The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร Chem's Talk ฉบับที่ 02-2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Book, 2020-06-29 00:39:49

วารสาร Chem's Talk ฉบับที่ 02-2563

วารสาร Chem's Talk ฉบับที่ 02-2563

บทบรรณาธกิ าร

สวสั ดคี รบั ทา่ นผ้อู ่านทุกท่าน วารสาร Chem’s Talk ฉบบั นี้เปน็ ฉบับที่ 2 ของปี 2563 เผลอ
แป๊บเดียว ปี 2563 ผ่านมาคร่ึงปีแล้ว ในช่วงเวลา 6 เดือนที่ผ่านมีเหตุการณ์ต่างๆ มากมาย
ท่ีเกิดข้ึน พร้อมกับการเปล่ียนแปลงต่างๆ เร่ิมต้นจากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรน่า
สายพันธ์ุใหม่ 2019 (COVID-19) ที่ทาให้เราต้องทางานจากที่บ้าน (Work From Home ; WHF)
เพ่ือลดการติดต่อและสัมผัสไวรัส มีการประชุมผ่าน Video Conference ผ่าน Platform ต่างๆ
ไม่ว่าจะเป็น Zoom, MS Team, EGAT E-Meeting, Polycom ทางานเอกสารผ่านระบบ Cloud
และ VPN ออกบ้านไปไหนมาไหนก็กลัวจะติดไวรัสไปหมด จนปัจจุบันสถานการณ์การระบาด
เริ่มคล่ีคลายไม่พบผู้ติดเชื้อในประเทศเป็นระยะเวลากว่า 27 วันแล้ว รัฐบาลเริ่มผ่อนคลาย
ความเข้มงวดในการดาเนินชีวิตประจาวันและการทางาน ทาให้เราต้องเริ่มใช้ชีวิตแบบปกติใหม่
(New Normal) ที่ไม่เหมือนเดิม เช่น การออกนอกบ้านต้องสวมใส่หน้ากากทุกครั้ง การเดินทาง
ไปไหนมาไหนต้องรักษาระยะห่าง เมื่อต้องไปห้างสรรพสินค้าต้องวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้า
ถูกจากัดจานวนคนและระยะเวลาในการเดนิ หา้ งสรรพสนิ ค้า

ในส่วนของฝ่ายเคมีเองที่มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างหน่วยงาน การปรับเปลี่ยนขอบเขต
ลกั ษณะงาน โดยมีบางงานเกิดขึ้นใหม่ บางงานตอ้ งยุบรวมกนั ไป แตไ่ ม่วา่ จะขอบเขตลักษณะงานเคมี
จะเปล่ียนแปลงยังไง ฝ่ายเคมียังคงมีการพัฒนางานและการถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง
สาหรับเน้ือฉบับน้ี ประกอบด้วยงานบริการตรวจสอบระบบ Cathodic Protection ซ่ึงเป็นงาน
บริการใหม่ที่ฝ่ายเคมีให้บริการ การใช้สารเคมีในการควบคุมชีวินทรีย์ เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าด้วย
พลังงานลมซ่ึงเป็นเทรนของพลังานสะอาด สุดท้ายเป็นเรื่องราวของโครงการดีๆ ท่ีฝ่ายเคมีพยายาม
ลดการใชส้ ารเคมใี นกระบวนการผลิตน้าใสของโรงไฟฟา้ บางปะกง

สดุ ทา้ ยนห้ี วังว่าพวกเราทุกคนจะฝ่าวิกฤต COVID-19 ได้อย่างปลอดภัย ขอเพียงแค่พวกเรา
ร่วมมือร่วมใจหยุดเชื้อเพ่ือชาติ Stay at home ไม่ออกมารับเช้ือ สวมใส่หน้ากากทุกครั้ง
ที่ออกจากบ้านเพ่ือป้องกันการรับเชื้อ และล้างมือบ่อยๆ เท่านี้เราก็จะห่างไกลต่อโรค COVID-19
รักษาสุขภาพนะครบั

ยงิ่ ศักดิ์ หลแี ก้วเครือ
บรรณาธิการ

สารบญั

เร่ืองน่าร้กู ่อนใชง้ านสารควบคมุ ชวี ินทรีย์ 1
11
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม (Wind) 20
24
Cathodic Protection งานใหมฝ่ ่ายเคมี

