ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
(The Philosophy of Sufficiency Economy)
เศรษฐกจิ ฐานราก / เศรษฐกจิ พอเพยี ง
การพฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยง ขององคพระบาทสมเดจพระ
เจ้าอยูหัว เป็นแนวทางหน่ึงที่พระองค์ทรงคิดค้น และให้แนวทางไวเพอพสกนิกรของพระองค ได้
ตระหนักถงสภาวการณ์ของโลกท่ีเปลี่ยนไป คือ การพฒนาในปจจุบนจะมุ่งเนนการพฒนาความ
เจริญทางด้านวตถุ หรอื จะพดวา่ เปน็ โลกแหง่ วัตถุนิยมก็ไมผ่ ดิ การพฒั นาทางดา้ นวัตถอุ ยา่ งรวดเรว็ จะ
ทาใหว้ ถิ ีชีวิตของผู้คนเปล่ียนไป ครอบครวั / ชมุ ชนหรือสังคมชนบทล่มสลาย ทางหน่ึงที่ตอ้ งกลบั มา
ทบทวนถงึ ผลการพฒั นาท่ีเกิดข้นึ ในปัจจบุ ัน การพฒั นาทางวตั ถุแบบสุดโตง่ จึงไม่ใช่ทางเลือกน้ดี นี ัก
ควรมกี ารถอยลงมาหรือก้าวอยา่ งระมัดระวัง หรอื จะใช้คาว่ามัชฌิมาหรือทางสายกลางก็ได้ เมอื่ มรี ะบบ
เศรษฐกิจระดับใหญ่(ระดับชาติ) หรอื มหภาคก็ควรมเี ศรษฐกิจระดับเล็ก (ชุมชน หรอื ครัวเรอื น) ซ่งึ จะ
เป็นฐานที่รองรบั ระบบเศรษฐกจิ ใหญ่หรือขา้ งบนแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจ จงึ เปน็ เสมอื นเกาะ
พอเพยี ง
ปอ้ งกันตนเองทางเศรษฐกิจของประเทศไทยไดเ้ ป็นอยา่ งดี
เศรษฐกจิ พอเพียง คืออะไร
พอประมาณ
มีภมู คิ ้มุ กนั มีเหตผุ ล
นาไปสู่
เศรษฐกจิ / สังคม / สิ่งแวดล้อม / วฒั นธรรมสมดุล / พร้อมรบต่อการ
เปลยี่ นแปลง
แ น วค ิดิ
หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรชั ญาท่ีช้ถี ึงแบบการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ติ นของประชาชนใน
ทุกระดบั ต้ังแต่ระดับครอบครวั ระดบั ชุมชน จนถึงระดบั รฐั ทง้ั ในการพฒั นาและในการบรหิ ารให้
เปน็ ไปใน
“ทางสายกลาง” โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวฒน์
เป้า ประ
สงค ม่งุ ให้เกิดความสมดลุ และพรอ้ มตอ่ การรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ และ
กวา้ งขวางทงั้ ทางดา้ นวัตถุ สังคม ส่ิงแวดลอ้ มและวฒั นธรรมจากโลกภายนอก
หลกั การ ความพอเพยี ง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล และการสรา้ งภมู ิคมุ้ กันทีม่ ี
ในตวั พอสมควร ตอ่ การมผี ลกระทบใด ๆ อันเกดิ จากการเปลี่ยนแปลงท้งั ภายในและภายนอก
เง่อื นไ ขพ้ืนฐาน (ความรู้ คู่
คุณธรรม) • จะตอ้ งอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยา่ งย่ิง ในการนาวชิ าการ
ตา่ ง ๆ มาใช ในการวางแผนและการดาเนินงานทุกขน้ั ตอน
• การเสริมสรา้ งพน้ื ฐานดา้ นจติ ใจของคนใหป้ กติ ให้มสี านกึ ในคุณธรรม ความซื่อสตั ย
สุจรติ และให้มีความรอบรทู้ ี่ ดาเนนิ ชีวติ ดว้ ยความ ความเพยี ร มสี ติ มีปญั ญา และความ
รเหอมบาคะอสบม อดทน
กรอบปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ฐานราก วธปฏิบตั
มความรรอบคอบ - พอประมาณ
