดินเผา ไม่ควรใช้

ภาชนะที่เป็นโลหะเพราะสมุนไพรอาจทำปฏิกิริยากับโลหะทำให้มีผลต่อสรรพคุณของยา
สมนุ ไพร สว่ นปรมิ าณทใี่ ชต้ ้มให้ใสพ่ อทว่ มตัวสมุนไพรเทา่ นัน้ การเตรียมสมนุ ไพรที่จะต้ม ถ้า
สมุนไพรที่นำมาต้มมีขนาดใหญ่ให้ห่ันหรือสับให้มีขนาดเลก็ ลงแตอ่ ย่าหั่นหรือสับสมุนไพรจน
เลก็ เป็นฝอยเพราะจะทำใหล้ ำบากเวลาจะแยกกากสมุนไพรออกจากนำ้ สมุนไพรทต่ี ้มได้ หาก
เป็นสมุนไพรแห้งก่อนต้มให้แช่น้ำท้ิงไว้สัก 20-30 นาที แต่ถ้าเป็นสมุนไพรสดให้ต้มได้เลยไม่
ต้องแช่น้ำ ความแรงของไฟที่ใช้ต้มยาสมุนไพร ให้ใช้ไฟปานกลางเมื่อต้มยาจนเดือดแล้ว
ค่อยๆลดไฟลงให้เป็นไฟอ่อนและขณะต้มยาสมุนไพรต้องคอยคนยาที่ต้มตลอดเวลา ต้มยา
สมุนไพรด้วยไฟอ่อนอีก 10-20 นาทีก็ใช้ได้แล้ว การต้มยาสมุนไพรตามสูตรคนไทยที่ใช้กัน
มกั ต้มโดยใสน่ ้ำลงไป 3 ส่วนแล้วตม้ จนน้ำเหลือ 1 ส่วน(ต้ม 3 เอา 1) ยาสมุนไพรที่ไดจ้ ากการ
ต้มให้กนิ วันละ 3 ครง้ั และควรกินยาสมุนไพรท่ตี ้มได้ในวันน้ันให้หมดแบบวนั ต่อวนั

8. บคุ คล/หนว่ ยงานทเ่ี ข้ามารับความรูจ้ ากภูมิปญั ญา
- นกั เรียน นกั ศกึ ษา ประชาชนตำบลดู่
- บคุ คลท่วั ไปที่สนใจ

ภาพประกอบ

1. ชอื่ ภูมิปญั ญา การทำเฟอรน์ ิเจอร์
2. เจา้ ของภูมปิ ญั ญา นายรงุ่ สุรยิ า การุณ เกิด 22 สงิ หาคม 2521 อายุ 35 ปี
3. ทต่ี ้ัง/ท่ีอยู่ 162 หมู่ 7 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรสี ะเกษ
4. ประสบการณ์ 20 ปี
5. ประวัตคิ วามเปน็ มา/สาระทีไ่ ดจ้ ากภมู ิปัญญา

เฟอร์นิเจอร์หรอื เครื่องเรือน ได้มีการผลติ มาตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2476 ซ่ึงในระยะน้ันเป็น
การรับทำตามความต้องการของลูกค้าทำเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนเล็ก ๆ น้อย ๆ ต่อมา
ความต้องการใช้เฟอร์นิเจอร์ภาในประเทศมีแนวโน้มสูงขึ้นเป็นลำดับ ทำให้มีผู้สนใจเข้ามา
ลงทุนในการผลิตและจำหน่ายเฟอร์นิเจอร์มากขึ้นเรื่อย ๆ จนกระท่งั พัฒนาจากอุตสาหกรรม
ในครัวเรือนมาเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่ผลิตเพื่อการส่งออก และมีการผลิตโดยใช้
เครื่องมือเครื่องจักรที่สั่งมาจากต่างประเทศอีกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากเฟอร์นิเจอร์เป็นสินค้า
จำเป็นสำหรับชีวิตประจำวัน คอื มีความสมั พนั ธ์กับชวี ติ มนุษยโ์ ดยตรงทุกอริ ิยาบท นับตั้งแต่
ตื่นนอนจนกระทั่งเข้านอน เฟอร์นิเจอร์จึงมีบทบาทสำคัญยิ่งสำหรับอาคารบ้านเรือนและ
สถานปรกอบธุรกิจต่าง ๆ ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงและประชากรมี
จำนวนเพมิ่ ขึน้ ความจำเป็นทจี่ ะใช้สนิ ค้าประเภทน้จี ึงมีมากข้นึ ตามลำดับ
6. ลกั ษณะสำคัญของภมู ิปัญญา

เฟอร์นิเจอร์เป็นสินค้าที่ไม่เหมือนกับสินค้าประเภทอื่น คือไม่สามารถกักตุนไว้ได้
เพราะขึ้นอยู่กับแฟชั่น ประกอบกับคนไทยเรามักไม่ค่อยให้ความสำคัญเท่าใดนัก การจะ
จัดหาเฟอร์นิเจอร์ไวใ้ ช้จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสม สไตล์ความแข็งแรงทนทาน และที่
สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ถ้ามีฐานะไม่ค่อยจะอำนวยนัก ก็จะซื้อเฟอร์นิเจอร์ประเภท
รูปแบบสวยส่วนคุณภาพอาจจะไม่คำนึงถงึ แต่ถา้ มฐี านะดีเฟอร์นิเจอร์ท่เี ลือกใชจ้ ะเป็นแบบที่
ได้รับการตกแต่ง และออกแบบโดยมัณฑนากร ซึ่งมีราคาแพงลักษณะของตลาดเฟอร์นิเจอร์
ปัจจุบัน ถือได้ว่าเป็นตลาดนอกระบบเพราะการผลิตเฟอร์นิเจอร์ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับความ
ต้องการของลูกค้า การผลิตเพื่อการส่งออกยังไม่กว้างขวางนัก เป็นแบบกึ่งอุตสาหกรรม
ภาวะของตลาดภายในประเทศข้นึ อยู่กับจำนวนประชากร และการยกระดบั ความเป็นอยู่หรือ
อัตรารายได้เป็นปัจจัยสำคัญ ส่วนแหล่งจำหน่ายที่ใหญ่ที่สุดคือย่ านสะพานดำ
กรุงเทพมหานครสำหรบั จังหวัดพระนครศรอี ยุธยาร้านจำหนา่ ยกระจายไปตามอำเภอใหญ่ ๆ
7. ขั้นตอนการถา่ ยทอดความรู้

โดยข้นั ตอนการผลติ เริ่มจากวัตถุดบิ โดยจะมีการดำเนินการท้งั สองด้าน กล่าวคอื

การคดั เลือกไม้แปรรปู ท่มี คี ุณสมบัตเิ หมาะกบั ผลติ ภัณฑ์ที่จะผลิต และการออกแบบ
ผลติ ภณั ฑ์ใหเ้ หมาะกับวตั ถดุ ิบ/ไมแ้ ปรรูปทม่ี ี การผลิตในระดับอุตสาหกรรมในประเทศ มีทัง้
แบบการรับจา้ งผลติ สินค้ารูปแบบตา่ งๆ ตามคำสงั่ ซื้อของลูกคา้ และการผลติ สนิ ค้าที่
ออกแบบเอง

