The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารวิชาการ chem's talk ไตรมาส 2-2564-2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Book, 2021-06-10 00:02:54

วารสารวิชาการ chem's talk ไตรมาส 2-2564-2

วารสารวิชาการ chem's talk ไตรมาส 2-2564-2

ขอกล่าวสวัสดีท่านผู้อ่านบทความวารสาร Chem’s talk ฉบับ
ไตรมาสที่ 2 ประจำปี 2564 ทุกท่าน 3 เดือนผ่านไป เราก็กลับมาพบกัน
อีกครั้ง เพื่อ Update บทความและความรู้ดีๆ อ่านแก้เหงาในช่วง Work
From Home ในขณะนี้ สำหรับวารสารฉบับนี้มีบทความเพื่อนำไปใช้กับ
งานในส่วนของการจัดส่งเคมีภัณฑ์ให้กับโรงไฟฟ้า ในหัวข้อ “ข้อยกเว้น
สําหรับการขนส่งวัตถุอันตราย” ในลักษณะหรือปริมาณที่อาจก่อให้เกิด
อันตรายน้อย เพ่ือความปลอดภัยในการขนส่ง สำหรับนักเคมีประจำ
โรงไฟฟา้ เรากม็ บี ทความทีเ่ กย่ี วกบั การตรวจวดั คณุ ภาพของนำ้ และไอน้ำใน
โรงไฟฟ้า ที่ใช้วัดคุณภาพน้ำ Condensate เพื่อตรวจสอบการรั่วของ
Condenser tube ภายใต้หัวข้อ “Cation Conductivity: Facts and
Fiction” และ “การทดสอบความเสียหายของ RO Membrane ด้วยวิธี
Fujiwara Test” ซึ่งเป็นวิธกี ารทดสอบเชงิ คณุ ภาพ เพอ่ื ยนื ยนั วา่ โครงสร้าง
โพลีเมอร์ Polyamide PA ที่เป็นโครงสร้างหลักของรีเวิร์สออสโมซิสเมม
เบรนถูกทำลายจนได้รับความเสียหายหรือไม่ หากสามารถประเมิน
เบื้องต้นได้ จะสามารถช่วยยืดอายุการใช้งานของ Membrane ได้ และ
สดุ ทา้ ยเราจะพาทุกทา่ นไปรจู้ กั กบั “การเรยี นรสู้ ู่การเป็นสงั คมคารบ์ อนต่ำ
: ถอดบทเรียนจากญี่ปุ่น” ซึ่งปัจจุบันนานาประเทศได้ตระหนักถึงปัญหา
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่
ของมนุษย์

สุดท้ายในสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่ง
ยังคงมีการระบาดอย่างต่อเนื่อง หลายหน่วยงานรวมถึง กฟผ. เองก็มีการ
Work From Home กันอย่างเต็มที่ เพื่อเป็นการเว้นระยะห่างทางสังคม
แต่เราจะผา่ นไปด้วยกันด้วยการสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยครั้ง กิน
รอ้ น ชอ้ นกลาง สง่ิ เหลา่ นี้ยังคงเป็นวธิ ที ่เี ราทกุ คนร่วมกนั ปฏิบตั ิได้ ขณะรอ
รับวัคซีนโควิด 19 เท่านี้ เราก็จะห่างไกลต่อโรค COVID-19 ไปด้วยกัน
แล้วพบกันใหมใ่ นฉบับหนา้

สุธิดา ปนิ่ ชัยศิริ
บรรณาธิการ

สารบญั

01 ข้อยกเว้นสำหรบั การขนส่งวตั ถุอันตราย
07 Cation Conductivity : Facts and

Fiction

15 การทดสอบความเสยี หายของ RO
Membrane ดว้ ยวธิ ี Fujiwara Test

20 เรยี นรู้สกู่ ารเป็นสังคมคาร์บอนต่ำ :
ถอดบทเรยี นจากญปี่ ุน่

1

ขอ้ ยกเว้นสำหรบั การขนส่งวตั ถอุ ันตราย

โดย วท.จฑุ ามาศ แหลง่ กรด
นกั วทิ ยาศาสตร์ ระดบั 7 แผนกบรหิ ารเคมีภัณฑ์

จากภารกิจหลักของแผนกบริหารเคมีภัณฑ์ สำหรับนิยามของคำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
กองเคมีภัณฑ์ ฝ่ายเคมี คือ การจัดหาเคมีภัณฑ์ที่มี ข้อยกเว้นสำหรับการขนส่งวัตถุอันตรายและ
คุณภาพ ทันต่อความต้องการของลูกค้า และมี กล่าวถึงในบทความดังน้ี
ความปลอดภัยในการขนส่ง ซึ่งจากบทความใน
วารสาร Chem’s Talk ฉบับที่ 4/2563 ไดก้ ลา่ วถึง หน่วยขนส่ง (Transport Unit) หมายถึง
ข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง รถบรรทุกหนึ่งคัน หรือรถลากจูงและรถพ่วง หรือ
สนิ ค้าอันตรายของประเทศไทย ซง่ึ ประกอบด้วย รถก่งึ พ่วงทตี่ ่อพ่วงกนั

1) พระราชบัญญตั วิ ตั ถอุ ันตราย วัตถุอันตราย หมายถึง วัตถุอันตรายตาม
2) พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก ประเภทที่กำหนดไว้ในประกาศกรมขนส่งทางบก
3) พระราชบัญญัติการขนส่งทางบกและ เรื่อง กำหนดประเภทหรือชนิดและลักษณะ
การบรรทุกวัตถุอันตรายที่ผู้ขับรถต้องได้รับ
ข้อกำหนดการขนส่งสินค้าอนั ตรายทาง อนุญาตเปน็ ผู้ขบั รถ ชนิดที่ 4
ถนนของประเทศไทย (TP-II)
ประเภทการขนส่ง (Transport Category)
ดังนั้น ในฉบับนี้เราจะมาทำความรู้จักกับ หมายถึง การแบ่งระดับความเป็นอันตราย
ข้อยกเว้นสำหรับการขนส่งวัตถุอันตราย ตามหมายเลขที่ ADR กำหนด โดยแบ่งได้เป็น
ตามประกาศกรมการขนส่งทางบก เรอ่ื ง ข้อยกเว้น
สำหรับการขนส่งวัตถุอันตรายในลักษณะ
ห รื อ ป ร ิ ม า ณ ท ี ่ อ า จ ก ่ อ ใ ห ้ เ ก ิ ด อ ั น ต ร า ย น ้ อ ย
พ.ศ.2559

2

5 ประเภท เรียงตามลำดับ ได้แก่ ประเภท ขอ้ ยกเว้นสำหรบั การขนสง่ วัตถอุ นั ตราย
การขนส่ง 0 มีระดับความเป็นอันตรายสูงสุด ถึง ตามประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง
ประเภทการขนส่ง 4 มีระดับความเป็นอันตราย
ตำ่ สดุ โดยกำหนดไว้ในคอลมั น์ 15 ของตารางบญั ชี ข้อยกเวน้ สำหรับการขนส่งวัตถุอันตรายในลักษณะ
รายชื่อวัตถุอันตรายตามประกาศกรมขนส่งทางบก ห รื อ ป ร ิ ม า ณ ท ี ่ อ า จ ก ่ อ ใ ห ้ เ ก ิ ด อ ั น ต ร า ย น ้ อ ย
เรอื่ ง รายช่ือวัตถอุ นั ตราย พ.ศ.2559 พ.ศ.2559 ได้กล่าวถึงข้อยกเว้นในการขนส่ง
วตั ถุอันตรายไว้ 2 ประการ ได้แก่
ปริมาณจำกัด (Limited Quantity)
หมายถึง ปริมาณสูงสุดต่อหนึ่งบรรจุภัณฑ์ภายใน 1. การขนส่งวัตถุอันตรายในปริมาณน้อย
หรือสิ่งที่ใช้ขนส่งสินค้าอันตราย เป็นข้อเสนอแนะ ต่อหน่วยการขนสง่ (กฎ 1,000 แตม้ )
เกี่ยวกับปริมาณของสินค้าอันตรายท่ีประเมินได้ว่า
มีความเสี่ยงต่ำในการขนส่ง ทั้งนี้ ปริมาณของ 2. การขนส่งวัตถุอันตรายในปริมาณจำกัด
สินค้าอันตรายที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์แต่ละชิ้นจะมี ต่อหน่งึ บรรจภุ ัณฑภ์ ายใน
ผลกับระดับความเสี่ยงซึ่งจะถูกกำหนดให้มีความ
แตกต่างกันออกไปในแต่ละ UN number ตามแต่ 1. การขนส่งวัตถุอันตรายในปริมาณน้อยต่อ
ระดับความรุนแรงหรือความเสี่ยงที่แตกต่างกัน หนว่ ยการขนส่ง (กฎ 1,000 แต้ม)
ออกไป สินค้าอันตรายที่ขนส่งในเงื่อนไข Limited
Quantities นี้ จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติ กฎ 1,000 แต้ม นำมาใช้ในการคำนวณ
ตามขอ้ เสนอแนะบางประการ ขอ้ ยกเวน้ ในการขนส่งวัตถุอันตราย โดยนำ factor
มาคูณกับปริมาณการขนส่ง หากค่าไม่เกิน 1,000
แต้ม จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตาม
ข้อกำหนดส่วนใหญ่ โดยค่าตัวคูณ (Factor)
สำหรับแต่ละประเภทการขนส่ง (Transport
Category) มคี า่ ดงั ตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 แสดงค่าค่าตวั คณู (Factor) สำหรับแตล่ ะประเภทการขนสง่ (Transport Category)

