รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมนิ SAR
ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19
การศกึ ษาปฐมวยั และระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
รหัสสถานศกึ ษา ๑๐๗๔๕๙๐๐๘๘ โรงเรยี นอนุบาลบา้ นแพ้ว (วนั ครู ๒๕๐๐)
สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรสาคร
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ระดบั การศกึ ษาทเี่ ปิดสอน ช้นั อนุบาลปีท่ี ๒ ถงึ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖
ต้ังอยเู่ ลขท่ี ๑๓๙ หมู่ ๑ ตำบลหลกั สาม อำเภอบ้านแพ้ว จังหวดั สมุทรสาคร
รหัสไปรษณยี ์ ๗๔๑๒๐ โทรศัพท์ ๐ ๓๔๔๘ ๑๐๒๘ โทรสาร ๐ ๓๔๔๘ ๑๐๒๘
สำนกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา
(องค์การมหาชน)
ตอนที่ ๑
สรุปขอ้ มูลเกย่ี วกับสถานศกึ ษา
(ขอ้ มลู ณ วนั ที่ ๑๔ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔)
๑. ขอ้ มลู ทัว่ ไปของสถานศึกษา จำนวน หมายเหตุ
ประเภท ๒๓๖
๑.๑ ข้อมูลผูเ้ รียน ๖๙๓
จำนวนเด็ก
จำนวนผเู้ รยี น ๑
๑.๒ ขอ้ มลู บคุ ลากร ๘
ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ๓๑
ครปู ฐมวยั ๑๐
ครปู ระถมศึกษา
บุคลากรสนบั สนนุ ๘
อื่น ๆ โปรดระบ.ุ ............ ๒๑
๑.๓ จำนวนห้อง -
หอ้ งเรียนปฐมวัย -
ห้องเรยี นประถมศึกษา
ห้องปฏบิ ัติการ
หอ้ งพยาบาล
อื่น ๆ โปรดระบ.ุ ............
๑
๒. สรปุ ขอ้ มูลสำคญั ของสถานศกึ ษา จำนวน หมายเหตุ
ประเภท ๑:-
๒.๑ การศึกษาปฐมวยั ๑:-
อัตราส่วน ครู ต่อ เด็ก
อัตราส่วน หอ้ ง ตอ่ เดก็ -
จำนวนครคู รบชั้น
๒.๒ ระดบั ประถมศึกษา ๑:-
อัตราสว่ น ครู ต่อ ผู้เรียน ๑:-
อตั ราสว่ น หอ้ ง ต่อ ผู้เรยี น
จำนวนครู ครบชั้น -
๒.๔ รอ้ ยละของผู้สำเร็จการศึกษา
อนุบาลปีท่ี ๓ -
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ -
๒.๕ จำนวนวันท่ีสถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนจริง
ในปีการศึกษาที่ประเมิน -
การศึกษาปฐมวัย -
ระดับประถมศึกษา
๒
ตอนท่ี ๒
ผลการประเมนิ SAR รายมาตรฐาน และข้อเสนอแนะ
การพิจารณา ให้ทำเครื่องหมาย √ หน้าข้อท่พี บขอ้ มูลใน SAR
ใหท้ ำเครอื่ งหมาย X หน้าข้อทไ่ี มพ่ บขอ้ มูลใน SAR
การศึกษาปฐมวยั
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก
จดุ เน้น เด็กมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย มีพฒั นาการครบทัง้ ๔ ด้าน
ผลการพิจารณา ตัวชี้วัด สรุปผลประเมนิ
✓ ๑. มกี ารระบุเป้าหมายคุณภาพของเดก็ ปฐมวัย o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ )
✓ ๒. มกี ารระบุวธิ พี ฒั นาคณุ ภาพของเด็กปฐมวัยอย่างเป็นระบบ o พอใช้ (๔ ข้อ)
✓ ดี (๕ ข้อ)
ตามเปา้ หมายการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
✓ ๓. มีพฒั นาการสมวยั ตามเปา้ หมายการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
✓ ๔. มีการนำผลประเมินคุณภาพของเดก็ ปฐมวยั มาพัฒนา
เด็กปฐมวยั ให้มีพัฒนาการสมวัย
✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมนิ คุณภาพของเดก็ ปฐมวัยตอ่
ผทู้ เี่ กี่ยวข้อง
ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมนิ ระดบั สูงขึน้
สถานศึกษาควรระบุวิธีการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยโดยใช้โครงการกิจกรรมอะไรบ้าง เพื่อให้เด็ก