โครงการลดการใช้สารเคมีพอลิเมอร์ประจบุ วกใน
กระบวนการผลิตน้า Service โรงไฟฟา้ บางปะกง

วารสาร Chem’s Talk ปีท่ี 2 ฉบบั ที่ 2 เดอื น เมษายน – มถิ นุ ายน 2563
กองบรรณาธกิ าร แผนกเคมเี ทคนิค กองเคมีคุณภาพ ฝา่ ยเคมี
โทรศัพท์ : 02-436-6713
Website : http://cd.egat.co.th/

1

เรอื่ งน่ารูก้ ่อนใช้งานสารควบคมุ ชวี นิ ทรีย์

โดย วท.นิศาชล ชินพนั ธ์
วท.9 กคภ-ธ. อคม.

ระบบน้าหล่อเย็นแบบหมุนเวียนแบบเปิด ส้าหรับเคมีภัณฑ์ที่ใช้ควบคุมและป้องกัน
( Open Re-circulating System) เ ป็ น ร ะ บ บ ที่ ปั ญ ห า ด้ า น ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง ชี วิ น ท รี ย์ นั น
ใช้น้าเป็นตัวกลางในการระบายความร้อน ท่ีหอ ส่วนใหญ่มักไม่มีการทดสอบประสิทธิภาพในแง่
หล่อเย็น (Cooling Tower) น้าบางส่วนระเหยสู่ การใช้งานในห้องปฏิบัติการ จ้าเป็นต้องมี
บรรยากาศ จึงต้องมีการเติมน้าทดแทน เน่ืองจาก การศึกษา สืบค้นข้อมูลเชิงวิชาการจากเอกสาร
น้ า ท ด แ ท น ท่ี เ ติ ม เ ข้ า ม า มี ส า ร ล ะ ล า ย ใ น น้ า ต่างๆ และจากแหล่งข้อมูลความรู้อื่นๆ ส้าหรับ
(Dissolved Solids) และสารแขวนลอยในน้า เ ป็ น ข้ อ มู ล ใ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ใ น
(Suspended Solids) ปนเข้ามาในระบบด้วย การเลือกใช้เคมีภัณฑ์เพื่อก้าหนด Treatment
น้าในระบบจึงมีความเข้มข้นของสารละลายทัง Program เพื่อให้ได้โปรแกรมส้าหรับควบคุม
สารอินทรีย์และอนินทรีย์สูงกว่าน้าที่เติมเข้ามา คุณภาพน้าหล่อเย็นในโรงไฟฟ้าท่ีมีประสิทธิภาพ
หลายเท่า ท้าให้ระบบน้าหล่อเย็นแบบหมุนเวียน สูงสุด เหมาะสม และเฉพาะเจาะจงกับโรงไฟฟ้า
แบบเปิดมีความเสี่ยงต่อปัญหาการกัดกร่อน แตล่ ะแหง่
(Corrosion) ปัญหาการเกาะสะสมของตะกรัน
(Scaling) และปั ญหาก ารเจริ ญเติบ โ ตขอ ง ระบบน้าหล่อเย็นแบบหมุนเวียนแบบเปิด
ชีวินทรีย์ (Microbiological Growth) ซึ่งส่งผล มีสภ าว ะแว ด ล้อมท่ีเ หมาะ สมให้ชี วินทรี ย์
ก ร ะ ท บ ต่ อ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ล ก เ ป ล่ี ย น เจริญเติบโต เนื่องจากมีอุณหภูมิที่อุ่นพอเหมาะ
ความรอ้ นของหอหลอ่ เย็น จ้าเป็นต้องใช้เคมีภัณฑ์ (ประมาณ 70-110 ºF) น้ามีสภาพความเป็น
3 กลุ่มหลัก คือ สารป้องกันการกัดกร่อน กรด-ด่างที่เหมาะสมและมีการเติมอากาศเข้าสู่
(Corrosion inhibitor) สารป้องกันการเกิดตะกรัน ระบบอยู่ตลอดเวลา สารอาหารที่มาพร้อมกับ
(Scale inhibitor) และสา รคว บคุม ชีวินทรีย์ น้าเติมทดแทนเป็นปัจจัยส้าคัญที่ท้าให้ชีวินทรีย์
(Microbiocide) เพ่ือควบคุมและป้องกันปัญหา เหล่านีสามารถด้ารงอยู่และเพิ่มจ้านวนเพมิ่ มากขึน
ดั ง ก ล่ า ว เ ค มี ภั ณ ฑ์ มี บ ท บ า ท ส้ า คั ญ ใ น อย่างรวดเร็ว ชีวินทรีย์ท่ีก่อให้เกิดปัญหาในระบบ
การแก้ปัญหาของระบบน้าหล่อเย็นเป็นอย่างมาก น้าหล่อเย็น เช่น แบคทีเรีย รา และสาหร่าย
การเลือกใช้และควบคุมการใช้สารเคมีได้ถูกต้อง สามารถเข้าสู่ระบบได้ 2 ทาง คือเข้ามาพร้อมกับ
และเหมาะสมกับสภาพปัญหาของแต่ละโรงไฟฟ้า น้าเติมทดแทน (Make up water) และเข้ามา
นอกจากจะสามารถเสริมความม่ันคงของระบบ พร้อมกบั อากาศท่ถี ูกดูดผ่านหอหล่อเย็น (Cooling
ผ ลิ ต กร ะแส ไฟฟ้ าแล้ ว ยั งเ ป็ น ส่ ว น ส้ าคัญที่ท้าใ ห้ Tower)
ตน้ ทุนการผลิตอยู่ในระดบั ต่้าอีกดว้ ย