3

รูปที่ 1 แสดงประเภทการขนส่ง (Transport Category) ในตารางบญั ชีรายช่อื วตั ถอุ ันตราย

ตามประกาศกรมขนสง่ ทางบก เรอ่ื ง รายชือ่ วัตถอุ นั ตราย พ.ศ.2559

รปู ท่ี 2 แสดงตวั อยา่ งการคำนวณข้อยกเวน้ หรอื กฎ 1,000 แต้ม

จากรูปที่ 2 ซึ่งแสดงตัวอย่างการคำนวณ ปริมาณ x Factor = 30 x 3 = 90
ขอ้ ยกเวน้ หรือ กฎ 1,000 แตม้ เมือ่ ตอ้ งการขนส่ง
วัตถุอัตรายทั้ง 5 รายการรวมกันในรถบรรทุก รายการที่ 2 ก๊าซอะเซทิลีน เลข UN 1001
หนึง่ คนั สามารถคำนวณไดด้ ังนี้ จำนวน 1 ถัง ปริมาณ 30 กก. จัดอยู่ในประเภท
การขนส่ง 2 ซึ่งมีค่าตัวคูณ (Factor) เท่ากับ 3
รายการที่ 1 ก๊าซหุงต้ม เลข UN 1978 เมือ่ นำมาคำนวณพบวา่
จำนวน 1 ถัง ปริมาณ 30 กก. จัดอยู่ในประเภท
การขนส่ง 2 ซึ่งมีค่าตัวคูณ (Factor) เท่ากับ 3 ปริมาณ x Factor = 30 x 3 = 90
เม่อื นำมาคำนวณพบวา่

4

รายการที่ 3 ก๊าซออกซิเจน เลข UN 1072 • ประเภทการขนส่ง 1 ที่มีปริมาณรวม
จำนวน 1 ถัง ปริมาณ 20 ลิตร จัดอยู่ในประเภท สงู สุดตอ่ หน่วยขนส่งไมเ่ กิน 20
การขนส่ง 3 ซึ่งมีค่าตัวคูณ (Factor) เท่ากับ 1 ย ก เ ว ้ น เ ล ข UN 0081, 0082, 0084,
เมื่อนำมาคำนวณพบว่า 0251, 0331, 0332, 0482, 1005 แ ล ะ
1017 ที่มีปริมาณรวมสูงสุดต่อหน่วย
ปริมาณ x Factor = 20 x 1 = 20 ขนสง่ ไม่เกินกว่า 50

รายการที่ 4 นำ้ มนั ดีเซล เลข UN 1202 • ประเภทการขนส่ง 2 ที่มีปริมาณรวม
ปรมิ าณ 200 ลติ ร จัดอยใู่ นประเภทการขนสง่ 3 สูงสุดตอ่ หนว่ ยขนส่งไม่เกนิ 333
ซงึ่ มคี า่ ตัวคูณ (Factor) เท่ากับ 1 เม่ือนำมา
คำนวณพบว่า • ประเภทการขนส่ง 3 ที่มีปริมาณรวม
สูงสดุ ต่อหนว่ ยขนส่งไมเ่ กนิ 1,000
ปริมาณ x Factor = 200 x 1 = 200
• ประเภทการขนส่ง 4 ที่มีปริมาณรวม
รายการที่ 5 น้ำมันเบนซิน เลข UN 1203 สูงสดุ ตอ่ หนว่ ยขนส่งไม่จำกัด
ปริมาณ 200 ลิตร จัดอยู่ในประเภทการขนส่ง 2
ซึ่งมีค่าตัวคูณ (Factor) เท่ากับ 3 เมื่อนำมา ในกรณีที่ทำการขนส่งวัตถุอันตรายต่าง
คำนวณพบวา่ ป ร ะ เ ภ ท ก า ร ข น ส ่ ง ไ ป ด ้ ว ย ก ั น ใ น ห น ่ ว ย ข น ส่ ง
เดียวกันให้คำนวณปริมาณของวัตถุอันตราย
ปรมิ าณ x Factor = 200 x 3 = 600 กับ Factor แต่ละประเภทการขนส่ง ซึ่งปริมาณ
รวมสงู สุดตอ่ หน่วยขนสง่ ตอ้ งไม่เกนิ 1,000
ดังนั้น หากต้องการขนส่งวัตถุอัตราย
ทั้ง 5 รายการรวมกันในรถบรรทุกหนึ่งคัน 2. การขนส่งวัตถุอันตรายในปริมาณจำกัดต่อ
ต้องนำผลการคำนวณทั้ง 5 รายการมาบวกกัน ซ่ึง หนงึ่ บรรจุภณั ฑ์ภายใน
มีค่าเท่ากับ 1,000 แสดงว่า ในการขนส่งวัตถุ
อัตรายทั้ง 5 รายการรวมกันจะต้องปฏิบัติตาม ตามประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง
กฎการขนสง่ วตั ถุอนั ตราย ขอ้ ยกเวน้ สำหรบั การขนสง่ วัตถุอนั ตรายในลักษณะ
หรือปริมาณที่อาจก่อให้เกิดอันตรายน้อย
แต่หากต้องการขนส่งรายการที่ 5 น้ำมัน พ.ศ.2559 ได้กำหนดว่า การขนส่งวัตถุอันตรายที่
เบนซนิ จำนวน 200 ลติ ร เพยี งอยา่ งเดียว จะได้รับ บรรจุในปริมาณจำกัดหรือปริมาณที่น้อยต่อหน่ึง
การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดส่วนใหญ่ บรรจุภัณฑ์ภายใน (Limited Quantity) ที่มีการ
เนื่องจากคำนวณได้ 600 ซึ่งมีค่าน้อยกว่า ติดเครื่องหมายการบรรจุในปริมาณจำกัดตาม
กฎ 1,000 แต้ม รูปแบบ (๑) หรือ (๒) ที่หีบห่อหรือบรรจุภัณฑ์
ภายนอกท่บี รรจุวัตถุอันตราย ตามรปู ท่ี 3 จะได้รับ
จ า ก ค ่ า ก า ร ค ำ น ว ณ ร ะ ห ว ่ า ง ค ่ า ต ั ว คู ณ การยกเว้น ซึ่งสามารถตรวจสอบปริมาณจำกัด
(Factor) และปริมาณการขนส่ง สามารถสรุป (Limited Quantity) ของเคมีภัณฑ์ หรือวัตถุ
ปริมาณในการขนสง่ ทีไ่ ดร้ ับการยกเวน้ ไดด้ งั น้ี อันตรายแต่ละชนิดได้จาก คู่มือ ข้อกำหนด

5

การขนส่งสินค้าอันตรายทางถนนของประเทศไทย การปฏบิ ัตเิ มื่อได้รบั การยกเวน้
(Thailand’s National Provisions for Transport
of Dangerous Goods by Road เมื่อผลการคำนวณปริมาณรวมสูงสุดท่ี
อนุญาตต่อหน่วยขนส่งไม่เกินค่า 1,000 แต้ม
รูปที่ 3 แสดงเคร่ืองหมายการบรรจใุ นปริมาณจำกดั ไม่ต้องดำเนินการในบางเรอื่ ง ดังน้ี
(Limited Quantity)
ดา้ นเอกสารประจำรถ
นอกจากนี้ หากหีบห่อหรือบรรจุภัณฑ์ท่ี
บรรทุกรวมกันมีน้ำหนักเกินกว่า 8,000 กก.ต่อ ✓ ผู้ขับรถได้รับการยกเว้นไม่ต้องมี
หน่วยขนส่ง และหน่วยขนส่งมีน้ำหนักรวมสูงสุด ใบอนุญาตเป็นผู้ขับรถชนิดที่ 4 ตามประกาศเรื่อง
เกินกว่า 12,000 กก. จะต้องแสดงเครื่องหมาย เอกสารการขนสง่ ฯ
ตามรูปแบบ (1) ที่มีความยาวด้านละไม่น้อยกว่า
250 มลิ ลิเมตร ทดี่ ้านหนา้ และหลังหน่วยขนส่ง ✓ ไมต่ อ้ งมใี บรบั รองการฝึกอบรมพนักงาน
ขับรถ ตามประกาศ เรื่อง เอกสารการขนสง่ ฯ
รูปที่ 4 แสดงรปู คู่มือ ข้อกำหนดการขนส่งสินคา้ อันตรายทาง
ถนนของประเทศไทย (Thailand’s National Provisions for ✓ ไม่ต้องมีเอกสารข้อแนะนำเป็นลาย
ลกั ษณ์อักษร หรือข้อแนะนำพนักงานขับรถในกรณี
Transport of Dangerous Goods by Road) เกิดเหตุฉุกเฉิน ตามประกาศ เรื่อง เอกสารการ
ขนสง่ ฯ

✓ ไม่ต้องมีหนังสือรับรองการให้ความ
เห็นชอบรถ ตามประกาศ เรือ่ ง เอกสารการขนสง่ ฯ

ด้านอุปกรณ์ ประจำรถ และการทำ
เคร่ืองหมาย ติดป้ายท่ีหนว่ ยขนส่ง

✓ ไม่ต้องมีเครื่องดับเพลิงถังใหญ่ ตาม
ประกาศ เรื่อง เคร่ืองดับเพลิงฯ

แต่ยังต้องมีเครื่องดับเพลิงขนาด 2 กก.
ไว้ประจำหอ้ งคนขบั

✓ ไม่ต้องติดแผ่นป้ายแสดงเครื่องหมาย
ความเป็นอันตรายไว้บนตัวรถหรือหน่วยขนส่ง
ตามประกาศ เรอ่ื ง ปา้ ยอักษร ภาพ และเคร่อื งหมายฯ