- มเหตผล
ระมดระวง
เปนคนดมคณธรรม - มภมคมกนในตวทด
ซอสัตย สจรต ขยนอดทน
แบงปน
นาไปส เปาหมาย
- ความสข
- ความสมดล มนคง รองรบการเปลยนแปลง
ยงยน สรางเครอขายมสวนรวม
อสรภาพ เสรภาพ
เศรษฐกิจพอเพยงเป็นปรัชญาชถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏบัติตนของประชาชนในทุก
ระดับต้ังแต่ครอบครัวระดับชมชนจนถึงระดับรัฐ ทงั้ ในการพฒนาและบรหิ ารประเทศใหด้ าเนนิ ทาง
สายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพื่อใหก้ ้าวทันต่อโลกยคุ โลกาภิวัฒน์ ความพอเพยง หมายถึง
ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีต้องมีระบบภมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควรต่อ
การมีผลกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปล่ียนแปลงทงั้ ภายในและภายนอก ทงั้ นี้จะตอ้ งอาศัยความรอบ
รู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวงอย่างยิ่งในการนาวชาการต่างๆ มาใชในการวางแผน และ
ดาเนินการ ทุกขน้ั ตอนและขณะเดยี วกันจะต้องเสรมิ สรา้ งพนฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจ้าหนา้ ทร่ี ัฐ นักทฤษฎี และนกั ธุรกิจในทกุ ระดับให้มจี ติ สานกึ ในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริตและให้มี
ความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชวตด้วยความอดทน ความเพยร มีสติปัญญา และความรอบคอบ
เพอให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกวางขวางทั้งด้านวตถุ สังคม
สง่ิ แวดลอ้ มและวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอยา่ งดี
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจท่ีสามารถอมชตัวเองได้ ให้ความพอเพยงกับตัวเอง
(Self Sufficiency) อยู่ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน โดยต้องสร้างพนฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดี
เสียก่อน คอื ต้ังตวั ให้มคี วามพอมพี อกนิ พอใช้ ไม่ใช่ม่งุ หวังแตจ่ ะทมุ่ เทสรา้ งความเจรญิ ยกเศรษฐกิจให้
รวดเร็ว แต่เพยงอย่างเดียว เพราะผู้ท่ีมีอาชพและฐานะเพยงพอท่ีจะพงตนเองย่อมสามารถสร้าง
ความเจรญิ กา้ วหน้า และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นทีส่ งู ขึ้นไปตามลาดับต่อไปได้ โดยใชหลักการพงตนเอง
5 ประการ คอื
1. ดา้ นจติ ใจ ทาตนให้เป็นท่ีพงของตนเอง มีจติ ใจเข้มแข็ง มีจติ สานกึ ทดี่ ี สร้างสรรค์ให้
ตนเองและ
ชาติโดยรวม มจี ติ ใจเอื้ออาทา ประนีประนอม ซ่อื สตั ย์สุจรติ เหน็ ประโยชนร์ วมเปน็ ทตี่ ัง้
2. ด้านสังคม แตล่ ะสังคมตอ้ งชวยเหลือเกอ้ื กูลกัน เชอมโยงกันเป็นเครอื ข่ายชมชนทแี่ ข็งแรง
เป็นอสิ ระ
3. ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ใชและจัดการอย่างฉลาดพร้อมทั้งการเพม
มูลค่า โดยใหย้ ึดหลักการของความย่ังยนื และเกิดประโยชนส์ ูงสุด
4. ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วเทคโนโลยีท่ีเข้ามาใหม่มีทั้งดี
และไม่ดี จงึ ต้องแยกแยะบนพนฐานของภมปิ ัญญาชาวบ้านและเลือกใชเฉพาะท่ี
สอดคล้อง
กับความตอ้ งการของสภาพแวดล้อม ภมิประเทศ สังคมไทย และควรพฒนาเทคโนโลยี
5. จากภูมิปญั ญาของเราเอง
ดา้ นเศรษฐกิจ แต่เดิมนักพฒนามักมงุ่ ทก่ี ารเพมรายได้ และไม่มีการมุ่งที่การลด
คา่ ใช้จ่าย ในเวลาเชนน้ีจะต้องปรับทิศทางใหม่ คือจะตอ้ งมงุ่ ลดรายจา่ ยก่อนเป็นสาคัญ
และยึดหลักพอกนิ พอใชแ้ ละสามารถอยู่ได้ดว้ ยตนเองในระดบั เบ้ืองตน้
แนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กับกการแก้ไขวกิ ฤตทิ างเศรษฐกจิ และปัญหาทางสังคมไทย
ประการแรก
เป็นระบบเศรษฐกิจท่ียึดหลักการท่ีวา “ตนเป็นที่พงแห่งตน” โดยมุ่งเน้นการผลิตพชผลให้
เพยี งพอกับความต้องการบรโิ ภคในครวั เรอื นเป็นอนดับแรก เมอ่ื เหลือพอจากการบรโิ ภคแล้วจงึ คานึงถึง
การผลิตเพอค้า ผลผลิตส่วนเกินท่ีออกสู่ตลาดก็จะเป็นกาไรของเกษตรกรลักษณะเชนนี้เกษตรกรจะมี
หลายสถานะ โดยจะเป็นผู้กาหนดหรือเป็นผู้กระทาต่อตลาดแทนที่วา ตลาดจะเป็นตัวกาหนด
เกษตรกร ดงั เช่นทีเ่ ป็นอยู่และหลักใหญ่สาคัญย่งิ คือ การลดค่าใชจา่ ยในการสรา้ งส่ิงอปโภคบรโิ ภคใน
ท่ดี นิ ของตนเอง เช่น ข้าว นา้ ปลา ไก่ ไข่ ไม้ผล พชื ผกั ฯลฯ
ประการท่สี อง
เศรษฐกิจพอเพยงใหค้ วามสาคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้าน ทง้ั นี้กลุ่มชาวบา้ นหรอื องค์กร
ชาวบ้านจาทาหน้าทเ่ี ป็นผู้ดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ให้หลากหลายครอบคลุมทั้งการเกษตร
แบบผสมผสาน หตั ถกรรม การแปรรูปอาหาร การทาธรกิจค้าขาย และการท่องเท่ียวระดับชมชน
ฯลฯ เม่ือองค์กรชาวบ้านเหล่าน้ีได้รับการพฒนาให้เข้มแข็ง และมีเครือข่ายที่กวางขวางมากขน้ึ แล้ว
เกษตรกรทงั้ หมด ในชมุ ชนกไ็ ดร้ ับการดแู ลใหม้ รี ายได้เพม่ิ ขน รวมท้ังได้รับการแก้ไขปัญหาทุกๆ ดา้ น
ซ่ึงจะทาใหเ้ ศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเติบโตได้อยา่ งมเี ส ถียรภาพ ซ่ึงหมายความวา เศรษฐกิจ
สามารถขยายตัวต่อสภาวการณ์ดา้ นการกระจายรายได้ที่ดขี นึ้
ประการท่สี าม
เศรษฐกิจพอพยงต้งั อยู่บนพนฐานของความเมตตา ความเอออาทรและความสามคั คีของสมาชก
ในชมชน ในการร่วมแรงร่วมใจเพอประกอบอาชพต่างๆ ให้บรรลุผลสาเร็จประโยชน์ท่ีเกิดขึ้นจึงไม่ได้
หมายถึง รายได้แต่เพยงมิติเดียว หากแต่ยังรวมถึงประโยชน์ด้านอนๆ ดว้ ย ได้แก่ การสร้างความ
ม่ันคงให้กบั สถาบันครอบครวั สถาบนั ชุมชน ความสามารถในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดลอ้ ม การพฒั นากระบวนการเรียนรูข้ องชมุ ชนบนฐานของภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ รวมท้ังการรักษา
ไว ซง่ึ ขนบธรรมเนียมประเพณีทดี่ งี ามของไทยใหค้ งอยตู่ ลอดไป