2

โดยทั่วไปแล้วชีวินทรีย์มักรวมตัวอยู่ด้วยกัน 2 ขนิดตามกลไกการออกฤทธิ์ ได้แก่ Oxidizing
เ ป็ น ก ลุ่ ม ใ น บ ริ เ ว ณ ที่ น้ า มี อั ต ร า ก า ร ไ ห ล ต่้ า Biocide และ Non Oxidizing Biocide โดยข้อมูล
ซ่ึงถ้าไม่มีการควบคุมท่ีเหมาะสมจะท้าให้ชีวินทรีย์ เก่ียวกับกลไกการท้างานและขอ้ จ้ากัดบางประการ
เหล่านีสามารถเกาะสะสมที่บริเวณผิวของอุปกรณ์ ของ Biocide แต่ละชนิด จะเป็นข้อมูลที่ส้าคัญ
ในระบบ (Biofouling) เกิดเปน็ ชนั เรียกว่า Biofilm และเป็นประโยชน์ส้าหรับการเลือกใช้เคมีภัณฑ์
โดย Biofilm จะท้าหน้าท่ีเป็นฉนวนกันความร้อน ใหเ้ หมาะสมกบั แต่ละระบบ
(Thermal insulator) ท้ า ใ ห้ ป ร ะสิ ท ธิ ภ า พ ใ น
การถ่ายเทความร้อนของอุปกรณ์ลดลง ก่อให้เกิด การใช้เคมีภัณฑ์ประเภท Biocide เพ่ือ
กา รกั ดก ร่อ นใ นบ ริ เว ณใ ต้ชั นข อง Biofilm ควบคุมและยับยังการเจริญเติบโตของชีวินทรีย์
เป็นสาเหตุน้าไปสู่การกัดกร่อนอันเน่ืองมาจาก ในระบบหล่อเย็นในโรงไฟฟ้าของ กฟผ. เป็น
ชีวินทรีย์ (MIC) ปัญหาการอุดตันของอุปกรณ์ โปรแกรมที่ก้าหนดมาจากฝ่ายเคมี ทังชนิดของ
ในระบบ เช่น Distribution Pipe และ Film Fill เคมีภัณฑ์ ความเข้มข้นที่ใช้ ปริมาณการเติม และ
Packing นอกจากนี Biofilm ยังเป็นแหล่งท่ีอยู่ ระยะเวลาในการเติม ซงึ่ ปกตแิ ลว้ จะใชค้ วบคู่กันทัง
อาศัยของแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคบางชนิด เช่น Oxidizing Biocide และ Non Oxidizing Biocide
Legionella pneumophila ซ่ึ ง ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด โ ร ค เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยอาศัยการ
Legionnaires เป็นต้น ดังนันการควบคุมและ เสริมฤทธิ์กันของเคมีภัณฑ์ทังสองกลุ่มให้สามารถ
ป้องกนั การเตริญเติบโตของชีวนิ ทรยี ์ในระบบอยา่ ง ควบคุมและยับยังการเจริญเติบโตของชีวินทรีย์
มีประสิทธิภาพจึงเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีจ้าเป็นส้าหรับ ครอบคลุมการท้าลายชีวินทรีย์หลากหลายชนิด
โปรแกรมการคว บคุมคุณภ าพน้าหล่อเย็น โ ด ย ก า ร เ ลือ ก ใ ช้ ไ ม่ เพี ย ง แ ค่ พิ จา ร ณ า จ า ก