ไม้ทีน่ ำเข้าสู่สายการผลิตผลิตภณั ฑ์ส่วนใหญ่ เป็นไมท้ ่ีผา่ นการอบแห้งและอาบน้ำยา
ถนอมเนื้อไม้เบื้องต้นมาแล้วและพร้อมนำเข้าสายการผลิต โดยการผลิตโดยส่วนใหญ่ต้อง
อาศัยการไสไม้โดยเครื่องไสไม้เพือ่ ให้มีผิวหน้าเรียบ การตัดไม้โดยเลือ่ ยไฟฟ้าให้ได้ขนาดตาม
ต้องการ การกลึงโดยเครื่องกลึง การเซาะขึ้นรูปโดยเครื่องกัดเซาะร่องไม้ (Router) และการ
ขัดผิวหน้าด้วยเครื่องขัดกระดาษทราย ในบางกรณีอาจมีการดดั ไม้โดยใช้ความรอ้ นเพื่อให้ได้
ชน้ิ สว่ นทโี่ คง้ รบั กับสัดสว่ นทีต่ อ้ งการ
8. บคุ คล/หน่วยงานท่เี ข้ามารบั ความรจู้ ากภมู ปิ ญั ญา

- นักเรยี น นักศึกษา ประชาชนตำบลดู่
- บคุ คลท่ัวไปท่สี นใจ

ภาพประกอบ

1. ชอื่ ภูมิปัญญา การทอเสื่อ
2. เจา้ ของภูมิปัญญา นางญาดา แหวนหลอ่ เกดิ 28 มีนาคม 2506 อายุ 50 ปี
3. ที่ต้ัง/ทีอ่ ยู่ 26/1 หมู่ 7 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรีสะเกษ
4. ประสบการณ์ 3 ปี
5. ประวตั คิ วามเป็นมา/สาระที่ไดจ้ ากภูมปิ ญั ญา

กอ่ น พ.ศ. 2490 วิถชี ีวิตของชาวบ้านอีสานไม่เปล่ยี นแปลงมากนกั บ้านเรือนที่อยู่อาศยั ยังคง
ปลกู เรือนดว้ ยไม้ไผ่บ้าง ไม้เนื้อแข็งบ้าง เกือบทุกเรือนจะใช้เสอ่ื หรอื สาดปนู ัง่ ปนู อน ตามกาลเทศะอนั
ควร เสือ่ ในยคุ นัน้ มีทั้งเส่อื แบบหยาบ ๆ และเส่ือประณีต เส่อื เปน็ ของใช้สำหรบั บา้ น มีมานาน
เชน่ เดยี วกับพรม จนคนมกั จะพูด ติดปากกันวา่ “เลยี้ งดปู เู ส่ือ” และตามประเพณที างศาสนาพุทธใน
ประเทศไทย ก็นิยมใชเ้ สือ่ เป็นเครอ่ื งอัฐบริขารอย่างอ่นื ในพิธอี ปุ สมบทหรือพิธที อดกฐิน จุดมุ่งหมายใน
การทอเสอ่ื จึงเปน็ ไปเพื่อใชส้ อยในครวั เรอื น บ้านใดไม่มีเส่ือใช้ถือวา่ พ่อแม่ ลกู เกียจครา้ น ไม่มฝี มี ือ
หนุม่ สาวที่แตง่ งานใหมห่ รือข้ึนเรอื นใหม่ จะตอ้ งมีฟูก หมอน เสื่อที่ฝ่ายหญงิ จัดเตรยี มสะสมไวเ้ ป็นของ
ขนึ้ เรือน ความจำเป็นดังกล่าวนี้ ทำใหม้ กี ารทอเสื่อไว้ใช้ หรือหาแลกสนิ ค้าจากหมู่บ้านอ่นื ไวต้ ดิ
บ้านเรอื น เส่อื จึงมีความสำคัญในฐานะท่ีทำให้ที่อยู่อาศยั น่าพักพิงทั้งในยามตื่น และยามหลับนอน
และยังใช้กำบังแดด ลม ฝน ข้างฝาเรอื นได้อีกดว้ ยนอกจากน้ัน ชาวบ้านยังทอเสื่อเพอ่ื ถวายเปน็
ไทยทานใหก้ ับวัดเพอื่ บำรุงศาสนาในฤดูเทศกาลตา่ ง ๆ เชน่ บุญผ้าป่า วันเข้าพรรษา และบญุ ทอดกฐิน
เป็นตน้ และชาวบา้ นยังนำเสื่อทอ เหล่าน้ันไปแลกกับสิง่ ของอ่นื ๆ กบั หมู่บ้านใกลเ้ คียง ดังนน้ั พอจะ
สรุปไดว้ ่าวัตถปุ ระสงค์ของการผลติ เส่อื ทอของชาวบา้ นในอดีตน้นั ก็เพ่ือการใชส้ อย เพื่อการ
ทำบุญสุนทาน เปน็ ของฝากญาตมิ ติ ร เพ่ือแลกเปล่ียนกับสนิ ค้าอน่ื หรือเพ่ือการจำหนา่ ยเพียงเลก็ น้อย
ในบางคร้ัง

6. ลกั ษณะสำคญั ของภมู ิปัญญา
เพ่ือความสะดวกสบายในการเก็บรักษาเสื่อซ่งึ มีความยาวขนาดต่าง ๆ ความสะดวกในการ

เคล่ือนย้าย และประโยชนใ์ ช้สอยแลว้ ชาวบา้ นก็มีการดดั แปลงรปู แบบของเสื่อทีเ่ ป็นผืนใหส้ ามารถพบั
ได้และถือไปมาไดส้ ะดวก โดยการนำเสอ่ื ที่ทอเสร็จแล้วมาตัดเปน็ ชิ้น ๆ แล้วตดั ผ้าสเี พื่อทำรมิ เส่ือและ
เย็บรมิ เสื่อกันรุ่ยใช้ผ้าเยบ็ ตอ่ กันให้เปน็ ผนื ตอ่ ให้เปน็ ผนื กว้างตามต้องการเสร็จแลว้ ใช้ผ้าสีเดียวกันเยบ็
ติดเป็นสายห้วิ ไปมาไดส้ ะดวกเป็นเส่อื พับหน่ึงผนื เม่ือเย็บเสร็จแลว้ พบั เก็บไว้ทช่ี ั้นเพ่อื รอจำหนา่ ย และ
การทำเสอ่ื นั่ง ทำทรี่ องจาน รองแก้ว กระเปา๋

7. ข้ันตอนการถา่ ยทอดความรู้
1. นำกกหรือไหลมากรีดออกเปน็ เส้น นำไปตากแดดประมาณ 1 อาทิตย์
2. เมื่อแหง้ แล้วนำมาย้อมสี ตามต้องการโดยสีท่ียอ้ มเป็นสีเคมี อยา่ งดี สว่ นมากจะย้อมสี

นำ้ ตาล สขี าว สีแดง และสนี ำ้ เงนิ

3. นำเชือกไนลอน หรอื เชือกเอนขงึ ท่ี โฮมทดเส่ือใหเ้ ปน็ เส้นตามโฮมและฟืม
4. นำกกหรอื ไหลสอดเขา้ กับไม้สอดเพ่ือทีจ่ ะสอดเขา้ กบั โฮมทอเสื่อ
5. เมอื่ สอดหรือไหลเข้าไปแล้ว ผลกั ฟืมเข้าหาตัวเองให้กกหรอื ไหลแนน่ ตดิ กันเปน็ ลายตา่ งๆ
6. ลายที่ทอเป็นประจำ และเป็นทน่ี ิยม คือ ลายมัดหมี่ ลายธรรมชาติ ลายกระจับ
7. จากนนั้ กน็ ำเสือ่ กกทที่ อแล้วมาแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑ์ต่างๆ เช่น หมอน อาสนะ ทีร่ องแกว้
8. บคุ คล/หนว่ ยงานทเ่ี ข้ามารับความร้จู ากภมู ิปญั ญา
- นกั เรียน นกั ศึกษา ประชาชนตำบลดู่
- บคุ คลทัว่ ไปท่สี นใจ