รูปท่ี 5 แสดงแผนภาพสรปุ ข้อยกเว้นเกี่ยวกบั การขนส่งวัตถุ
อันตราย

6

รูปที่ 6 แสดงการทำเครอื่ งหมายบรรทุกในปรมิ าณจำกดั ท่ี เอกสารอา้ งอิง
รถและตู้คอนเทนเนอร์
1. ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง ข้อยกเว้น
สุดท้ายนี้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สำหรับการขนส่งวัตถุอันตรายในลักษณะหรื
บทความนี้จะช่วยทำให้ท่านผู้อ่านมีความเข้าใจ อปรมิ าณทอ่ี าจกอ่ ให้เกดิ อนั ตรายน้อย พ.ศ.2559
เกี่ยวกับข้อยกเว้นในการขนส่งวัตถุอันตรายและ
การคำนวณปริมาณรวมเพิ่มมากขึ้น แล้วพบกัน 2. ข้อกำหนดการขนส่งสินค้าอันตรายทางถนน
ใหมใ่ นวารสาร Chem’s Talk ฉบบั หนา้ ของประเทศไทย เล่มที่ 1 และ 2 โดยกรมการขนส่ง
ทาง

3. คู่มือและแนวทางปฏิบัติ การควบคุมกำกับดูแล
และบังคับใช้กฎหมายด้านการขนส่งวัตถุอันตราย
ทางถนน โดยกรมการขนสง่ ทางบก

4. ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง เอกสาร
การขนส่งที่ต้องจัดให้มีไว้ประจำรถที่ใช้ในการ
ขนสง่ วัตถอุ ันตราย พ.ศ. 2559

ผเู้ ขยี นบทความ :
นางจุฑามาศ แหลง่ กรด

ตำแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ ระดับ 7

แผนกบรหิ ารเคมภี ณั ฑ์ กองเคมภี ัณฑ์ ฝา่ ยเคมี

7

Cation Conductivity: Facts and Fiction

Cation Conductivity โดย วท.บารเมธ พึ่งแสง
นกั วทิ ยาศาสตรร์ ะดับ 7 แผนกเคมีเทคนิค
ในการตรวจวัดคุณภาพน้ำและไอน้ำใน ยกตัวอย่างเช่น Chloride (Cl-) และ
โรงไฟฟ้า หนึ่งในพารามิเตอร์สำคัญคือ Cation Sulfate (SO42-) ion ในรูปของ HCl และ H2SO4
Conductivity ที่ใช้วัดคุณภาพน้ำ Condensate ซ ึ ่ ง ถ ้ า ห า ก น ้ ำ ต ั ว อ ย ่ า ง ไ ม ่ ม ี ป ร ะ จ ุ ล บ ท ี ่ เ ป็ น
เพื่อตรวจสอบการรั่วของ Condenser tube หรือ impurities เหล่านี้เข้ามาในระบบ ค่า Cation
วัดคุณภาพของไอน้ำ เพื่อป้องกันปัญหาการกัด Conductivity ที่วัดได้ จะมีค่าเท่ากับ Specific
กร่อนที่อาจเกิดขึ้นกับ Steam turbine โดย Conductivity
พารามิเตอร์ Cation Conductivity นั้น ได้รับการ
ยอมรบั จาก American Society for Testing and ภาพที่ 1 เปรียบเทียบการแลกเปลี่ยนประจุบวกของ
Materials (ASTM) ว่าเป็นพารามิเตอร์ที่เชื่อถือได้ Cation exchanger ขณะไมม่ แี ละมี NaCl เขา้ มาในระบบ
มีความเหมาะสมกับการใช้งานในพื้นที่โรงไฟฟ้า โดยที่ทั้ง NH3+ จากสารเคมี และ Na+ จาก NaCl จะถูก
เปรียบได้กบั เป็น On-site Ion chromatography/ กำจดั ออกโดยเรซิน
Atomic Absorption
จากภาพที่ 1 จะเห็นได้ว่า Cation
ห า ก ม อ ง ว ิ ธ ี ก า ร ว ั ด ค ่ า Cation exchanger มีผลอย่างมากต่อการวัดค่า Cation
Conductivity ก็เสมือนการว ัด ค่า Specific conductivity โดยในบทความนี้จะกล่าวถึงปัจจัย
Conductivity แตกต่างที่น้ำตัวอย่างจะไหลผ่าน ของขนาด, ความจุ, อัตราการไหลของน้ำตัวอย่าง
Cation exchanger ซ่ึงเป็นคอลมั นบ์ รรจุเรซินประ รวมไปถึงอุณหภูมิท่ีเหมาะสมต่อการทำงานของ
จุบวก (Strong Cation exchanger resin) ก่อนที่ Cation exchanger ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อค่า
จะวัดค่า Conductivity เพื่อให้ประจุบวกของ Cation conductivity
สารเคมี Ammonia (NH3+) ที่เติมเข้าไปในระบบ
ถูกกำจัดออกไปจากน้ำตัวอย่าง โดยวิธีการ
แลกเปลี่ยนประจุกับประจุบวกโปรตอน (H+)
ของเรซนิ ดงั น้ันค่าที่ Cation Conductivity วดั ได้
จะแปรผนั ตรงตามประจลุ บทีไ่ มค่ วรมีอยใู่ นระบบ

8

Column Sizing ค่าที่แนะนำ จะส่งผลให้ประสิทธิภาพของการวัด
ค่าลดลง เนื่องจากปริมาณของเรซินที่มากขึ้น จะ
ASTM แนะนำขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของ เพิ่ม Hold up volume ทำให้การเคลื่อนที่ของ
คอลัมน์ที่เหมาะสมของ Cation exchanger ไว้ที่ ไอออนลบช้าลง ส่งผลให้การแสดงผลของค่า
1⅝ นิ้ว (41.3 มม.) และอัตราการไหลของน้ำ Cation Conductivity ช้ากว่าที่ควร 15-60 นาที
ตัวอย่างที่เหมาะสมอยู่ที่ 100 - 200 มิลลิลิตร/ ตารางที่ 1 แสดงตัวอย่างของ Cation exchanger
นาที ซึ่งหากอัตราการไหลของน้ำต่ำกว่าค่าที่ ยี่ห้อ Sentry และ SWAN และอัตราการไหลของ
แนะนำนี้ เรซินจะมีประสิทธิภาพในการ น้ำตัวอย่างที่แนะนำ เปรียบเทียบกับมาตรฐาน
แลกเปลี่ยนประจุลดลง ส่งผลให้ประจุบวกของ ASTM
NH4+ ที่ต้องการกำจัดจะคงเหลืออยู่ในน้ำตัวอย่าง
และหากคอลัมน์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า

ตารางท่ี 1 ตารางแสดงลกั ษณะ Cation exchanger ของ Sentry และ SWAN พร้อมทั้งอัตราการไหลของน้ำ

ตัวอย่างเปรียบเทียบกบั มาตรฐาน ASTM

Column Column Column Effective Recommend

Type Diameter Length Volume Flow

(mm) (mm) (mL) (ml/min)

ASTM 42.3 305 408 100

RC-100 51 362 565 200

CATCON 89 160 1,000 300

จากข้อมูลในตารางที่ 1 จะเห็นว่า Cation ภาพท่ี 2 CATCON ขนาด 1 ลิตรของบริษัท SWAN
exchanger ที่ยกตัวอย่างนั้น มีความแตกต่างไป
จากข้อแนะนำของ ASTM ยกตัวอย่างเช่น
CATCON ของ SWAN ท่ีมีลกั ษณะสวยงาม งา่ ยตอ่
ก า ร ถ อ ด ป ร ะ ก อ บ ต า ม ภ า พ ท ี ่ 2 แ ต ่ มี
เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่ามาตรฐาน ASTM ถึง 2
เทา่ คำถามทีน่ ่าสนใจคอื CATCON ของ SWAN น้ี
เหมาะสมตอ่ การใชง้ านหรือไม่ ?

9

Resident time ความหมายของ resident time คือเวลา
ที่จริงแล้วปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการ ที่เรซนิ กบั ไอออนใช้ในการแลกเปลยี่ นประจุ โดยเร
ซินแต่ละรุ่น (model) จะมีค่า resident time ท่ี
ทำงานของ Cation exchanger คือเวลาที่น้ำ แตกต่างกัน และหาก resident time ในการใช้
ตัวอย่างไหลผ่านเรซิน (resident time) สามารถ งานมีค่าต่ำกว่าค่าที่แนะนำ ปฏิกริยาการ
คำนวณได้จากความเร็วของน้ำตัวอย่าง แลกเปลี่ยนจะไม่สมบูรณ์ ส่งผลใหเ้ รซินไม่สามารถ
บริษัทผู้ผลิตเรซินชื่อดังอย่าง LEWATIT แนะนำ กำจัดประจุบวกออกไปได้ ต้องทำการเปลี่ยนหรือ
ความเร็วที่เหมาะสมของน้ำตัวอย่างไว้ที่ 120 น ำ ไ ป regenerate ด ั ง น ั ้ น จ า ก ข ้ อ ม ู ล ข อ ง
เมตร/ชั่วโมง สำหรับเรซินรุ่น S100G1 ความสูง LEWATITE จ ึ ง ส ร ุ ป ไ ด ้ ว ่ า resident time ท่ี
(bed) 80 เซนติเมตร และเพิ่มเป็น 100 – 150 เหมาะสมต่อการใช้งานของเรซินรุ่น S100G1 ควร
เมตร/ชั่วโมง สำหรับความสูง 100 ซม. โดยแสดง จะไมต่ ำ่ กว่า 24 วินาที
ดังภาพท่ี 3
Hold-up volume
ภาพท่ี 3 แสดงคา่ resident time ของเรซนิ S100G1
สิง่ ทีท่ ำให้ค่า resident time ของ resin
จากภาพที่ 3 เรซินความสูง 80 เซนติเมตร แต่ละร่นุ แตกตา่ งกันคือค่า Hold up volume
มีความเร็วของนำ้ ตวั อย่างที่ 120 เมตร/ชวั่ โมง เม่ือ หรือค่าพ้ืนทข่ี องช่องว่างที่อยู่ระหว่างเมด็ เรซิน ซ่ึง
คำนวณ resident time จะไดเ้ ท่ากับ สามารถทำการทดลองหาไดจ้ ากการชั่งน้ำหนัก
ของเรซนิ จำนวน 1 ลติ รทม่ี ีนำ้ ทว่ มทับพอดีกับ
(Bed height ÷ Velocity = resident time) ระดบั เรซนิ ลบด้วยนำ้ หนกั ของเรซินอย่างเดยี วเม่ือ
0.8 (เมตร) ÷ 120 (เมตร/ชว่ั โมง) = 24 วินาที เดรนน้ำออก ตวั อย่างของค่า Hold up volume
แต่หาก resin ดงั กล่าว exhaust ไปแลว้ 3 ใน 4 ของเรซิน S100G1 และ SWAN แสดงดังตารางที่ 2
สว่ น จะทำให้คา่ resident time ลดลงเหลอื 6
วนิ าที คำถามคือ residenttime ทีต่ ่ำกว่าดีหรือไม่ ? ตารางที่ 2 ตารางแสดงข้อมูล Hold up volume