มีคุณภาพตามเป้าหมายที่กำหนด มีโครงการอะไรบ้างที่ประสบความสำเร็จ และไม่ประสบความสำเร็จ เพื่อนำผล
การประเมินไปส่งเสรมิ พฒั นาการของเด็กใหด้ ียงิ่ ข้นึ และรายงานผลการพัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวัย ใหผ้ ้ปู กครอง
ได้รับทราบ อย่างต่อเนื่อง เช่น จัดทำจุลสาร แผ่นพับ สมุดรายงานพัฒนาการเด็กหรือทางออนไลน์ เป็นต้น
เพ่ือผู้เก่ียวขอ้ งไดร้ ับทราบและสนับสนนุ ส่งเสรมิ พฒั นาการเดก็ ให้ดยี ่งิ ขึ้น
๓
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
จุดเน้น การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเป็นสำคญั ตามหน่วยการเรียนรู้ มีพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ จิตใจ
สังคมและสติปัญญา อย่างสมดลุ และเต็มศักยภาพ
ผลการพจิ ารณา ตวั ชี้วัด สรุปผลประเมิน
o ปรับปรงุ (๐-๓ ข้อ)
✓ ๑. มีการวางแผนการดำเนนิ การในแตล่ ะปีการศกึ ษา o พอใช้ (๔ ข้อ)
✓ ดี (๕ ข้อ)
✓ ๒. มีการนำแผนการดำเนนิ การไปใชด้ ำเนนิ การ
✓ ๓. มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผน
✓ ๔. มีการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรงุ แกไ้ ขใน
ปีการศึกษาตอ่ ไป
✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศึกษาให้
ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ได้รับทราบ
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดบั สูงขึ้น
สถานศึกษาควรมีการระบุขอ้ มูลใน SAR เพิ่มเติมในประเด็นการดำเนินงานโครงการหรือกิจกรรมที่ชัดเจน
โดยระบุวิธีดำเนินงาน วิธีการประเมินผล และผลการดำเนินงานไว้ชัดเจน ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร โดยควรมี
การระบขุ ้อมลู คา่ เปา้ หมายท่ีแน่นอน และเมอ่ื สน้ิ ปกี ารศกึ ษา นำผลการดำเนนิ การว่าสำเร็จตามค่าเป้าหมายหรือไม่
อย่างไร นำไปเปรียบเทียบกับผลการดำเนินการในรอบ ๓ ปีที่ผ่านมา มีการรายงานผลตามแผนการดำเนินงาน
แล้วนำเสนอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบ นำผลจากการชี้แนะในการกำกับ ติดตามจากบุคคลหรือหน่วยงาน
ทเี่ กีย่ วข้องมาใชพ้ ฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา
๔
มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเด็กเป็นสำคญั
จดุ เน้น ครจู ดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ทเ่ี นน้ เด็กเป็นศนู ยก์ ลาง สง่ เสรมิ พัฒนาการท้งั ๔ ด้าน
ผลการพิจารณา ตัวชว้ี ัด สรุปผลประเมิน
o ปรับปรงุ (๐-๓ ข้อ)
✓ ๑. ครูมกี ารวางแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรรู้ ายปี o พอใช้ (๔ ขอ้ )
✓ ดี (๕ ขอ้ )
ครบทกุ หนว่ ยการเรยี นรู้ ทุกชัน้ ปี
✓ ๒. ครทู ุกคนมีการนำแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ไปใช้
ในการจัดประสบการณโ์ ดยใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและ
แหลง่ เรยี นรู้ทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้
✓ ๓. มีการตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั ประสบการณ์
อยา่ งเป็นระบบ
✓ ๔. มีการนำผลการประเมินมาพัฒนาการจดั ประสบการณ์ของครู
อย่างเปน็ ระบบ
✓ ๕. มีการแลกเปล่ียนเรยี นร้แู ละให้ข้อมูลป้อนกลบั เพ่ือพัฒนา
ปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณ์
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดบั สูงข้ึน
สถานศึกษาควรกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาตามมาตรฐาน ด้านกระบวนการจัดประสบการณ์
การเรียนรู้ ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญทั้ง ๔ ประเด็น ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกับผลการ
ดำเนินงาน ของครวู า่ มีผลสำเร็จเปน็ ไปตามเป้าหมายหรอื ไม่ อยา่ งไร ควรจัดทำข้อมูลเก่ยี วกบั กระบวนการจัดการ
จัดประสบการณ์เรียนรู้เด็กปฐมวัยให้ชัดเจนและหลากหลาย เช่น จัดทำข้อมูลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
การพัฒนาการใช้สื่อธรรมชาติและเทคโนโลยี ข้อมูลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
ขอ้ มูลการนิเทศเพ่อื พฒั นาการจัดประสบการณเ์ รียนรู้ท่ีเหมาะสมกับวยั ของเดก็ อย่างต่อเนือ่ ง จัดทำเคร่ืองมือและ
วธิ ีการวดั ผลอย่างหลากหลายชัดเจน และควรเพ่มิ การจัดทำปฏทิ ิน แผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ และข้อมูล
แสดงหน่วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้ใน SAR ให้สมบูรณ์ครบถ้วน เพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัด
ประสบการณ์เรียนรู้ของครูตามเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ในปีการศึกษาต่อไป เพื่อนำไปรายงานผล
และนำเสนอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบ นำผลจากการชี้แนะจากบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาใช้พัฒนา
คณุ ภาพเด็กให้ดยี ่งิ ขนึ้ ต่อไป
๕
ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี น
จดุ เน้น ผเู้ รียนมีความเป็นเลศิ ทางวชิ าการเทยี บเคียงมาตรฐานสากล มคี ุณธรรมตามคา่ นิยมหลกั ๑๒ ประการ
ผลการพจิ ารณา ตวั ช้วี ัด สรุปผลประเมนิ
o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ )
✓ ๑. มกี ารระบเุ ปา้ หมายคุณภาพของผเู้ รยี น o พอใช้ (๔ ข้อ)
✓ ดี (๕ ข้อ)
✓ ๒. มีการระบุวิธีพฒั นาคณุ ภาพของผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบตาม
เป้าหมายการพัฒนาผู้เรยี น
✓ ๓. มีผลสมั ฤทธขิ์ องผู้เรยี นตามเปา้ หมายการพัฒนาผ้เู รยี น
✓ ๔. มีการนำผลประเมินคุณภาพของผู้เรยี นมาพัฒนาผู้เรียน
ด้านผลสัมฤทธ์ิใหส้ งู ขึน้
✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของผูเ้ รียนตอ่
ผ้ทู ีเ่ กย่ี วขอ้ ง
ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ให้ได้ผลประเมินระดบั สงู ขนึ้
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลลงใน SAR ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น ในประเด็นการระบุเป้าหมายคุณภาพของ
ผู้เรียนและรายงานผลการดำเนินโครงการ/กจิ กรรม โดยมีข้อมูลแสดงให้เห็นความสำเร็จเปรยี บเทียบกับเป้าหมาย
ตามที่สถานศึกษาที่กำหนดไว้ เช่น โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การทดสอบขั้นพื้นฐานระดับชาติ
มีการดำเนินการอย่างไร ควรหารูปแบบการพัฒนาที่เป็นกระบวนการอย่างเป็นระบบที่ส่งผลให้คุณภาพผู้เรียน
ประสบความสำเร็จ การพฒั นาคณุ ธรรม สุขภาวะทางร่างกาย มีกระบวนการพฒั นา วธิ กี ารประเมนิ คุณภาพโดยใช้
เครอ่ื งมือชนดิ ใด การรายงานผลการจัดการศึกษามีการประชาสมั พันธด์ ้วยวธิ ีการใด เช่น แผน่ พับ วารสารโรงเรียน
หรอื ผา่ นทางช่องทางการสร้างเครือข่ายเวบ็ ไซต์ของโรงเรียน เป็นตน้ ผลการพัฒนาผูเ้ รียนควรดำเนินการอย่างน้อย
ยอ้ นหลัง ๓ ปี เพอื่ แสดงใหเ้ หน็ ความต่อเนือ่ งของผลสำเรจ็