1. ชือ่ ภูมปิ ญั ญา การเลีย้ งจิ้งหรีด
2. เจา้ ของภูมิปญั ญา นางญาดา แหวนหลอ่ เกดิ 28 มีนาคม 2506 อายุ 50 ปี
3. ทีต่ ัง้ /ท่ีอยู่ 26/1 หมู่ 7 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรสี ะเกษ
4. ประสบการณ์ 2 ปี
5. ประวัติความเปน็ มา/สาระทีไ่ ด้จากภมู ิปัญญา

จิ้งหรดี เป็นแมลงท่ีพบทวั่ ไปตามธรรมชาติที่อุดมสมบรู ณ์ ตัวออ่ น และตวั เต็มวัย จะหลบซ่อน
ตวั ตามสนามหญ้าและทุง่ หญ้า ตามรอยแตกของดิน รใู ต้ดิน หรอื ใตก้ องเศษหญา้ จิ้งหรดี มีลำตวั
กระทดั รัดมีขาคู่หนา้ ที่ใหญ่แข็งแรงมาก กระโดดเกง่ กินพชื เปน็ อาหาร ปจั จบุ นั นิยมบริโภคจงิ้ หรดี
เปน็ อาหาร ใหส้ ารอาหารโปรตนี สูง ปลอดสารพษิ สามารถรักษา โรคขาดสารอาหารได้

6. ลกั ษณะสำคัญของภูมิปัญญา
จิง้ หรดี ทองแดง (แมงสะด้ิง) มีอายุในการจับบรโิ ภค/ขาย ประมาณ 40-50 วนั จากการฟักตวั

เมอื่ แมพ่ ันธุ์ไดอ้ ายุประมาณ 40-50 วนั หรอื สังเกตว่าออกปีกแล้วทอ้ งโตแสดงวา่ พร้อมทจี่ ะวางไข่ ให้
ทำเหมือนกบั จง้ิ หรดี ดำ ประมาณ 8-12 ชม. นำขนั ออกมาอบโดยคลุมดว้ ยพลาสติก 6-12 วนั จะฟกั ตัว
ให้เทขันไว้ในบ่อเรียงให้หนาไม่เกิน 5 ซ.ม. ไข่ 3 ขันต่อคอก 1 ตารางเมตร นำแผงวางไข่เรียงในคอก
ให้เป็นที่อาศัย ให้น้ำ อาหารใส่ภาชนะวางบนแผง คอยดูน้ำ อาหารทุกวันไม่ให้ขาด และป้องกันมด
จิ้งจก นก และศัตรูอื่นๆ จนกว่าจะจับบริโภคหรือขาย หลังจากรองไข่แล้วให้งดอาหารสำเร็จ ให้ผัก/
หญ้า/ฟักทองอย่างเดียว 1-2 วันจะเพิ่มรสชาติไม่มีกลิ่นอาหารสำเร็จ (ก่อนจับ ให้รองไข่ก่อน เพื่อ
ขยายพนั ธตุ์ ่อ)

หมายเหตุ ชว่ งอายุ 3 สปั ดาห์ขน้ึ ไปใหใ้ ช้อาหารสำเรจ็ ผสมรำอ่อน 1 ตอ่ 1 ส่วน และให้ผัก/
หญา้ /ฟักทองให้มากกว่าปกติ เพอื่ ป้องกันการตาย การปรงุ อาหาร เช่น ทอด คั่ว แดง ห่อหมก และยำ
จงิ้ หรดี ก่อนนำมาปรุงอาหารบริโภคงดอาหารให้กนิ เฉพาะนำ้ จง้ิ หรดี จะถ่ายมูลออกหมด

7. ขัน้ ตอนการถา่ ยทอดความรู้
1. นำฟวิ เจอรบ์ อรด์ แผ่นใหญ่ มาตัดดา้ นข้างทง้ั 2 ด้าน ยาวดา้ นละ 30 เซนติเมตร พับขึ้นทงั้

2 ดา้ นใหเ้ ป็นกล่อง
2. ในกลอ่ งฟวิ เจอร์บอรด์ มีกระดาษรงั ไข่ ประมาณ 10 รัง เพื่อใชเ้ ปน็ ทอี่ ยู่อาศัยของจ้งิ หรีด

มีถาดอาหาร-นำ้ มถี าดใส่ดนิ ร่วนปนทราย เพอื่ เป็นท่สี ำหรับฟกั ไข่

3. นำถาดไข่จ้ิงหรีดทีเ่ พาะพนั ธไ์ วแ้ ลว้ มาวางในกล่องฟิวเจอร์บอร์ด และจะฟักออกจากไข่
กลายเปน็ ตัวอ่อน ประมาณ 35-40 วัน และเปน็ ตวั เตม็ วยั ประมาณ 45-60 วัน

4. การให้น้ำควรเปลยี่ นน้ำทุก 2 วัน
5. คลมุ ดว้ ยตาขา่ ยไนล่อนเพื่อปอ้ งกันการบนิ และป้องกนั ศตรูเข้าทำลาย

8. บุคคล/หนว่ ยงานท่เี ข้ามารับความรู้จากภมู ิปัญญา
- นกั เรียน นักศึกษา ประชาชนตำบลดู่
- บคุ คลท่ัวไปท่สี นใจ

ภาพประกอบ

1. ช่อื ภูมปิ ัญญา การทอผา้ ไหม
2. เจา้ ของภูมิปัญญา นางบุญมี ใจงาม เกดิ 14 พฤษภาคม 2517 อายุ 39 ปี
3. ทต่ี งั้ /ทอี่ ยู่ 36 หมู่ 7 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรสี ะเกษ
4. ประสบการณ์ 16 ปี
5. ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระทีไ่ ด้จากภูมิปัญญา

ผ้าไหมมดั หม่เี ปน็ ผ้าท่ไี ด้รบั การยอมรับวา่ เป็นงานทอผา้ ที่มเี อกลักษณ์ ของชาวอิสานมาชา้
นาน เน่อื งจากมคี วามสวยงาม มีลวดลายทีเ่ ปน็ เอกลกั ษณ์บง่ บอก ถงึ ภมู ปิ ญั ญาของบรรพบุรษุ ได้เปน็
อย่างดีแต่ในปัจจบุ นั พบวา่ ตลาดการคา้ ผ้าไหมขยายวงกว้าง การแข่งขันมีมากขึน้ การทอผ้าไหม
มดั หมี่จงึ ต้องอาศัยความสามารถและฝมี ือของผ้ทู อ ประกอบกบั ลวดลายทจี่ ะสามารถจำหนา่ ยไดใ้ น
ตลาดจำเป็นอยา่ งยิ่งทีผ่ ู้ทอผา้ ต้องไดศ้ ึกษา ทิศทางและแนวโนม้ การตลาด ออกแบบลวดลายให้
สอดคล้องกบั ความต้องการของผ้บู รโิ ภค และทันสมยั ควบคู่กับอนรุ ักษล์ วดลายของผ้าไหมมัดหมี่
โบราณ เพ่อื เป็นการสบื ทอดงานฝมี อื อนั ทรงคุณคา่ ไปยงั รนุ่ ลูก รุน่ หลาน