ของ S100G1 และ SWAN Cation โดยมีหน่วย

เปน็ มิลลิลติ ร/ลิตรของเรซิน

Strong Cation exchanger Hold up volume

resin with indicator dye (ml/L resin)

LEWATIT S100G1 294

SWAN Cation resin 287

จากตารางที่ 2 จะเห็นว่า hold up 10
volume ข อ ง Cation exchanger จ ะ ม ี ค่ า
ใกล้เคียงกัน เมื่อนำมาคำนวณค่า resident time กราฟท่ี 1 แสดงการทดลองหา respond time ของ
ของแต่ละคอลัมน์ตามตารางที่ 1 จะคำนวณได้ดังนี้
CATCON เรซนิ 1 ลิตร ทอี่ ตั ราการไหล 100 มลิ ลลิ ิตร/
(Hold-up volume ÷ Sample flow = resident time) นาที โดยใช้สารละลาย 0.01 M KCl แทน Impurities

คอลัมน์ ASTM ใส่เรซนิ S100G1 0.408 ลติ ร อย่างไรก็ตาม resident time ที่มากกว่า
120 (มิลลลิ ิตร) ÷ 100 (มลิ ลลิ ติ ร/นาท)ี = 72 วนิ าที นั้น จะเรียกว่าเป็นความหน่วง (Time lag) ของ
คอลัมน์ RC-100 ใสเ่ รซิน S100G1 0.565 ลิตร การวิเคราะห์ เนื่องจากส่งผลให้ Cation
166 (มลิ ลิลติ ร) ÷ 200 (มิลลลิ ติ ร/นาท)ี = 50 วินาที conductivity จับสัญญาณ impurities ได้ช้ากว่า
CATCON ใสเ่ รซิน SWAN 1 ลติ ร เมอ่ื เทียบกับอตั ราการไหลที่ 300 มิลลลิ ติ ร/นาที
287 (มลิ ลลิ ติ ร) ÷ 300 (มลิ ลิลติ ร/นาท)ี = 57 วนิ าที Ionic Leaching

จะเห็นว่าค่า resident time ของ RC- ในกระบวนการผลิต Cation exchange
100 และ CATCON จะน้อยกว่า ASTM column resin จะมี impurities ปะปนมากับเรซิน ซึ่ง
แต่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของ LEWATIT (มากกว่า impurities เ ห ล ่ า น ี ้ จ ะ ส ่ ง ผ ล ใ ห ้ ค ่ า Cation
24 วินาที) โดยที่ความยาวและเส้นผ่าศูนย์กลาง conductivity ทวี่ ัดไดส้ งู ขึน้ และอาจใช้เวลาหลาย
ของคอลัมน์ ไม่ได้มีผลกับค่า resident time วันกว่าค่า Cation conductivity จะกลับสู่ภาวะ
เท่ากับอัตราการไหลของน้ำตัวอย่างและปริมาณ ปกติ กราฟที่ 2 แสดงการทดลองหาระยะเวลาที่ใช้
ของเรซนิ ในคอลัมน์ ในการ rinse down Cation resin 2 ยี่ห้อ ได้แก่
S100G1 (เรซินใหม่) และ SWAN (เรซินใหม่)
Time lag เปรียบเทียบกับเรซิน S100G1 ที่ใช้งานแล้ว และ
ผา่ นการ regenerate
กราฟที่ 1 แสดงการทดลองหา resident
time ของเรซิน SWAN ท่ีบรรจุใน CATCON ท่ี
อัตราการไหลของน้ำตัวอย่าง 100 มิลลิลติ ร/นาที
ซึง่ จากกราฟจะเห็นไดว้ ่า resident time จะอยู่ที่
160 วนิ าที ใกล้เคยี งกับค่าทไ่ี ด้จากการคำนวณ (57
x 3 = 171 วนิ าที)

11

กราฟที่ 2 แสดงเวลา rinse down ของเรซินท้ัง 3 แบบ กราฟท่ี 3 แสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งค่า Cation

(เรซินความจุ 1 ลติ ร, อัตราการไหลของน้ำตวั อยา่ ง 100 Conductivity กับอัตราการไหลของนำ้ ตวั อย่างท่ี โดย
มลิ ลลิ ิตร/นาที ทดลองท่ี 4, 6, 8 และ 10 ลติ ร/ช่วั โมง (เรซิน S100G1
ความจุ 1 ลติ ร)
จากภาพที่ 6 พบวา่ เรซิน S100G1 ทผ่ี า่ น
การ regenerate มาแล้วนั้น จะใชเ้ วลาในการชะ อุณหภมู ขิ องนำ้ ตัวอยา่ ง
ล้างท่สี ้ันกวา่ เมอื่ เปรยี บเทียบกบั เรซินใหม่ท้งั 2
ยีห่ อ้ ดงั น้ันหากนำ Cation resin ทผี่ ลิตจาก อย่างที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าอุณหภูมิมีผล
โรงงานมาใช้ ควรเผื่อระยะเวลาในการชะล้างเรซนิ ต่อการเคลื่อนที่ของไอออนในน้ำตัวอย่าง และ
และเพิ่มอตั ราการไหลของนำ้ ตัวอยา่ งไปท่ี 200 ส่งผลให้ค่า Conductivity เปลี่ยนแปลงไป ดังน้ัน
มลิ ลลิ ิตร/นาที เพื่อให้ impurities ถกู ชะล้าง การรายงานคา่ Conductivity ควรจะระบุอณุ หภูมิ
ออกไปให้หมด จะทำให้ค่า Cation conductivity ขณะที่วัด และทำการชดเชยอุณหภูมิหากอุณหภมู ิ
ทว่ี ดั ได้มีความถูกต้องมากย่ิงขึ้น ของน้ำตัวอย่างไมอ่ ยู่ในคา่ ทีต่ อ้ งการ

อตั ราการไหลของน้ำตวั อยา่ ง สำหรับ Cation exchanger อุณหภูมิที่
กราฟที่ 3 แสดงการทดลองปรับเปลี่ยน สูงขึ้น จะทำให้เรซินสูญเสียความสามารถในการ
แลกเปลี่ยนประจุ ซึ่ง ASTM แนะนำว่าอุณหภูมิที่
อัตราการไหลของน้ำตัวอย่าง เพื่อตรวจสอบการ เหมาะสมในการทำงานของเรซิน ควรอยู่ที่ 25 0C
เปลี่ยนแปลงของค่า Cation conductivity ซึ่ง ± 0.5 0C อย่างไรก็ตามจากการทดลองแสดงดัง
พบว่าการปรับเพิ่มอัตราการไหลของน้ำตัวอย่าง กราฟที่ 4 พบว่าเมื่ออุณหภูมิของน้ำตัวอย่าง
จาก 100 มิลลิลิตร/นาที ไปที่ 200 มิลลิลิตร/นาที เ ป ล ี ่ ย น แ ป ล ง อ ย ู ่ ใ น ช ่ ว ง 22 – 27 0C ก า ร
จะทำให้ค่า Cation conductivity ลดลง 0.015 เปลี่ยนแปลงของค่า Cation conductivity มีน้อย
µS/cm ซึ่งถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงเพียง มาก
เลก็ นอ้ ย

12

กราฟท่ี 4 แสดงความสมั พนั ธข์ องคา่ Cation ภาพที่ 4 แสดงตวั อยา่ ง Sampling tube และ

conductivity และอณุ หภมู ขิ องนำ้ ตัวอยา่ ง Connector ท่ีทำจากวสั ดพุ ลาสตกิ และแสตนเลส
(เรซิน S100G1, 1 ลิตร, อัตราการไหลของน้ำตัวอย่าง 100
มลิ ลลิ ิตร/นาที) กราฟท่ี 5 แสดงการเปลยี่ นแปลง (%Error) ของคา่