๖
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
จุดเน้น จัดการศึกษาให้ผูเ้ รียนมีความเป็นเลิศทางวชิ าการเทียบเคียงมาตรฐานสากล สู่ประชาคมอาเซยี นและ
ผู้เรียนมคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามคา่ นิยมหลัก ๑๒ ประการ
ผลการพจิ ารณา ตัวช้วี ัด สรุปผลประเมิน
o ปรับปรงุ (๐-๓ ข้อ)
✓ ๑. มกี ารวางแผนการดำเนินการในแต่ละปีการศึกษา o พอใช้ (๔ ขอ้ )
✓ ดี (๕ ขอ้ )
✓ ๒. มีการนำแผนการดำเนินการไปใช้ดำเนินการ
✓ ๓. มกี ารประเมินผลสมั ฤทธิ์ของการดำเนนิ การตามแผน
✓ ๔. มีการนำผลการประเมนิ ไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไข
ในปีการศึกษาตอ่ ไป
✓ ๕. มีการนำเสนอผลการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาให้
ผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ไดร้ บั ทราบ
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลประเมนิ ระดบั สงู ข้นึ
สถานศึกษาควรมกี ารระบุข้อมูลใน SAR เพิ่มเติมในประเด็นการดำเนนิ งานโครงการหรอื กจิ กรรมที่ยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือผลที่เกิดกับผู้เรียนให้ชัดเจนและสอดคล้องกับจุดเน้นที่มุ่งความเป็นเลิศทางวิชาการ
เทยี บเคยี งมาตรฐานสากล สปู่ ระชาคมอาเซยี น โดยระบุวธิ ดี ำเนนิ งาน วธิ กี ารประเมินผล และผลการดำเนินงานให้
ชัดเจน ใคร ทำอะไร ทไี่ หน อยา่ งไร ควรมกี ารเปรยี บเทยี บกับเปา้ หมาย ตามแผนท่ีวางไว้ โดยระบผุ ลการดำเนนิ งาน
เป็นไปตามแผนหรือสูงกว่าแผน หากไม่เป็นไปตามแผนควรเพิ่มหรือลดกิจกรรม/โครงการใด เพื่อให้บรรลุตาม
จุดเน้น ควรรายงานผลตามแผนการดำเนินงาน แล้วนำเสนอให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับทราบ นำผลจากการชแ้ี นะใน
การกำกบั ตดิ ตามจากบุคคลหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องมาใชพ้ ฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา และมีการประชาสัมพันธผ์ ลงาน
ของสถานศกึ ษาผ่านสอื่ ในรูปแบบตา่ งๆในรปู แบบออนไลน์ หรือเอกสารเพ่มิ ข้ึน
๗
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
จดุ เน้น ครูจดั การเรยี นการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ เน้นความเปน็ เลิศทางวิชาการ เทยี บเคยี ง
มาตรฐานสากล มีคุณธรรม จริยธรรมตามคา่ นิยมหลกั ๑๒ ประการ
ผลการพิจารณา ตัวช้วี ัด สรุปผลประเมิน
o ปรับปรงุ (๐-๓ ขอ้ )
✓ ๑. ครูมีการวางแผนการจัดการเรยี นร้คู รบทุกรายวิชา ทุกชั้นปี o พอใช้ (๔ ขอ้ )
✓ ดี (๕ ข้อ)
✓ ๒. ครูทุกคนมกี ารนำแผนการจดั การเรยี นรู้ไปใช้ในการจดั
การเรยี นการสอนโดยใชส้ ื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและ
แหลง่ เรยี นรทู้ ี่เออ้ื ต่อการเรียนรู้
✓ ๓. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการจดั การเรยี นการสอน
อย่างเป็นระบบ
✓ ๔. มกี ารนำผลการประเมนิ มาพฒั นาการจัดการเรียนการสอน
ของครูอย่างเป็นระบบ
✓ ๕. มีการแลกเปล่ียนเรียนร้แู ละให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นา
ปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นการสอน
ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ให้ไดผ้ ลประเมินระดบั สงู ข้ึน
สถานศึกษาควรระบุข้อมูลลงใน SAR ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น ในประเด็นครูควรนำเสนองานในหน้าท่ี