6. ลักษณะสำคัญของภูมิปญั ญา
เสน้ ใยไหมหนึง่ รัง (รังเดี่ยว) ประกอบดว้ ยโปรตนี 2 ส่วน คือ สว่ นทเ่ี ป็นเส้นใยไหมเรียกวา่

“ไฟโบรอนิ ” มีลักษณะเปน็ เสน้ ใย 2 เสน้ เลก็ ละเอียดอ่อนมากพันกนั เรยี งตวั ขนานโดยผวิ ของเสน้ ใย
แนบชดิ กันไปตลอดตามแนวยาว ลกั ษณะภาคตัดขวางของเส้นใยไหมแต่ละเสน้ คล้ายกับรูป
สามเหลย่ี มมุมมน มฐี านชนกัน และเชื่อมตดิ กนั ดว้ ยกาวไหม เรยี กวา่ “เซรซิ นิ ” กาวไหมจะเคลือบ
ผิวเส้นใยไหมแต่ละเส้นเอาไว้ให้รวมเป็นเสน้ เดียว

7. ขน้ั ตอนการถ่ายทอดความรู้
- ศึกษาข้อมูลตัวไหม ต้นหม่อน การเพาะเลย้ี ง การสาวไหม การยอ้ มสี การออกแบบลายผ้า

ไหม การมัดหมล่ี ายต่างๆ การทอผา้ ไหม

8. บุคคล/หน่วยงานท่ีเขา้ มารบั ความรจู้ ากภูมิปัญญา
- นักเรยี น นักศึกษา ประชาชนตำบลดู่
- บุคคลทั่วไปทสี่ นใจ



1. ชอ่ื ภูมิปัญญา หมอยาสมนุ ไพร
2. เจา้ ของภูมปิ ัญญา นายทองสา การุณ เกดิ - / - / 2517 อายุ 73 ปี
3. ทต่ี ้งั /ที่อยู่ 26/1 หมู่ 7 ตำบลดู่ อำเภอราษไี ศล จังหวัดศรสี ะเกษ
4. ประวัตคิ วามเป็นมา/สาระทีไ่ ดจ้ ากภูมิปญั ญา

หมอยา คือ ผู้เช่ยี วชาญดา้ นการรักษาโรค สมยั รนุ่ คุณตายงั หนมุ่ คุณย่ายงั สาว การแพทย์ยัง
ไมเ่ จริญก้าวหนา้ เทา่ ปจั จุบันน้ี หากยอ้ นไปมองในยคุ น้ันกจ็ ะพบว่า แตล่ ะชุมชนมักจะมีผู้ที่มีความรู้
เรือ่ งวธิ รี กั ษาโรค รู้เรอ่ื งยาดที ี่สดุ หรือท่ีชาวบา้ นเรยี กกันว่า “หมอยา“ประจำอยู่ เมอื่ เกิดอาการเจบ็
ไขไ้ ดป้ ่วยก็จะไดห้ มอยานี่แหละทบี่ รรเทาเบาบางอาหารเจ็บไข้ให้ แต่ถงึ เดี๋ยวน้สี ภาพสงั คมเปลี่ยนไป
วถิ ีชีวติ ของผู้คนก็เปล่ียนไปความเชอื่ ในการพึง่ หมอยาซง่ึ รกั ษาดว้ ยวธิ ีตามแบบพ้ืนบ้านทีไ่ ดร้ บั มรดก
ตกทอดมาจากบรรพบรุ ุษเร่มิ จางหายไป แต่กลับหันไปใช้วิธีทร่ี กั ษาได้รวดเร็วกวา่ นน้ั ยาสมนุ ไพร
เปน็ สง่ิ ท่มี ีอยู่แล้วตามธรรมชาตปิ ราชญ์ชาวบ้านหรอื หมอยาทีม่ คี วามรู้ก็จะนำมาสกดั หรือนำมาผา่ น
กรรมวธิ ีตา่ งๆท่นี ำตัวยาออกมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นการรกั ษาโรค

5. ลักษณะสำคัญของภูมิปัญญา
วิธีแปรรปู สมนุ ไพรเป็นการนำเอาสรรพคุณของสมุนไพรมาใช้งาน ซึ่งมอี ยู่หลายวิธีดว้ ยกัน พชื

สมุนไพรแต่ละชนิดก็มวี ธิ ีแปรรูปทแ่ี ตกต่างกันไป วธิ แี ปรรูปสมนุ ไพรท่พี บเหน็ ได้บ่อยและนยิ มใช้กนั
มากไดแ้ ก่ การตม้ วิธีการต้มยาสมุนไพรเปน็ หนึ่งในวิธแี ปรรูปสมุนไพรที่สามารถสกดั ตวั ยาทอ่ี ย่ใู น
สมนุ ไพรให้ออกมาได้ดีกว่าวิธีอน่ื ๆเพราะต้องใช้ความร้อนมากและเวลาการต้มที่นานกว่า โดยมีน้ำเป็น
ตวั ละลายยาทอ่ี ยู่ในต้นพืชสมุนไพร การต้มยาสมุนไพรไม่จำกดั ว่าจะเป็นสมนุ ไพรแหง้ หรือสมนุ ไพรสด
โดยมากจะเป็นพชื สมนุ ไพรจำพวกเปลือกไม้ รากไม้ เมลด็ หรอื ผลของพืชสมนุ ไพร การต้มยาสมุนไพร
มขี ้อดีคือ ทำงา่ ยและสะดวก สามารถสกดั เอาตวั ยาออกมาจากพชื สมนุ ไพรไดม้ ากแต่ก็มีขอ้ เสยี คือยา
สมนุ ไพรที่ไดจ้ ากการต้มมักจะมีรสขม ฝาด กลิ่นและรสชาติไม่น่าดื่มและยาสมนุ ไพรทไ่ี ดจ้ ากการต้มไม่
ควรเกบ็ ไว้ขา้ มคนื เพราะอาจจะข้นึ ราและเสียได้งา่ ย ควรด่ืมยาสมนุ ไพรที่ไดจ้ ากการต้มให้หมดภายใน
วันน้ัน(ตม้ กินวันตอ่ วนั )

6. ข้ันตอนการถา่ ยทอดความรู้
วิธีการตม้ ยาสมุนไพร ความสะอาดตอ้ งมาเป็นอันดับหน่ึง นำ้ และภาชนะที่ใช้ในการตม้ ยา