ผลกระทบของ Sampling tube Cation conductivity เนอ่ื งจาก CO2 Permeable เมือ่
CO2 ในอากาศมีผลกระทบต่อการวัด ใช้สายยางพลาสติกประเภทต่างกนั
(อัตราการไหลของนำ้ ตวั อยา่ ง 100 มิลลลิ ิตร/นาที, ความ
Cation conductivity เป็นอย่างมาก ซึ่งการใช้ ยาวสายยาง 65 เซนตเิ มตร, Conductivity ของน้ำ
Sampling tubeแ ล ะ Connector ท ี ่ ท ำ จ า ก ตัวอยา่ ง 0.100 µS/cm)
พลาสติกที่มีคุณสมบัติไม่เหมาะสม จะทำให้ CO2
สามารถซึมผ่าน (Permeable) และส่งผลให้ค่า จากกราฟที่ 5 เมื่อทำการทดลอง
Cation conductivity สูงกว่าที่ควรจะเป็น ดังน้ัน เปรียบเทียบการซึมผ่านของ CO2 ในพลาสติกต่าง
การเลือกใช้ Sampling tube และ Connector ที่ ชนิดกนั ซึ่งจากผลการทดลอง เม่อื เรยี งการซึมผ่าน
ทำจากวัสดุสแตนเลสจึงป้องกันปัญหาได้ดีที่สุด จากน้อยไปมาก สรุปได้ดงั น้ี
ภาพที่ 4 แสดงตวั อยา่ งของ Sampling tube และ
Connector ท่ที ำจากวสั ดุพลาสตกิ และสแตนเลส PVDF < Nylon < PP < FEP ≈ PE ≈ PFA

นอกจากนี้ยังพบว่าพลาสติก PVC ยังพบ 13
การปนเปื้อนของ ionic impurities ซึ่งใช้เวลา
หลายชั่วโมงในการ rinse down ดังนั้นหาก กราฟที่ 6 แสดงระยะเวลาการ rinse down หลังจากท่ี
หลีกเลี่ยงการใช้พลาสติกในระบบไม่ได้ จึงควร
เลือกวัสดุพลาสติกเป็น PVDF หรือ NYLON หยดุ การนำนำ้ ตัวอยา่ งเขา้ Cation exchanger เปน็ เวลา
สำหรับเป็น Sampling tube และ Connector 15 ช่วั โมงและ 17 วนั
ของการวดั Cation conductivity (เรซนิ S100G1, 1 ลติ ร, อตั ราการไหลของนำ้ ตวั อย่าง 100
มลิ ลลิ ิตร/นาที)
Cation Conductivity ในการ Start-up Plant
ในการ Start-up โรงไฟฟ้า จะพบปัญหา 2) CO2 Effect
นอกจากค่าของ Cation conductivity
ค่า Cation conductivity มีค่าสูงมากจนไม่
สามารถนำไอน้ำเข้ากังหันไอน้ำได้ ทำให้ต้องเพ่ิม จะสะท้อนถึงประจุลบที่ทำให้เกินการกัดกร่อน
ระยะเวลาในการปรับแต่งคุณภาพไอน้ำเพื่อให้ค่า อย่าง Chloride หรือ Sulfate แล้ว ยังสามารถถูก
เข้าสู่เกณฑ์ ซึ่งส่งผลเสียเนื่องจากเป็นการ รบกวนด้วยประจุลบของ bicarbonate ซึ่งเกิด
สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง คำถามคือเหตุใดค่า Cation จาก CO2 ในน้ำตัวอย่าง โดยพบได้บ่อยครั้งเม่ือ
conductivity ถึงมีค่าสูงในช่วง Start-up และทำ โรงไฟฟ้าอยู่ระหว่างการ Start-up เนื่องจาก
อย่างไรค่าดงั กล่าวถึงลดลง อุปกรณ์ Deaerator ยังทำงานไม่เต็มประสทิ ธภิ าพ

1) ระยะเวลา Rinse down การติดตั้งอุปกรณ์ Degasified เพื่อลด
เมื่อทำการทดลองหาระยะเวลาในการ rinse ปัจจัยรบกวนของ CO2 ในน้ำตัวอย่างนิยมใช้ใน
downเรซินหลังจากโรงไฟฟ้า Shut-down โดย ปัจจุบนั เพื่อเพมิ่ ความถูกต้องของการวัดค่า ซึ่งอาจ
จำลองด้วยการหยุดน้ำตัวอย่างที่เข้า Cation เป็นผลดีในเรื่องของการลดระยะเวลาในการ
exchanger เป็นเวลา 15 ชั่วโมงและ 17 วัน เพ่ือ Start-up อีกด้วย ภาพที่ 5 แสดงตัวอย่างอุปกรณ์
เปรียบเทียบผล ซึ่งผลการทดสอบแสดงดังกราฟที่ Degasified Cation conductivity (DCC) ท่ใี ชง้ าน
6 โดยพบว่าระยะเวลาที่หยุดน้ำตัวอย่างเข้า ในโรงไฟฟ้า
Cation exchanger 15 ชั่วโมง และ 17 วัน จะใช้
เวลาในการ rinse down เรซินประมาณ 5 นาที
และ 10 นาทีตามลำดับ ค่า Cation conductivity
จงึ จะกลบั มาอยใู่ นเกณฑป์ กติ

14

เอกสารอ้างองิ

 Heini Maurer, Founder of SWAN
Analytical Instruments AG, PowerPlant
Chemistry 2006, Cation Conductivity:
Facts and Fiction, Page 658-664

ภาพที่ 5 อุปกรณ์ DCC ของบรษิ ัท SWAN

จ ะ เ ห ็ น ว ่ า ใ น ก า ร ว ั ด ค ่ า Cation
conductivity นน้ั มปี ัจจัยหลากหลายให้พิจารณา
ซึ่งในบทความนี้ได้นำเสนอเพียงบางปัจจัยเท่านั้น
เช่นขนาดของคอลัมน์, อัตราการไหลน้ำตัวอย่าง,
Time lag, วัดสุ Sampling tube, อุณหภูมิ เป็น
ต้น ทั้งนี้ในการพิจารณายังคงมีปัจจัยสำคัญอื่น
เช่นความสะดวกในการบำรุงรักษา รวมถึงราคา
ของอุปกรณ์อกี ด้วย

ผูเ้ ขียนบทความ :
นายบารเมธ พ่งึ แสง
ตำแหนง่ นักวิทยาศาสตร์ ระดบั 7

แผนกเคมเี ทคนคิ กองเคมคี ุณภาพ ฝ่ายเคมี

15

การทดสอบความเสียหายของ RO Membrane ดว้ ยวิธี Fujiwara Test

ท่ีมา โดย วท.บวั แกว้ สุขไสว
ระบบผลิตน้ำ โรงไฟฟ้าพระนครเหนือชุด ตำแหน่ง วท.9 ทนท.หัวหน้าแผนกเคมี
โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ กองเคมีโรงไฟฟา้
ที่ 1 ใช้น้ำประปานครหลวงเป็นน้ำดิบ นำมาผ่าน
ระบบกรองเพื่อลดความขุ่นด้วย Micro Filtration ในระบบสูง แสดงว่าคุณภาพน้ำป้อนเข้าระบบ RO
(MF) Unit และใช้คลอรีนน้ำเป็นสารฆ่าเชื้อโรค ยงั มคี ลอรนี อสิ ระ หรอื สารออกซิไดซต์ วั อืน่ คงเหลือ
พร้อมกับควบคุมค่าคลอรีนอิสระคงเหลือ (Free ในน้ำ จำเป็นต้องปรับปริมาณไบซัลไฟต์ให้สูงข้ึน
Residual Chlorine: FRC) เพ่อื คงประสทิ ธภิ าพใน เพื่อลดค่า ORP ลงมาอยู่ในเกณฑ์ควบคุม พร้อม
การควบคุมจุลชีพในน้ำใสที่ผลิต และใช้เป็นน้ำ ตรวจวัดค่า FRC และควบคุมค่า FRC ไม่เกิน 0.1
ป้อนเข้าระบบผลิตน้ำบริสุทธ์ิ (Reverse Osmosis ppm เพื่อลดโอกาสความเสียหายของเมมเบร
: RO) ด้วยเช่นกัน ดังนั้นการควบคุมปริมาณ นจากสารออกซิไดซใ์ นนำ้ (Chemical Damage)
คลอรีนอิสระที่คงเหลือในน้ำจึงมีความสำคัญมาก
เพราะค่ากำหนดคุณภาพน้ำสำหรับป้อนเข้าระบบ ทั้งนี้ระบบผลิตน้ำ โรงไฟฟ้าพระนคร
Membrane ให้ความสำคัญกับค่าคลอรีนอิสระ เหนือชุดที่ 1 พบปัญหาคุณภาพน้ำที่ออกจาก RO
คงเหลือ เนื่องจากคลอรีนจะทำลายเยื่อเมมเบรน Unit B มีค่า Conductivity สูงขึ้น และ %Salt
ให้เกิดความเสียหาย ส่งผลต่อความสามารถของ Rejection ลดลง หลังจากเปลี่ยนเมมเบรนใหม่
ระบบการกำจัดเกลือลดลง และนำ้ ทผ่ี า่ นการกรอง ทั้งหมดในช่วง 4 เดือนที่ผ่านมาจึงได้พิจารณา
มคี วามเค็มเพ่มิ ขน้ึ ทำ ข้อมูลคุณภาพน้ำป้อนเข้าระบบย้อนหลัง พบว่าค่า
FRC ที่ Service water Tank และน้ำป้อนเข้า
สารเคมีโซเดียมไบซัลไฟต์ (Sodium ระบบ RO มีค่ามากกว่า 1 ppm ซึ่งสอดคล้องกับ
Bisulfite) ถูกนำมาใชเ้ ตมิ ลงไปในระบบนำ้ ปอ้ นเข้า ค่า ORP ที่มีค่าสูงถึง 500 mv เป็นระยะเวลา
ระบบ RO เพื่อกำจัดคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำ ต่อเนื่องนาน 3-4 เดือน ทำให้ความน่าจะเป็นที่
โดยการควบคุมปริมาณการเติมโซเดียมไบซัลไฟต์ เมมเบรนได้รับเสียหายจากคลอรีนจึงเป็นไปได้
ในระบบ จะติดตามจากค่าความต่างศักย์ในน้ำ ค่อนข้างมาก ดังนนั้ การนำเมมเบรนไปทดสอบด้วย
(Oxidation Reduction Potential : ORP) ซึ่ ง วิธี Fujiwara Test จึงเป็นวิธีทางเลือก เพื่อนำผล
ควบคมุ ค่า ORP ในชว่ ง 150-280 mv. ถา้ ค่า ORP การทดสอบยืนยันว่าเมมเบรนได้รับความเสียหาย
จากสารออกซิไดซ์ ในน้ำจำพวกคลอรีน ตามข้อ
สนั นิษฐานหรือไม่