เพ่ือรักษาให้ระบบหล่อเย็นท้างานได้อย่างมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ฆ่ า ชี วิ น ท รี ย์ แ ล ะ ค ว า ม
ประสทิ ธภิ าพ ปลอดภัยต่ออุปกรณ์โรงไฟฟ้าเท่านัน ยังพิจารณา
เลือกจากผลิตภัณฑ์ที่มีการรับรองให้สามารถใช้
ปั จ จุ บั น ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ยั บ ยั ง ก า ร ง า น ไ ด้ ใ น ร ะ บ บ ห ล่ อ เ ย็ น จ า ก ห น่ ว ย ง า น ที่ ดู แ ล
เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง ชี วิ น ท รี ย์ ใ น ร ะ บ บ ห ล่ อ เ ย็ น ในด้านส่ิงแวดล้อมทังในประเทศและระดับสากล
นิยมใช้เคมีภัณฑ์ประเภท Biocide ในการฆ่าเพ่ือ เช่น กรมควบคุมมลพิษ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ลดจ้านวนชีวินทรีย์ในระบบให้เหลือน้อยที่สุด และ US.EPA เป็นต้น รวมถึงความเข้ากันได้กับ
เพอื่ ปอ้ งกันและยบั ยังไม่ใหช้ ีวินทรยี ์เหล่านีสามารถ เคมภี ัณฑอ์ ื่นๆ ท่ใี ช้ในระบบหลอ่ เย็น
เ ก า ะ ส ะ ส ม ท่ี บ ริ เ ว ณ ผิ ว ข อ ง อุ ป ก ร ณ์ ถ่ า ย เ ท
ความร้อน เช่น Condenser tube และผนังของ 1. Oxidizing Biocide
หอหล่อเย็น Biocide ท่ีใช้สามารถแบ่งออกเป็น
เ ค มี ภั ณ ฑ์ ป ร ะ เ ภ ท Oxidizing Biocide
จัดเป็นสารออกซิไดซ์ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถ
ฆ่าและควบคุมชีวิทรีย์ได้ทุกชนิด ทังแบคทีเรีย
สาหร่าย รา และไวรัส โดยมีกลไกการท้างานคือ
การดึงอิเล็กตรอนออกจากเซลล์ของชีวินทรีย์และ
การเขา้ ไปออกซิไดสก์ ลุ่มโปรตนี ซึง่ เปน็ การรบกวน

3

การท้างานของเอนไซม์ท้าให้เซลล์ตาย ตัวอย่าง เนื่องจาก HOCl มีความสามารถในการควบคุม
เคมีภัณฑป์ ระเภท Oxidizing Biocide เชน่ คลอรีน การเจริญเติบโตของชีวินทรีย์ท่ีมีประสิทธิภาพที่สุด
คลอรนี ไดออกไซด์ โบรมีน และโอโซน เม่ือ pH ของน้าสูงขึน การแตกตัวของ HOCl ให้
OCl– จะมากขึน ซ่ึง OCl– มีประสิทธิภาพใน
1.1) คลอรนี การควบคุมการเจริญเติบโตของชีวินทรีย์ท่ีต้่ามาก
ตอ้ งอาศยั Contact time มาก
คลอรีน มีคุณสมบัติเป็นตัวออกซิไดซ์ท่ี
รุนแรงเป็นสารเคมีท่ีมีประสิทธิภาพสูงส้าหรับใช้ Cl2 + H2O HCl + HOCl
ฆา่ เชอื โรค ท่ีสามารถน้าไปใช้ในดา้ นตา่ งๆ มากมาย
คลอรีนทใี่ ช้โดยท่วั ไป มีอยู่ 3 รูปแบบ คอื HOCl H + + OCl –