สมุนไพรต้องสะอาดและบรสิ ุทธ์ิ ภาชนะท่ีใชค้ วรเป็นภาชนะที่ทำด้วยดินเผา ไม่ควรใช้ภาชนะทีเ่ ปน็
โลหะเพราะสมนุ ไพรอาจทำปฏกิ ิรยิ ากับโลหะทำให้มีผลต่อสรรพคณุ ของยาสมุนไพร สว่ นปริมาณทใ่ี ช้
ต้มใหใ้ สพ่ อท่วมตวั สมุนไพรเท่าน้ัน การเตรียมสมุนไพรที่จะต้ม ถ้าสมนุ ไพรท่นี ำมาต้มมขี นาดใหญใ่ ห้
หั่นหรอื สบั ให้มีขนาดเล็กลงแต่อย่าหั่นหรือสับสมนุ ไพรจนเล็กเปน็ ฝอยเพราะจะทำให้ลำบากเวลาจะ
แยกกากสมุนไพรออกจากนำ้ สมนุ ไพรทีต่ ม้ ได้ หากเปน็ สมุนไพรแหง้ ก่อนต้มให้แชน่ ำ้ ท้ิงไว้สกั 20-30
นาที แต่ถา้ เป็นสมุนไพรสดให้ต้มไดเ้ ลยไมต่ ้องแชน่ ำ้ ความแรงของไฟท่ีใชต้ ม้ ยาสมุนไพร ให้ใชไ้ ฟปาน

กลางเม่ือต้มยาจนเดือดแลว้ คอ่ ยๆลดไฟลงให้เปน็ ไฟอ่อนและขณะตม้ ยาสมนุ ไพรตอ้ งคอยคนยาทต่ี ้ม
ตลอดเวลา ต้มยาสมุนไพรดว้ ยไฟออ่ นอีก 10-20 นาทีก็ใช้ได้แลว้ การต้มยาสมุนไพรตามสตู รคนไทยที่
ใชก้ ัน มกั ตม้ โดยใสน่ ำ้ ลงไป 3 สว่ นแลว้ ต้มจนนำ้ เหลอื 1 ส่วน(ต้ม 3 เอา 1) ยาสมนุ ไพรที่ได้จากการ
ต้มให้กินวนั ละ 3 คร้ังและควรกนิ ยาสมนุ ไพรที่ต้มได้ในวันนน้ั ใหห้ มดแบบวันต่อวัน

7. บคุ คล/หน่วยงานที่เข้ามารบั ความรู้จากภูมิปัญญา
- นกั เรียน นักศึกษา ประชาชนตำบลดู่
- บุคคลทว่ั ไปที่สนใจ

ภาพประกอบ

1. ช่ือภูมปิ ญั ญา จกั สาน
2. เจา้ ของภูมิปญั ญา นายพรมมา พรรษา เกดิ 5 พฤศจกิ ายน 2472 อายุ 84 ปี
3. ทตี่ ้ัง/ที่อยู่ 1 หมู่ 1 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรีสะเกษ
4. ประสบการณ์ 30 ปี
5. ประวัติความเปน็ มา/สาระทีไ่ ดจ้ ากภูมปิ ญั ญา

หัตถกรรมเครือ่ งจักสานเปน็ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชมุ ชนท่ีสำคัญยง่ิ ต่อการดำรงชีวติ ตงั้ แต่
อดีตตง้ั แต่สมยั อยธุ ยาจนถึงปัจจุบัน หัตถกรรมเคร่ืองจักสานเป็นตัวอย่างหน่งึ ทีแ่ สดงให้เห็นภูมิ
ปญั ญาอนั เฉลยี วฉลาดของคนในท้องถ่นิ ท่ใี ชภ้ มู ปิ ญั ญาสามารถนำสิ่งที่มอี ยู่ในชมุ ชนมาประยุกต์ทำ
เปน็ เครอื่ งมือเครอื่ งใช้ในชีวิตประจำวนั ซ่งึ มปี ระโยชน์ในการดำรงชีวิต จะเหน็ ไดว้ ่าหตั ถกรรมเคร่ือง
จักสานมมี านานแลว้ และได้มีการพัฒนามาตลอดเวลาโดยอาศยั การถ่ายทอดความรูจ้ ากคนรุน่ หน่งึ
ไปสู่คนอีกรนุ่ หน่ึง การดำรงชวี ิตประจำวันของชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่ไดเ้ อาการรหู้ นงั สือมาเก่ยี วขอ้ ง
การเรยี นรูต้ า่ งๆ อาศัยวิธีการฝกึ หัดและบอกเล่าซ่ึงไม่เปน็ ระบบในการบนั ทกึ สะท้อนใหเ้ หน็ การ
เรียนรู้ ความรทู้ สี่ ะสมทส่ี ืบทอดกันมาจากอดีตมาถึงปัจจุบันหรอื ทีเ่ รยี กกนั ว่าภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ดงั น้ัน
กระบวนถ่ายทอดความรู้จงึ มีความสำคญั อยา่ งย่ิงทที่ ำภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ นน้ั คงอยตู่ ่อเน่ืองและยั่งยืน

6. ลกั ษณะสำคญั ของภูมิปัญญา
การทำเครื่องจักสานทเี่ ปน็ ไมไ้ ผ่และหวาย กก ใบลาน ใบมะพร้าว เร่ิมต้นจากการเตรียมตอก

คือการเตรยี มไมไ้ ผ่ หวาย นำวัสดทุ ี่จะใช้ในสานให้เปน็ ซต่ี ามความต้องการทจี่ ะใชแ้ ลว้ จึงสาน ถัก ทอ
ตามลวดลายและรปู ทรงทจ่ี ะทำ เครอื่ งจักสานทด่ี ีจะไมม่ ีโลหะเป็นสว่ นประกอบปนอยู่ หากแตใ่ ช้วัสดุ
พวกเดยี วกัน เช่นหวาย เชือก และเดอื ยไม้ไผเ่ ปน็ เครื่องผูกยดึ และเป็นโครงสรา้ ง
7. ขนั้ ตอนการถา่ ยทอดความรู้

วัตถุดิบในการจักสาน ทใี่ ชก้ นั ทว่ั ไปมหี ลายอย่างได้แก่ ใบเตย ลำเจียกหรือปาหนัน
ผกั ตบชวา ยา่ นลเิ พา กระจูด กก ใบตาล ใบลาน หวาย ไม้ไผ่ แต่ท่ีนิยมนำมาใช้ทำงานจกั สานมาก
ทสี่ ดุ คอื ไม้ไผ่และหวาย เนอ่ื งจากคงทน ราคาไม่แพง วตั ถุดิบหาได้ งา่ ยมีอย่ทู ั่วไป การเตรยี มไม้ไผ่
เลือกลำต้นที่มีความตรง ลำปล้องยาว ผิวเรยี บเปน็ มัน หลงั จากตัดออกมาจากกอ นำมาแช่นำ้ ตลอด
ทง้ั ลำเพื่อให้ไม้ไผ่มีความสดและปอ้ งกนั มด ปลวก มอด เจาะไช เมื่อจะนำมาใช้งานจงึ ตัดเอาตาม
ขนาดที่ต้องการมาผา่ ออกแล้วนำไปจักเป็นตอกแลว้ ตากแดดให้แห้ง

8. บุคคล/หนว่ ยงานท่เี ขา้ มารับความรจู้ ากภูมปิ ญั ญา
- นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ประชาชนตำบลดู่
- บคุ คลทัว่ ไปท่สี นใจ



1. ชอ่ื ภูมปิ ญั ญา การทอเสื่อ สานกระติบข้าว ไพหญา้
2. เจา้ ของภูมปิ ัญญา นางหนนิ่ ยางงาม เกิด - / - / 2517 อายุ 83 ปี
3. ที่ตั้ง/ท่อี ยู่ 25 หมู่ 11 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวัดศรีสะเกษ
4. ประสบการณ์ 36 ปี
5. ประวตั ิความเปน็ มา/สาระทีไ่ ดจ้ ากภมู ปิ ญั ญา