16

ขอ้ มลู ระบบผลติ น้ำโรงไฟฟ้าพระนครเหนอื ชดุ ที1่ Vessel พบว่า คุณภาพน้ำออกแต่ละ Vessel มี
แนวโน้มสงู ขึ้นไปในทศิ ทางเดียวกนั ดงั รปู (2)
กรณีศึกษาการเกิดความเสียหายของเมม
เบรนจากสารออกซิไดซ์ในน้ำ ( Chemical รูป (2) คุณภาพน้ำเข้าและออกจาก RO Vessel Unit B
Damage) ของโรงไฟฟ้าพระนครเหนือชุดที่ 1 ท ั ้ ง น ี ้ ไ ด ้ ต ร ว จ ส อ บ ข ้ อ ม ู ล ค ุ ณ ภ า พ น้ ำ
ขอ้ มลู หน่วยผลิต : RO Unit B (1 Pass - 2 Stage)
อัตรา Recovery Rate 75% กำลังการผลิต 15 ป้อนเข้าระบบ RO Unit B ย้อนหลังตั้งแต่เดือน
m3/hr ดังรูป (1) พฤศจิกายน 2563 จนถึงวันที่ 11 มีนาคม 2564
พบว่า ค่า ORP โดยส่วนใหญ่เท่ากับ 500 mv
5 m3/hr 10 m3/hr 15 m3/hr RO แสดงถึงการมี FRC หรือสารออกซิไดซ์อ่ืน
หลงเหลือในน้ำปริมาณสูง สืบเนื่องมาจากปัญหา
50 % Permeate 75% Permeate ระบบ Feed สารเคมีไบซัลไฟต์ทำได้ไม่ต่อเนื่อง
Permeate และเป็นลักษณะ Manual Operation จนเมมเบร
Feed water 10 m3/hr นเกิดความเสียหาย (Chemical Damage) ส่งผล
20 m3/hr 5 m3/hr 2-Stage Tank ทำให้ประสิทธิภาพการกรองของเมมเบรนต่ำลง
1-Stage 5 m3/hr แ ล ะ ค ุ ณ ภ า พ น ้ ำ RO Permeate ม ี ค่ า
10 m3/hr 5 m3/hr Conductivity ส ู ง ข ึ ้ น แ ล ะ % Salt Rejection
10 m3/hr 25 % Permeate ลดลงตอ่ เนือ่ ง ดงั รปู (3)

5 m3/hr 50%

concentrate 5 m3/hr

Concentrate

25% concentrate

รูป (1) แสดง Diagram RO Unit B

โรงไฟฟ้าพระนครเหนือได้ดำเนินการ
เปลี่ยนเมมเบรนใหม่ทั้งหมด 18 ท่อน ในวันที่ 13
พฤศจิกายน 2563 ผลการทดสอบเดินระบบ มีค่า
%Salt Rejection 98.22 แต่ในช่วงต้นเดือน
กุมภาพันธ์ 2564 พบคุณภาพน้ำที่ผลิตได้จาก RO
มีแนวโน้มค่า Conductivity สูงขึ้นและ %Salt
Rejection ลดลง แม้ว่าในเบื้องต้นจะดำเนินการ
CIP (Clean In Place) ล้างเมมเบรนด้วยสารเคมี
แต่คุณภาพน้ำที่ผลิตได้จากระบบ RO ยังไม่ดีข้ึน
และมีแนวโน้ม % Salt Rejection ลดลงอย่าง
ต่อเนื่อง จึงทำการตรวจสอบคุณภาพน้ำป้อนเข้า
ระบบ RO และคุณภาพน้ำที่ออกจากแต่ละ

17

รปู (3) กราฟแสดงข้อมลู คณุ ภาพน้ำป้อนเข้าระบบ RO Unit B ในส่วนคา่ ORP และคณุ ภาพน้ำ RO Permeate

โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ได้ดำเนินการจ้าง ซึ่งให้ผลสอดคลอ้ งกับข้อมูลกราฟคุณภาพ
เหมาถอดล้าง RO membrane Unit B จำนวน น้ำด้านบน ว่าสาเหตุหลักน่าจะมาจากค่าคลอรีน
18 ท่อนเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพเมมเบรนแต่ อิสระคงเหลือของน้ำป้อนเข้าระบบ RO ที่สูงมาก
ละท่อน ในวันที่ 11 มี.ค.64 จากรายงานผลการ เกินเกณฑ์กำหนด (FRC < 0.1 ppm) จนทำใหเ้ มม
ทดสอบ พบว่ามี จำนวน 5 ท่อน ของ Stage 1 ที่ เบรนได้รับความเสียหาย
คา่ %Salt Rejection 90-92% ตามรปู (4)

18

รปู (4) รายงานผลการทดสอบประสิทธภิ าพเมมเบรน Unit B

ดังนั้นเพื่อเป็นการยืนยันและพิสูจน์ข้อ เหมาะกับการตรวจหาฮาโลเจนในใยสังเคราะห์
สันนิษฐานความเสียหายที่เกิดขึ้นกับเมมเบรนว่า ของเมมเบรน
มาจากคลอรีนอิสระคงเหลือในน้ำป้อนเข้าระบบ
RO จริงหรือไม่ จึงมีแผนจะตรวจสอบเมมเบรนทั้ง
5 ท่อนด้วยวิธีการ Fujiwara Test เพอ่ื ยืนยนั ต่อไป

การทดสอบฟูจิวาระ (FJ) รูป (5) Fujiwara reaction mechanism proposed
การทดสอบฟูจิวาระ เป็นวิธีการทดสอบ
by Moss
เชิงคุณภาพ เพื่อยืนยันว่าโครงสร้างโพลีเมอร์
Polyamide PA ซึ่งเป็นโครงสร้างหลักของรีเวิร์ ในขั้นตอนการทดสอบ จะตดั แผน่ ตวั อย่าง
สออสโมซิสเมมเบรน ถูกทำลายจนได้รับความ เมมเบรนทมี่ ีปญั หาขนาดประมาณ 1 ตร.ซม. นำไป
เสียหาย จากสารเคมีจำพวกสารประกอบ ใส่หลอดทดลองที่มี 5M NaOH หรือ 5M KOH
ออกซิไดซ์ฮาโลเจน เช่นคลอรีน, โบรมีน และ จากนั้นหยด Pyridine จำนวนสองหยด และนำไป
ไอโอดีน หรอื ไม่ โดยใชห้ ลกั การทำปฏิกริ ยิ าของไพ ให้ความร้อนที่ 90 ºC ในนำ้ เดอื ด เป็นระยะเวลา 1
ริดีน ภายใต้สภาวะที่เป็นด่างแก่ ซึ่งเมื่อมี นาที และทิ้งไว้ให้เย็น ถ้าเมมเบรนที่นำมาทดสอบ
สารประกอบฮาโลเจน จะทำให้เกิดสีชมพู และใน มีสารประกอบฮาโลเจนในเยื่อโพลีเอไมด์ของเมม
บางกรณีจะมีสีแดงเข้ม ในสภาวะที่มีสารอินทรีย์ เบรน จะเกิดสีชมพูหรือสีแดง ทั้งนี้ควรทำ Blank
ร่วมด้วย ดังรูป (5) วิธีนี้ได้รับการพัฒนามา จาก เปรียบเทียบ โดยใช้เมมเบรนใหม่ชนิดเดียวกับเมม
เดิมสำหรับการใช้งานทางคลินิกสำหรับการ เบรนที่มปี ญั หา และทดสอบภายใตส้ ภาวะเดียวกัน
ตรวจหาสารประกอบฮาโลเจน ในปัสสาวะและ ดังรูป (6)
เลือดของสัตว์และมนุษย์ ต่อจากนั้นจึงปรับให้

19

Negative Test Positive Test

รูป (6) Fujiwara Negative Test and Positive Test

บทสรปุ เอกสารอา้ งองิ
การยืนยันและพิสูจน์ความเสียหายที่เกิด 1. Observations On The Fujiwara Test For

ขึ้นกับเมมเบรนว่าเป็นความเสียหายในลักษณะ The Determination of Oxidation In
Chemical Damage จากสารออกซิไดซ์ ในน้ ำ Polyamide Membranes, FuturEnviro
ปอ้ นเขา้ ระบบ RO จรงิ หรอื ไม่น้ัน วธิ ีการทดสอบฟู Nov.2013
จิวาระเป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการตรวจหาสารคลอรีน 2. Reverse Osmosis Membranes Oxidation By
หรือสารฮาโลเจนบนพื้นผิวเมมเบรนได้ดีในเชิง Hypochlorite and Chlorine Dioxide:
คุณภาพ แต่ไม่สามารถบ่งบอกเชิงปริมาณได้ ทั้งน้ี Spectroscopic Technique Versus Fujiwara
สามารถใช้วิธีการทดสอบแบบสเปคโตรสโคปิค test, Desalination for Environment: Clean
เทคนิค (Spectroscopic Technique – Infrared Water and Energy 22-26 April 2012, Spain
and X-ray photoemission Technique ATR- 3. Operation Concept of Cycle Make up
Water Treatment NBCC Block
FTIR and X-PS ) ร่วมด้วยเพื่อตรวจสอบความ 4. วธิ ีการปฏิบตั ิงาน WI-810-31 เร่ืองการตรวจ
เสียหายบนเมมเบรนจากสารออกซิไดซ์ และได้ ตดิ ตามและควบคมุ คณุ ภาพนำ้ ในระบบ
ข้อมลู ท่ีละเอียดมากยง่ิ ข้ึน Demineralized water