ในเร่ืองของการวางแผนการจดั การเรียนรู้สาระการเรยี นรู้ทร่ี บั ผิดชอบใหค้ รบทกุ คน ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การนำ
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้
กระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริงที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ของผู้เรียน ควรนำสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้การจดั การเรียนรู้
ใหม้ ากขึน้ แสดงให้เห็นถงึ ข้นั ตอน เครอ่ื งมอื วธิ กี ารประเมินผลท่ีเป็นระบบที่ครูใชต้ รวจสอบความรู้ ความเข้าใจและ
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ของผเู้ รยี นท่ไี ด้หลงั จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละบทเรียนหรือหนว่ ยการเรียนรู้
ระบขุ ้อมูลท่ีครูไดจ้ ากการแลกเปล่ียนเรียนร้/ู การนิเทศ ไปปรับปรงุ พัฒนาหรอื แก้ปัญหาผู้เรียนให้ดขี ้ึน เป็นงานวิจัย
ในชั้นเรียน นวัตกรรมทางการศึกษา มีการเผยแพร่รายงานการพัฒนาผู้เรียนให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง คณะกรรมการ
สถานศึกษา ต้นสังกัด รับทราบในรูปแบบการประชุม เอกสาร แผ่นพับ วารสาร/เว็บไซต์โรงเรียน เป็นต้น
ควรดำเนนิ การย้อนหลงั อยา่ งน้อย ๓ ปี เพื่อแสดงใหเ้ หน็ ความต่อเนอ่ื งของผลสำเร็จ
๘
ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม
สถานศึกษาควรเขียน SAR ในครั้งต่อไปให้มีความสมบูรณ์ย่ิงขึน้ โดยมีขอ้ มูลการจัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพ
การศึกษาระยะสั้น ระยะยาว และแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา การดำเนินงานโครงการหรือกิจกรรม
ทย่ี กระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหรือผลที่เกิดกับผู้เรียนให้ชัดเจนและสอดคล้องกับจุดเน้นที่มุ่งความเป็นเลิศทาง
วิชาการเทียบเคียงมาตรฐานสากล สู่ประชาคมอาเซียน มีการสรุปโครงการ/กิจกรรมที่ประสบผลสำเร็จ และ
ข้อเสนอหรือแนวทางการพัฒนากิจกรรม/โครงการที่ยังไม่บรรลุจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ควรระบุข้อมูลพื้นฐาน
ให้ครบถ้วน ควรมขี อ้ มูลสรปุ พฒั นาการอยา่ งต่อเนือ่ งอย่างนอ้ ย ๓ ปี รวมถึงการระบคุ วามชดั เจนว่าได้เผยแพร่ SAR
ให้ผู้เกี่ยวข้องต่าง ๆ ทั้งคณะกรรมการสถานศึกษา ต้นสังกัด หรือผู้เกี่ยวข้องให้ได้รับทราบทั้งในรูปแบบออนไลน์
และเอกสาร รวมทั้งมีช่องทางให้ผู้อ่านหรอื ผู้ท่ีสนใจสามารถเขา้ ถึงข้อมูลรายงานการประเมินตนเอง และหลักฐาน
อื่น ๆ ที่สถานศึกษาจัดทำได้ง่ายขึ้น เช่น การจัดทำลิงก์ หรือ QR Code ที่เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลของการสรุป
การปฏบิ ตั งิ านแต่ละโครงการท่ีนำมาอ้างองิ ในแต่ละมาตรฐาน เป็นต้น
๙
คำรบั รอง
คณะผปู้ ระเมินขอรับรองว่าได้ทำการประเมนิ SAR ตามเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพภายนอกของสำนักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ซง่ึ ตัดสนิ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกบนฐาน
ความโปรง่ ใส และยุติธรรมทุกประการ ลงนามโดยคณะผู้ประเมินดังน้ี
ตำแหน่ง ช่ือ - นามสกุล ลายมือชอ่ื
ประธาน นางกฤติยา มหาชนะวงศ์
กรรมการ นางสาวสนุ ทรี หมิ ารตั น์
กรรมการและเลขานุการ นายพจิ ารณ์ ดิษฐประชา
วันท่ี ๑๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔
๑๐