หัตถกรรมเคร่อื งจักสานเป็นภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นของชุมชนท่ีสำคญั ย่งิ ต่อการดำรงชีวติ
ตั้งแตอ่ ดีตตั้งแตส่ มยั อยธุ ยาจนถงึ ปจั จบุ นั หัตถกรรมเครื่องจักสานเปน็ ตวั อยา่ งหนึ่งท่ีแสดง
ให้เหน็ ภูมิปัญญาอนั เฉลียวฉลาดของคนในท้องถ่นิ ทใ่ี ช้ภมู ิปญั ญาสามารถนำสง่ิ ที่มีอย่ใู น
ชุมชนมาประยุกต์ทำเปน็ เคร่ืองมือเครือ่ งใชใ้ นชวี ิตประจำวัน ซ่งึ มีประโยชน์ในการดำรงชีวติ
จะเห็นไดว้ ่าหัตถกรรมเครื่องจักสานมีมานานแล้วและได้มกี ารพัฒนามาตลอดเวลาโดยอาศัย
การถา่ ยทอดความร้จู ากคนรุ่นหนึง่ ไปสคู่ นอกี รนุ่ หนึ่ง การดำรงชวี ติ ประจำวนั ของชาวบ้าน
ส่วนใหญ่ไมไ่ ด้เอาการรู้หนงั สือมาเก่ียวข้อง การเรียนร้ตู ่างๆ อาศยั วธิ กี ารฝกึ หดั และบอก
เลา่ ซงึ่ ไมเ่ ป็นระบบในการบันทึก สะท้อนใหเ้ หน็ การเรยี นรู้ ความร้ทู ่สี ะสมท่สี บื ทอดกันมาจาก
อดีตมาถึงปัจจุบันหรือทีเ่ รียกกนั วา่ ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ดังน้ันกระบวนถา่ ยทอดความรู้จึงมี
ความสำคญั อยา่ งยง่ิ ทท่ี ำภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ น้นั คงอยตู่ ่อเนื่องและย่งั ยนื

6. ลักษณะสำคัญของภมู ิปัญญา
การทำเคร่ืองจักสานท่ีเป็นไมไ้ ผแ่ ละหวาย กก ใบลาน ใบมะพร้าว เริ่มต้นจากการ

เตรียมตอก คอื การเตรยี มไม้ไผ่ หวาย นำวสั ดทุ ีจ่ ะใช้ในสานให้เปน็ ซีต่ ามความต้องการที่จะใช้
แลว้ จึงสาน ถัก ทอ ตามลวดลายและรูปทรงที่จะทำ เครื่องจักสานทดี่ จี ะไม่มีโลหะเป็น
สว่ นประกอบปนอยู่ หากแต่ใช้วัสดุพวกเดยี วกัน เชน่ หวาย เชอื ก และเดือยไม้ไผ่เป็นเครอ่ื ง
ผกู ยดึ และเปน็ โครงสร้าง

7. ขั้นตอนการถ่ายทอดความรู้
วัตถุดิบในการจักสาน ท่ีใชก้ นั ท่ัวไปมีหลายอย่างได้แก่ ใบเตย ลำเจยี กหรือปาหนัน
ผักตบชวา ยา่ นลิเพา กระจดู กก ใบตาล ใบลาน หวาย ไม้ไผ่ แต่ทีน่ ิยมนำมาใชท้ ำงานจัก
สานมากท่ีสดุ คอื ไม้ไผแ่ ละหวาย เน่อื งจากคงทน ราคาไม่แพง วัตถดุ บิ หาได้ งา่ ยมอี ยู่ทัว่ ไป
การเตรยี มไม้ไผ่ เลือกลำต้นท่ีมคี วามตรง ลำปล้องยาว ผวิ เรียบเปน็ มนั หลงั จากตัดออกมา
จากกอ นำมาแชน่ ำ้ ตลอดท้ัง ลำเพื่อให้ไม้ไผ่มีความสดและปอ้ งกนั มด ปลวก มอด เจาะไช

เมอื่ จะนำมาใช้งานจึงตัดเอาตามขนาดที่ตอ้ งการมาผา่ ออกแล้วนำไปจกั เปน็ ตอกแล้วตากแดด
ใหแ้ หง้

8. บคุ คล/หนว่ ยงานท่ีเขา้ มารับความร้จู ากภมู ปิ ญั ญา
- นักเรยี น นกั ศกึ ษา ประชาชนตำบลดู่
- บุคคลทั่วไปทสี่ นใจ

ภาพประกอบ

1. ชอ่ื ภูมปิ ญั ญา การทอผ้าไหม
2. เจา้ ของภูมิปัญญา นางจันทา คำพนั ธ์ เกิด 26 มกราคม 2504 อายุ 52 ปี
3. ท่ีตัง้ /ท่อี ยู่ 58 หมู่ 2 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จงั หวดั ศรีสะเกษ
4. ประสบการณ์ 30 ปี
5. ประวตั ิความเปน็ มา/สาระท่ไี ดจ้ ากภูมิปัญญา

ผา้ ไหมมดั หม่ีเปน็ ผา้ ท่ไี ด้รับการยอมรับวา่ เป็นงานทอผา้ ที่มีเอกลักษณ์ ของชาวอิ
สานมาช้านาน เนอื่ งจากมคี วามสวยงาม มลี วดลายท่ีเปน็ เอกลกั ษณบ์ ง่ บอก ถงึ ภูมปิ ญั ญาของบรรพ
บุรษุ ไดเ้ ป็นอยา่ งดีแตใ่ นปจั จุบันพบว่า ตลาดการค้าผ้าไหมขยายวงกวา้ ง การแขง่ ขนั มีมากข้นึ การทอ
ผา้ ไหม มดั หมี่จงึ ต้องอาศยั ความสามารถและฝีมือของผ้ทู อ ประกอบกับลวดลายทจ่ี ะสามารถจำหนา่ ย
ไดใ้ นตลาดจำเปน็ อยา่ งยิ่งทผี่ ู้ทอผา้ ต้องได้ศึกษา ทิศทางและแนวโน้มการตลาด ออกแบบลวดลายให้
สอดคลอ้ งกับความต้องการของผู้บรโิ ภค และทันสมยั ควบคกู่ บั อนุรักษล์ วดลายของผา้ ไหมมดั หมี่
โบราณ เพ่อื เป็นการสืบทอดงานฝีมอื อนั ทรงคุณค่าไปยงั รนุ่ ลกู รุ่นหลาน
6. ลกั ษณะสำคญั ของภูมิปัญญา

เสน้ ใยไหมหน่งึ รงั (รังเดี่ยว) ประกอบดว้ ยโปรตนี 2 ส่วน คอื ส่วนทีเ่ ป็นเส้นใยไหมเรยี กว่า
“ไฟโบรอิน” มีลักษณะเป็นเสน้ ใย 2 เส้นเลก็ ละเอยี ดอ่อนมากพันกนั เรียงตวั ขนานโดยผวิ ของเสน้ ใย
แนบชิดกันไปตลอดตามแนวยาว ลกั ษณะภาคตัดขวางของเสน้ ใยไหมแตล่ ะเส้น คล้ายกับรูป
สามเหลยี่ มมมุ มน มฐี านชนกัน และเชอ่ื มตดิ กันด้วยกาวไหม เรียกว่า “เซรซิ ิน” กาวไหมจะเคลือบ
ผวิ เสน้ ใยไหมแตล่ ะเส้นเอาไวใ้ ห้รวมเป็นเส้นเดยี ว
7. ข้นั ตอนการถา่ ยทอดความรู้
- ศึกษาขอ้ มูลตัวไหม ตน้ หม่อน การเพาะเลี้ยง การสาวไหม การย้อมสี การออกแบบลายผ้าไหม การ
มัดหมล่ี ายต่างๆ การทอผา้ ไหม
8. บุคคล/หน่วยงานที่เขา้ มารับความรู้จากภมู ิปญั ญา
- นกั เรียน นกั ศึกษา ประชาชนตำบลดู่
- บคุ คลทัว่ ไปทสี่ นใจ