ผ้เู ขียนบทความ :

นางบวั แก้ว สุขไสว
ตำแหนง่ วท.9 ทนท.หัวหน้าแผนกเคมโี รงไฟฟ้าพระนครเหนือ
กองเคมีโรงไฟฟา้ ฝา่ ยเคมี

20

เรยี นรสู้ ู่การเปน็ สงั คมคาร์บอนต่ำ : ถอดบทเรยี นจากญปี่ ่นุ

โดย วท.ชนมช์ นก อศั เวศน์
หัวหน้าแผนกตรวจวิเคราะหม์ ลสารการเผาไหม้

และน้ำทง้ิ โรงไฟฟ้า

ปัจจุบันนานาประเทศได้ตระหนักถึง จากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ในเขตพื้นที่เมือง
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ อัน เป็นกรอบในการดำเนินงานที่เหมือนกัน และเมื่อ
เนื่องมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่าง พูดถึง “สังคมคาร์บอนต่ำ” เราจะปฏิเสธไม่ได้
ต่อเนื่องจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ เลยว่าสังคมที่โดดเด่นในการจัดการด้านนี้คือ
( Anthropogenic Greenhouse Gas Emission)
ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดการเปลี่ยนแปลง ประเทศญป่ี นุ่
สภาพภูมิอากาศซึ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตความ
เป็นอยู่ของมนุษย์ เพ่ือเป็นแก้ไขปัญหาดังกลา่ ว จึง
เกิดแนวคิดในการสร้าง “สังคมคาร์บอนต่ำ”
(Low-carbon Society)

แต่คำนิยามของเมอื งคารบ์ อนตำ่ ยงั ไม่มีการกำหนด เนื่องจากการพัฒนาเศรษฐกิจชองญี่ปุ่นมี
อย่างแน่ชัด และมีคำนิยามที่แตกต่างกันไปตาม ความสัมพันธ์กับการนำเข้าทรัพยากรธรรมชาติ
บริบทของแต่ละประเทศ โดยยึดแนวทาง “การ อย่างมาก ทัง้ พลงั งาน อาหาร และวตั ถดุ ิบอืน่ ๆ จึง
พัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development)” เริ่มมองเห็นปัญหาที่ชัดเจนขึน้ เกี่ยวกับการเพิ่มขึ้น
เป็นกรอบในการดำเนินงาน ตัวอย่างเช่น ของปริมาณของเสีย เช่น ความเสีย่ งของมลพิษทาง
Sustainable City Eco-city Smart City Carbon สิ่งแวดล้อม ข้อจำกัดเรื่องระบบบำบัดขยะ และ
ต้นทุนที่สูงขึ้น ดังนั้น การตอบสนองทางนโยบาย
Neutral City และ Zero Carbon City เป็นต้น ของญี่ปุ่น คือ การพยายามมุ่งไปสู่การเป็นสังคม
อย่างไรก็ตามถึงแม้จะมีคำนิยามที่แตกต่างกันไป หมุนเวียนวัสดุที่ดี ( Sound Material Cycle
แต่ยังคงยึดแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมุ่ง Society)
เป้าหมายเพื่อการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
แนวคิดจุนคังกะตะชาไค (Junkan-gata-
shakai) หรือ สังคมหมุนเวียนวัสดุที่ดี ได้เริ่มมีข้ึน
ครั้งแรกในปีค.ศ. 1991 โดยคณะกรรมการ
ผเู้ ชยี่ วชาญของสำนักงานส่งิ แวดล้อมญี่ป่นุ แนวคิด
สังคมหมุนเวียนวัสดุที่ดีมีรากฐานมาจากหลักการ

3R (Reduce, Reuse, Recycle) ปัจจัยสำคัญเกิด 21
จากการเพิ่มขึ้นของขยะและปริมาณขยะที่ไม่ได้
บำบัดจัดการอย่างดี ทำให้เกิดมลพิษในด้านต่างๆ บัญชีการไหลเวียนวัสดุ (MFA) ได้ระบุชัดถึงการ
ทั้งมลพิษทางอากาศ ดิน น้ำ และการปล่อยก๊าซ ไหลเวียนของวัตถุดิบในระบบเศรษฐกิจของ
เรือนกระจก และปริมาณของวัตถุดิบที่เสียไป ประเทศญีป่ ุ่น และบนั ทกึ รายการภาพรวมของการ
เนื่องจากความไม่มีประสิทธิภาพของการใช้ ไหลเวียนนั้นไว้ จึงทำให้ภาครัฐสามารถกำหนด
ทรัพยากรและการบรหิ ารจัดการขยะท่มี หาศาล เป้าหมายหรือตัวชี้วัดการไหลเวียนวัตถุดิบ
(material flow indicators) ได้

สังคมหมุนเวียนวัสดุที่ดีจึงเป็นหนึ่งในกลยุทธ์เพื่อ ญี่ปุ่นได้ออกกฎหมายหลักสำหรับการจัดตั้งสังคม
ลดขยะและลดการนำทรัพยากรธรรมชาติขึ้นมาใช้ หมนุ เวียนวัสดทุ ี่ดตี ้ังแต่ปีค.ศ. 2000 แผนท่ี 1 (1st
โดยการนำกลับมาใช้ซ้ำ การรีไซเคิล และกำจัด Fundamental Plan for Establishing a Sound
อยา่ งเหมาะสม ให้เกดิ สมดลุ ขน้ึ
Material Cycle Society) ได้ผ่านรัฐสภาในปีค.ศ
ขั้นตอนแรกสุดของการสร้างสังคม 2003 และมีแผนฉบับปรับปรุงในปีค.ศ. 2008
หมุนเวียนวัสดุที่ดี คือ การต้องเข้าใจถึงการไหล กฎหมายถูกใช้เป็นเครื่องมือเพื่อบูรณาการการ
ของวัสดุ (flows of materials) ในภาคเศรษฐกิจ บริหารจัดการขยะ ของเสีย และการใช้ทรัพยากร
ญี่ปุ่นได้สร้างบัญชีการไหลเวียนวัสดุ (Material
Flow Accounts: MFA) ซึ่งบัญชีนี้กลายเป็น
เครื่องมือสำหรับบูรณาการนโยบายสิ่งแวดล้อม
ของญ่ีปนุ่

22

อย่างมีประสิทธิภาพเข้ากับกระบวนการบริหาร แต่ไม่ได้กำหนดเป้าหมายผูกพัน ( binding
เศรษฐกจิ ของญปี่ นุ่ targets) สำหรับภาคอุตสาหกรรม แต่อาศัยความ
สมคั รใจของภาคอุตสาหกรรมโดยเอกชนเอง
นอกจากนี้ ญี่ปุ่นยังมีกฎหมายเฉพาะเร่อื ง
รีไซเคิล สำหรับรายสินค้าและรายสาขา เพ่ือ นอกจากนี้ ยังได้อาศัยการปฏิบัติการโดย
สนับสนนุ การเปลี่ยนผ่านเพ่ือก้าวสู่สังคมหมุนเวียน องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น โดยรัฐบาลท้องถิ่น
วัสดุทด่ี ี ในขณะที่กฎหมายส่งเสริมการจัดซ้ือท่ีเป็น รับผิดชอบในส่วนการบริหารขยะมูลฝอยในเมือง
มิตรกับสงิ่ แวดล้อมเป็นการสนับสนุนสินค้ารีไซเคิล พยายามลดภาระสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร
เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะ และไอเดียท่ี
ประเทศญี่ปุ่นมีวิธีปฏิบัติและประสบการณ์การเขา้ น่าสนใจที่สุดคือการกำหนดมาตรฐานอ้างอิงจากผู้
สู่สังคมทม่ี ีการหมนุ เวยี นวัสดุทดี่ ีทนี่ า่ สนใจ โดยเร่ิม ทที่ ำไดด้ ที ี่สุด (Top Runner Programmed) ทั้งที่
จากใช้วิธีการสมัครใจของอุตสาหกรรม ซึ่งแม้ว่า ในหลายๆ ประเทศมักใช้การสร้างประสิทธิภาพ
ญี่ปุ่นจะกำหนดเป้าหมายของประเทศไว้ใน ด้านพลังงาน โดยอาศัยมาตรการขั้นต่ำ
แผนงานพื้นฐานเพื่อเข้าสู่สังคมหมุนเวียนวัสดุท่ี ( Minimum Efficiency Performance
Standard) แต่ประเทศญี่ปุ่นใช้ยุทธศาสตร์ที่ต่าง
ออกไป โดยใช้โครงการกำหนดมาตรฐานอ้างอิง
จ า ก ผ ู ้ ท ี ่ ท ำ ไ ด ้ ด ี ท ี ่ ส ุ ด เ พ ื ่ อ ห า แ บ บ จ ำ ล อ ง ท ี ่ มี
ประสิทธิภาพสูงสุดในตลาด จากนั้นจึงขยาย
มาตรฐานท่ีดีที่สุดน้ใี หผ้ ู้ประกอบการรายอนื่ ต้องทำ
ตาม โดยกำหนดการกำหนดระยะเวลาท่ีแน่นอนใน
อนาคตไว้ว่าจะกลายเป็นมาตรฐานที่ใช้ อย่างที่
เราๆมักเรยี กกนั วา่ “Best Practice”