จากผลการพฒนาประเทศที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ในเชงปรมิ าณ พระบาทสมเดจ็ พระ
เจา้ อยู่หวั จงึ ทรงหว่ งใยในวถีการดาเนินชวตของประชาชน โดยทรงชแนะให้เห็นถึง “ความพอเพยง
พอสมควร ตามอตั ภาพ” เป็นแนวทางในการดาเนินชวตมาโดยตลอดและเมื่อเกิดวกฤตทางเศรษฐกิจ
ในปี ๒๕๔๐ ไดท้ รงขยายความให้เห็นถึงรูปธรรมของการไมป่ ระมาณตนเอง ความโลภและความเหน็
แก่ได้ โดยไมค่ านงึ ถงผลเสียท้ังต่อตนเองและสังคมส่วนรวมหลังจากนั้นได้พระราชทานพระราชดาริ
“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” มาเปน็ ปรัชญาในการดาเนินชวตให้กบั คนทกุ ระดับ ทกุ ภาคสว่ น ทกุ สาขาอาชพ
ซ่ึงเศรษฐกิจพอเพยงนั้นมิใชเปน็ ปรชั ญาหรอื แนวคิดเท่าน้ัน แต่เปน็ ข้อสรปุ ท่ีไดจ้ ากการปฏบัตจิ ริงแล
มิใชเปน็ เพยงปรชั ญาในการดาเนนิ ชวตของปจั เจกบุคคล แต่เป็นยุทธศาสตร์การพฒนาประเทศ และ
ปัจจบุ นั ไดก้ ้าวล้าไปสูย่ ุทธศาสตรก์ ารพฒั นาในอีกหลายๆ ประเทศ
เศรษฐกิจพอเพียง จงึ เป็นปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ได้พระราชทานเพอ
ช้ีแนะแนวทางในการดาเนินชีวติ และปฏิบตั ิตนให้กับประชาชนชาวไทยทกุ หมเู่ หล่าทุกระดับ ทุกสาขา
อาชพ มาโดยตลอดนานกวา ๓๐ ปี นับต้ังแตป่ ี ๒๕๑๗ โดยเป็นปรชั ญาแนวคิดทมี่ คี ุณค่าอยา่ งอเนก
อนันต์ เป็นแนวคิดใหม่ทก่ี อ่ ให้เกดิ การปรบั เปล่ียนกระบวนทศั นใ์ นการพฒนาประเทศภายใต้
สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลง และวกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจต่างๆ เพอเป็นเครื่องเตือนสติให้แก่
ประชาชนชาวไทยและสังคมไทยในการปรับตัวเพอรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ภายในและ
ภายนอกประเทศ รวมทั้งเป็นการนาเสนอแนวทางออกจากสภาวะวิกฤติที่กาลังเผชิญหน้าอยู่ โดย
สามารถประยุกต์เขา้ กับวถิ ภี มู ิปญั ญาไทยอย่างลงตัว
เศรษฐกิจพอเพยี ง ไม่ใช่แนวคดิ ลอยๆ ตามกระแสสังคมเท่าน้ันหากแตส่ ามารถนามาปรบั
ใช้ และแปลงแนวคดิ ไปสกู่ ารปฏิบัตไิ ด้เปน็ รูปธรรม ซึ่งปัจจุบันปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงได้รบั การ
ยอมรบั อย่างกวา้ งขวางจากประชาชนชาวไทย และชาวต่างชาติ ดงั ตวั อย่างแหง่ ความชนชม และเห็น
ถึงความสาคัญในวสัยทศั นท์ ก่ี วางและยาวไกลในด้านการพฒนาของพระบาทสมเด็จพร ะเจ้าอยู่หัว
โดย องค์การสหประชาชาติได้ประกาศเกียรติคุณวา พระองค์เป็น “พระมหากษัตริย์นักพฒนาของ
โลก” และทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวล “Human Development Lifetime Achievement
Award” แด่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว เมื่อวันท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๙ อนั นามาซงึ่ ความปลื้มติ
แกพ่ สกนิกรชาวไทยอยา่ งหาทีเ่ ปรียบมไิ ด้ ขอพระองค์ทรงพระเจริญยงิ่ ยนื นาน.