ภาพประกอบ

1. ชื่อภูมปิ ญั ญา ไพหญ้า
2. เจา้ ของภูมปิ ัญญา นางหม่อน เครือแสง เกิด - / - / 2481 อายุ 75 ปี
3. ที่ตั้ง/ทอี่ ยู่ 33/1 หมู่ 2 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
4. ประสบการณ์ 20 ปี
5. ประวัตคิ วามเป็นมา/สาระที่ไดจ้ ากภมู ปิ ัญญา

ในสมัยกอ่ นชาวบา้ นในสมยั น้ันไม่มีทด่ี ินทำมาหากนิ ชาวบ้านจึงคดิ หาวิธี นำหญ้าคาที่ขึ้น
บริเวณเชิงเขา มาผลติ เป็นวัสดุ อปุ กรณ์ เพอื่ ทำที่อยู่อาศยั และค้าขายเพ่ือความอย่รู อดของตนเอง
และครอบครวั ซงึ่ หมบู่ ้านนไ้ี ด้ทำไพหญา้ คามาเป็นเวลานานหลายสิบปี และปัจจุบนั ก็ยงั ทำอยซู่ ึง่ เป็นที่
นิยมของผซู้ อ้ื ในฤดูร้อน เพราะไพหญา้ คานี้ จะสามารถกนั ความร้อนไดด้ ีกว่าสงั กะสี ดังนน้ั ไพหญา้ คา
จึงเปน็ ทนี่ ิยมของผู้บริโภค

6. ลักษณะสำคญั ของภมู ิปัญญา
ไพหญา้ คาสามารถนำไปใชเ้ ป็นหลงั คากันแดดกันฝนได้เปน็ อย่างดี นอกจากนห้ี ลังคาหญ้าคา

ยังให้ความเย็นไดด้ ีกว่าการมงุ หลงั คาจากกระเบ้ืองและ สังกะสซี ่งึ มีราคาแพงกวา่ หลายเท่าตัว อายุ
การใช้งานของหลงั คาหญา้ คาใชไ้ ดน้ านถงึ 3 - 5 ปี แลว้ แต่ความหนาของคาท่ีใช้ นอกจากน้บี างราย
ยังซ้ือไปใชใ้ นสถานกอ่ สรา้ งเพิงพกั ชั่วคราว ,ซุม้ ศาลาพักผ่อน , ฟารม์ หม,ู ฟารม์ ไก,่ ฟาร์มวัว หรอื นำไป
ขายตอ่ อีกทอด

สำหรับต้นทนุ ทัง้ หมด ตัง้ แต่วัตถดุ บิ หญ้าคาแห้ง คา่ ไม้สำหรับเปน็ แกนถัก ไปจนถงึ คา่ แรง
มัดและค่าแรงถักไพหญ้าคา และคา่ ขนส่ง ก็ยังเหลือกำไรประมาณ 6 บาท ตอ่ หน่ึงอนั โดยใช้
ชว่ งเวลาประมาณ 4-5 เดือนในชว่ งหนา้ แลง้ และหลังฤดูเก็บเกีย่ วขา้ วโพดแลว้ สามารถผลติ หญ้าคา
มงุ หลังคาได้มากสุดถึง 3,000-5,000 ตบั มีรายได้เสรมิ ประมาณ 18,000 -30,000 บาท ต่อปี ซึง่ ถือ
ว่าดีกวา่ การไปทำไร่ข้าวโพด เนื่องจากวา่ ไมม่ ตี ้นทนุ เร่ืองคา่ เมล็ดพันธ์ุ ค่าปยุ๋ คา่ ยา และที่สำคญั ได้
ทำงานอยู่กบั บา้ นดูแลครอบครัวด้วย

7. ขนั้ ตอนการถ่ายทอดความรู้
- การเลือกหญ้าคา การเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์ ข้ันตอนและวธิ กี ารทำ

8. บคุ คล/หน่วยงานท่เี ข้ามารบั ความรจู้ ากภูมปิ ญั ญา
- นกั เรียน นักศึกษา ประชาชนตำบลดู่
- บุคคลท่ัวไปท่ีสนใจ

ภาพประกอบ

1. ชื่อภูมิปญั ญา การตมี ีด
2. เจา้ ของภูมปิ ัญญา นายสมศรี คำผาย เกิด - / - / 2496 อายุ 60 ปี
3. ทตี่ ั้ง/ทีอ่ ยู่ 70 หมู่ 2 ตำบลดู่ อำเภอราษีไศล จังหวัดศรสี ะเกษ
4. ประสบการณ์ 40 ปี
5. ประวตั คิ วามเปน็ มา/สาระที่ได้จากภมู ิปัญญา

มีด คอื เครือ่ งมือชนิดแรกๆ ท่มี นุษยป์ ระดษิ ฐ์ข้นึ เพ่ือใช้ในชีวติ ประจำวนั มาอย่างยาวนาน
เก่ยี วข้องสัมพันธ์กบั แทบจะทุกกิจกรรม ในการดำเนินชวี ติ ไม่ว่าจะเปน็ เผ่าพันธ์ หรือกลุ่มสังคมใดๆ ก็
ตาม มีดเปน็ เครื่องมือตดั เฉอื นชนดิ มคี มสำหรบั ใช้ สบั ห่นั เฉือน ปาด บางชนดิ อาจมปี ลายแหลม
สำหรับกรดี หรือแทง มกั มีขนาดเหมาะสมสำหรับจบั ถือด้วยมือเดียว ถา้ กล่าวถึงเรอ่ื งมดี หลายๆ
ประเทศมกั มมี ีดเป็นเอกลักษณ์ของตนเองท่ีชนชาวพน้ื เมืองใช้สอยกนั หรือ นิยมใช้เปน็ ประจำ เช่น มดี
กรขู ่า ทีใ่ ชใ้ นประเทศอนิ เดีย กริชของประเทศอินโดนเี ซยี หรอื มดี ตระกลู โบวี ท่ีใช้ในประเทศทาง
ตะวันตก สำหรบั ประเทศไทยมดี ทเ่ี ป็นเอกลักษณ์คงหนไี ม่พ้น มดี เหน็บ อีเหน็บ หรือ มดี ปาดตาลทไี่ ม่
มีของประเทศใดเหมือน เป็นเอกลกั ษณ์ทล่ี งตวั และใชป้ ระโยชนไ์ ดส้ ูงสดุ ในการพกพาหรอื นำติดตัวไป
ตา่ ง แดนหรือเขา้ รกเข้าพง การออกแบบรูปทรงมีดอาจจะแตกตา่ งกนั บา้ ง ก็เป็นเพียงรูปลักษณท์ ช่ี ่าง
แตล่ ะคนจะสร้างสรรคข์ นึ้ มา เพือ่ จดุ ประสงค์ทีแ่ ตก ตา่ งกันออกไป แต่ยังคงเอกลักษณข์ องภูมิปญั ญา
ชาวบา้ นทต่ี วั มีดตีขึน้ จากเหล็กกล้า ผ่านกระบวนการตีจนไดร้ ปู มีดทีสวยงาม ปลายแหลมตำ่ ลง
เลก็ นอ้ ย ตรงกลางของมีดป่องออกแลว้ ไปคอดกิ่วตรงดา้ ม กัน่ ของมดี เรียวเลก็ ยาวพอประมาณเพ่ือ
เปน็ แกนต่อกับด้ามมดี มองโดยรวมก็สามารถบอกไดถ้ ึงขุมพลงั ทซี่ ้อนอยภู่ ายใน ทสี่ ามารถแล่ ฟัน
แทง รวมไวใ้ นมีดเหน็บเพยี งเลม่ เดยี ว ซง่ึ ตา่ งจากมดี ของประเทศอื่นๆ ทมี่ ีคณุ สมบตั ใิ นการใช้งาน
เพยี งหนง่ึ หรอื สองอยา่ งเท่าน้ัน
ประวัตขิ องมีดในประเทศไทย