นอกจาก เรือ่ งสงั คมหมนุ เวยี นวสั ดทุ ่ีดแี ล้ว
ประเทศญี่ปุ่นยังมีเป้าหมายที่จะก้าวเข้าสู่สังคม
คาร์บอนต่ำอีกด้วย เพื่อสร้างสังคมคาร์บอนต่ำ
ประเทศญี่ปุ่นกำหนดหลักการสำคัญคือ การลด
ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในทุก
ภาคส่วน โดยประเทศญี่ปุ่นจะมุ่งสู่การเป็นสังคม
คาร์บอนสมดุล (Carbon neutral society) ซึ่ง
หมายถึงสังคมที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน
ระดับที่ธรรมชาติสามารถดูดซับได้ ซึ่งการที่จะ
บรรลุเป้าหมายสังคมคาร์บอนสมดุลนี้ทุกภาคส่วน
ต้องคำนึงถึงการลดปริมาณคาร์บอนในทุกๆ

23

กิจกรรมเน้นการมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายและตระหนัก สังคมคาร์บอนต่ำของญี่ปุ่นได้ถูกสะท้อนออกมา
ถึงการส่งเสริมคุณภาพชีวิต โดยภายใต้สังคม ใน 6 มิติ
คาร์บอนตำ่ ประชาชนควรพยายามละทิ้งค่านิยมที่
มุ่งเน้นการบริโภค หันมามุ่งเน้นคุณค่าของสถาบัน มิติที่ 1 การเดินทางเคลื่อนย้าย เน้นการใช้ระบบ
ครอบครัว สายใยชุมชน และ ความสัมพันธ์กับ ขนส่งมวลชน แนะนำระบบแบ่งปันรถยนต์ให้
ธรรมชาติ โดยต้องมีความตระหนักและรู้สึกผิด 10โปดรยะรชะาบชบนสรู้จารักสรนะเบทบศขทนี่กส้า่งวแหลนะ้าจัดเพส่งื่อจใะหถ้เูกกกิดำกกาับร
หากใช้ทรัพยากรอย่างไม่รู้คุณค่า (Mottainai กระจายสนิ ค้าท่ีมีประสทิ ธิภาพและปล่อยคาร์บอน
spirit) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่จะสะท้อน ตำ่
ออกมาในทางเลือกของผู้บริโภคซึ่งจะ นำพาให้
สังคมไปสู่สังคมคาร์บอนต่ำซึ่งจะนำไปสู่การอยู่ มิติที่ 2 สิ่งแวดล้อมการทำงานและการใช้ชีวิต
ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน ป ร ะ ห ย ั ด พ ล ั ง ง า น ด ้ ว ย พ ื ้ น ฐ า น เ ท ค โ น โ ล ยี
ในสังคมคาร์บอนต่ำนั้น มนุษย์และสังคมถือเป็น สารสนเทศ ผู้คนสามารถทำงานจากที่บ้านหรือ
ส่วนหนึ่งของระบบนิเวศโลก เพื่อที่จะหลีกเลี่ยง สถานที่อ่ืนได้โดยไม่ตอ้ งเดินทางเขา้ เมือง
ภาวะโลกร้อนจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง
รักษาและฟื้นฟูธรรมชาติ เพื่อการเอื้อประโยชน์ซ่งึ มิติที่ 3 อุตสาหกรรม ภาวะโลกร้อนถือเป็นโอกาส
กันและกันระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ รวมท้ัง ใหม่ทางธุรกิจ บริษัทเอกชนต้องเปิดเผย
การสนับสนุนเทคโนโลยที ีเ่ ป็นมติ รต่อสงิ่ แวดลอ้ ม รายละเอียดของกิจกรรมที่ส่งผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมใหส้ าธารณชนรบั ทราบ การลดปริมาณ
ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้รับการคำนึงถึง
ตลอดทั้งสายโซ่อุปทาน ด้านเทคโนโลยี เน้น
นวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิต เช่น อุตสาหกรรม
เหล็ก มีการใช้ไฮโดรเจนมาทดแทนการใช้ถ่านหิน
การที่ภาคอุตสาหกรรมได้ใช้เทคโนโลยีด้านการ

24

ผลิตที่สะอาดเหล่านี้จะสามารถลดปริมาณการ
ปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ได้อย่างมีนัยสำคญั

มิติที่ 4 ทางเลือกของผู้บริโภค ประชาชนควรไม่ มิติที่ 6 รูปแบบที่แตกต่างระหว่างเขตเมือง และ
รับหีบห่อที่ไม่จำเป็น มีความพอใจที่จะซื้อสินค้าที่ เขตชนบท กำหนดใหม้ ีการวางรปู แบบของเมืองให้
ใชซ้ ำ้ ไดแ้ ละสนิ คา้ ที่เปน็ มติ รต่อส่ิงแวดล้อม มีความ เหมาะสมตามขนาดของเมือง โดยแบ่งประเภทของ
ภูมิใจในสินค้าจากภายในชุมชนของตนเอง ไม่ เมืองตามขนาดได้ 3 ระดับ 1.เมืองขนาดกลางถึง
สนับสนุนสินค้าจากบริษัทที่ไม่มีความรับผิดชอบ ใหญ่ 2.เมืองขนาดเล็ก 3.เขตชนบท โดยได้ระบุ
ต่อสิ่งแวดล้อม ระบบ Eco-point ได้คะแนนจาก ประเภทของปัจจัย 3 อย่าง คือระบบคมนาคม
กจิ กรรมทีเ่ ปน็ มติ รกับสิ่งแวดลอ้ ม อาคารบ้านเรือน พลังงานทางเลือก เพื่อให้
เหมาะสมกับลกั ษณะเฉพาะของเมือง
มิติที่ 5 ป่าไม้ และการเกษตรโภคภัณฑ์ สิ่งเสริม
การบริหารจัดการการเกษตรและการผลิตที่มี ว ิ ธ ี ก า ร ท ี ่ จ ะ ท ำ ใ ห ้ ส ั ง ค ม ค า ร ์ บ อ น ต ่ ำ ส ำ เ ร็ จ
ประสิทธิภาพ มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ ประกอบด้วย ความร่วมมือจากภาคประชาชน
อนุญาตให้ผู้บริโภคสามารถทราบถึงที่มาและ (Desirables action for Citizens) โดยปลูกฝังให้
วธิ ีการผลิตของโภคภัณฑต์ า่ งๆ ประชาชนมี การมีส่วนร่วม ความคิดและการ
แบ่งปัน (Eco-participation, eco-thinking และ
eco-sharing) นอกจากนั้นคือความร่วมมือจาก
ภ า ค เ อ ก ช น ( Desirables action for
Corporations) ให้ผลิตสินค้าที่มุ่งเน้นความเป็น
คาร์บอนต่ำ สนับสนุนนวัตกรรมและเทคโนโลยี

25

โมเดลธุรกิจคาร์บอนต่ำ ธุรกิจที่มีส่วนเสริมสร้าง
สังคมคาร์บอนต่ำและบรรลุเป้าหมายการเติบโต
ทางกำไร สนับสนุนสถาบันการเงินเพื่อให้เงินทุน
กับธุรกิจที่ต้องการทำการวิจัยและพัฒนาด้าน
เทคโนโลยสี ง่ิ แวดล้อม

สว่ นรฐั บาลมีนโยบายสนับสนนุ ไดแ้ ก่ การ ทิศทางการพัฒนาของญี่ปุ่นและหลาย
ให้แรงจงู ใจแบบสนบั สนนุ (Incentives) โครงสรา้ ง ประเทศมีความชัดเจนมากขึ้น ทุกประเทศล้วน
พื้นฐาน (Soft Infrastructure) ที่มุ่งเน้นด้าน ต้องการพัฒนาเศรษฐกิจให้ก้าวขึ้นไปอีกระดับ
ความรู้และการศึกษา โครงสร้างพื้นฐานทั่วไป หนึ่ง เพื่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน
(Hard infrastructure) มุ่งเน้นจัดสร้างโครงสร้าง อย่างไรก็ตาม หลายประเทศก็ตระหนักดีถึง
พื้นฐานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ และทุน ผลกระทบที่เกิดจากการพัฒนาดังกล่าวที่ส่งผล
ธรรมชาติ มุ่งเนน้ การบำรุงรักษาส่ิงแวดล้อม ต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของประเทศและ
โลก เราจึงสามารถเรียนรู้จากประเทศที่ผ่าน
ประสบการณ์มาก่อนและดึงบทเรียนที่น่าสนใจ
มาคิดให้ลึกซึ้งเพื่อประยุกต์ใช้กับสังคมของเรา
ตอ่ ไป

26

เอกสารอา้ งอิง 3. https://power.mhi.com/special/hyd
rogen MITSUBISHI HEAVY
1. http://www.tgo.or.th/2020/index.ph INDUSTRIES, LTD. Tomakomai CCS
p/th/post/low-carbon-society-ญี่ปุ่น Demonstration Project
กับสังคมคาร์บอนต่ำ องค์การบริหาร
จัดการกา๊ ซเรอื นกระจก (องค์การมหาชน) 4. https://www.japanccs.com/en/busi
ness/demonstration/index.php
2. https://www.env.go.jp/ Ministry of Japan CCS Co., Ltd.

the Environment Government of

Japan

ผเู้ ขยี นบทความ :
นางชนมช์ นก อัศเวศน์
หวั หนา้ แผนกตรวจวเิ คราะห์มลสารการเผาไหม้และน้ำท้ิงโรงไฟฟ้า

กองเคมีวิเคราะห์ ฝา่ ยเคมี


Click to View FlipBook Version