คน้ พบครง้ั แรกราว 30,000 ปี ตามแหล่งโบราณคดีต่างๆ โดยวัสดุที่ใช้ทำมีด จะแตกต่างกนั ไป
ตามยุคสมัย มีดในยคุ หิน มักทำจากกระดูกหรอื หินท่ี กระเทาะให้มคี วามแหลมคมเพ่ือใช้เป็นเคร่อื งมอื
และอาวุธ โดยมีหลักฐานจากแหลง่ โบราณคดีในภูมิภาคต่างๆ เช่น แหล่งโบราณคดถี ำ้ หลงั โรงเรยี น
จังหวัดกระบ่ี ถ้ำในอำเภอไทรโยค ถำ้ ต่างๆในบริเวณลุ่มนำ้ แควน้อย จังหวัดกาญจนบุรี ถ้ำผีแมนใน
จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน เพงิ ผาชา้ งท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติ ออบหลวง จังหวดั เชยี งใหม่ แหล่งโบราณคดีบา้ นเกา่
จงั หวดั กาญจนบรุ ี แหลง่ โบราณคดีโนนปา่ หวาย แหล่งโบราณคดบี ้านท่าแค อำเภอเมอื ง จังหวัด
ลพบรุ ี แหล่งโบราณคดโี คกเจรญิ แหลง่ โบราณคดโี นนนกทา อำเภอภูเวียง จงั หวัดขอนแกน่ แหล่ง

โบราณคดีโนนเกา่ น้อยในด้านตะวนั ออกของหนองหาน อำเภอกมุ ภวาปี แหลง่ โบราณคดีบ้านเชียง
อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี เป็นตน้

6. ลักษณะสำคัญของภูมิปัญญา
ส่วนประกอบของมีด
1. ส่วนปลาย เปน็ สว่ นท่แี หลมทสี่ ดุ มีไว้ใช้ในการแทง มีดทใ่ี ชส้ ำหรบั ฆา่ สตั ว์ในอดตี ก็ใช้มีด

เหน็บน้แี ทงคอสัตว์ ญาติคนงานตเี หลก็ ของผเู้ ขยี นเคยโดนมดี เหน็บแทง บาดแผลทเ่ี กิดขึ้นยาวตงั้ แต่
ทอ้ งไปจนเกือบถึงคอ กระดูกหนา้ อกแตกออก นค้ี ือพลงั ของความชำนาญในการใช้มดี เหน็บ และพลงั
ของรูปทรงมีดท่ีออกแบบให้มีความสามารถแทงได้อย่างดี

2. สว่ นหน้า คือ ส่วนโค้งตง้ั แต่ทอ้ งมดี ท่ีกว้างทีส่ ดุ ไปจนถงึ ปลายมดี เปน็ สว่ นที่ใช้แล่เน้อื ได้
เป็นอย่างดี เทียบได้กบั มีดแลเ่ นอ้ื ตามตลาดสดท่ัวไป คมมดี ในส่วนนชี้ ่างตีมดี จะตใี หบ้ างและชุบให้แข็ง
กวา่ สว่ นอื่นๆ ผ้เู ขยี นเคยเห็นคนอบุ ลราชธานแี ลว่ วั ทัง้ ตัวโดยไม่ใช้มีดอ่ืนเลย สามารถเลาะกระดูกได้
ทุกชิน้ และยงั สามารถสับกระดูกท่เี ป็นชนิ้ ใหญๆ่ ได้ดี และในส่วนน้ีหากวางมีดบนฝา่ มือหันดา้ นคมไว้
ทางน้ิวโปง้ มือยงั สามารถใชจ้ ัก ตอกเหลาไม้

3.สว่ นทอ้ ง เป็น สว่ นท่กี วา้ งท่สี ุดของมีด หากจับด้ามมดี ให้อยใู่ นแนวระนาบจะเห็นวา่ ส่วนน้ี
จะต่ำท่สี ดุ นำ้ หนกั ของมดี สว่ นใหญจ่ ะอยใู่ นบรเิ วณน้ี ทำให้เหมาะสำหรับในการฟนั เช่นเดยี ว กับ
ขวาน เพยี งแต่มีคมบางกวา่ ทำให้เหมาะสำหรบั สับและห่นั ได้ดีอกี ด้วย คมมดี ในสว่ นนจี้ ะหนาและตมู
กวา่ ส่วนหน้า การชบุ จะแข็งน้อยกวา่ ส่วนหนา้ เลก็ นอ้ ย ทำให้มีความแข็งเปราะน้อยลง เพื่อความ
คงทนในการใช้งาน

4. ส่วนเอว หรือส่วนโคนของมดี จะอยู่ถัดมาจากส่วนท้องมีดจนถึงดา้ ม ส่วนนจ้ี ะเปน็ ส่วนท่ีมี
คมหนาท่สี ดุ และมีการชุบแขง็ นอ้ ยทสี่ ดุ ดว้ ย เพ่ือป้องกนั การหักในบรเิ วณน้ี เน่อื งจากเป็นส่วนท่แี คบ
ทส่ี ุดอีกดว้ ย โคนมีดเหมาะสำหรับสับของท่ีมีความแขง็ เพ่ือให้แตกออกไดง้ ่ายเชน่ ผ่าไม้ ผา่
กะลามะพรา้ ว ฟันลวด หรือตะปู เปน็ ตน้

5. ส่วนกน่ั เป็น สว่ นทอี่ ยูใ่ นด้ามมีด เพ่ือยึดต่อกบั ด้าม มีขนาดเล็กกว่าสว่ นเอวเขา้ มาขา้ งละ
เทา่ ๆกัน แล้วเรยี วเล็กลงไปยาวประมาณ 4-5 นิ้ว จะเปน็ ส่วนทไ่ี ม่ไดผ้ า่ นการชบุ แข็ง เพ่ือป้องกัน
การหกั ของกัน่ เอกลกั ษณ์ของมดี เหนบ็ ในส่วนน้ีในปัจจบุ นั ไดก้ ลายเปน็ ดา้ มไมป้ ระกบ เพราะขาด
ความเขา้ ใจและเพื่องา่ ยในการใส่ด้าม


Click to View FlipBook Version