- อยู่ในรูปก๊าซ ได้แก่ ก๊าซคลอรีน ประสิทธิภาพในการควบคุมการเจริญเติบโตของ
(Liquefied Chlorine Gas) ชวี ินทรียห์ รือทา้ หน้าท่ีเปน็ Biocides เป็นดังนี

- อยู่ในรูปสารละลายได้แก่ โซเดียมไฮโป HOCl >>> OCl –
คลอไรท์ (Sodium Hypochlorite as
10% Cl2) นอกจากนีประสิทธิภาพหรือความสามารถ
ในการควบคุมการเจริญเติบโตของชีวินทรีย์จะ
- อยู่ในรูปของแข็ง ได้แก่ แคลเซียมไฮโป ลดลงหากในน้ามีสารประกอบของ Nitrogen เช่น
คลอไรท์ Ammonia ป น เ ป้ื อ น เ นื่ อ ง จ า ก ค ล อ รี น จ ะ
ท้าปฏิกริยากับสารประกอบ Nitrogen เกิดเป็น
ก๊าซคลอรีน (Liquefied Chlorine Gas : Choramines ซง่ึ จะท้าหนา้ ทเี่ ป็น biocide เชน่ กัน
Cl2) แต่มีประสิทธิภาพต้่ากว่า HOCl และ OCl– ต้อง
อาศัย Contact time มาก ประสิทธิภาพใน
เป็น Oxidizing biocide ที่นิยมน้ามาใช้ การควบคุมการเจริญเติบโตของชีวินทรีย์ หรือ
มากที่สุด เนื่องจากมีราคาไม่สูงมากและมี ทา้ หน้าทเ่ี ปน็ Biocides เรียงล้าดบั ได้ดังนี
ประสิทธิภาพสูงในการควบคุมชีวินทรีย์ แต่มี
จุดอ่อนที่ส้าคัญ คือ ประสิทธิภาพหรือความ HOCl >> OCl – > Chloramines
ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง
ชีวินทรีย์จะลดลงเม่ือ pH ของน้าสูงขึน เน่ืองจาก หากต้องการคงประสิทธิภาพของคลอรีน
ค ล อ รี น เ ม่ื อ อ ยู่ ใ น น้ า จ ะ hydrolyzes ใ ห้ ให้สูงขึนจ้าเป็นจะต้องเติมคลอรีน โดยใช้เทคนิค
Hydrochloric acid (HCl) และ Hypochlorous Breakpoint chlorination ซง่ึ เป็นการเติมคลอรีน
acid (HOCl) ซ่ึง HOCl บางส่วนจะแตกตัวให้
Hypochlorite ion (OCl-) สั ด ส่ ว น ข อ ง ก า ร
hydrolyzes จะมากน้อยขนาดไหน รว มทัง
อัตราส่วนของการแตกตัวของ HOCl เป็น OCl-
จะขึนอยู่กับ pH ของน้า ดงั รูป

4

จนให้เกิด Free available chlorine ขึน แต่นั่น Calcium Hypochlorite
หมายความวา่ จะตอ้ งใชค้ ลอรีนในปรมิ าณท่ีมากขึน Calcium hypochlorite เ ป็ น Oxidizing
agent ทแี่ รงและมีราคาสูงกว่า Chlorine Gasเป็น
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น การน้าคลอรีน สารท่ีไม่คงตัวสามารถแตกตัวเป็น Free Chlorine
มาใช้ในการควบคุมการเจริญเติบโตของชีวินทรีย์ Residual ซ่ึงท้าปฏิกิริยากับสารอ่ืนเกิดเป็น
ในระบบน้าหล่อเย็นแบบเปิดโดยเฉพาะการใช้ Chloramine และ Chlorophenol นอกจากนี
รว่ มกับ Treatment Program ท่ีปล่อยให้ pH ของ Calcium Hypochlorite มี Solubility ต่้า ท้าให้
น้าลอยตัว และมีรอบการหมุนเวียนของน้าสูงซึ่ง มัก feed เป็น Emulsion milk ท้าให้สามารถจับ
เป็น Treatment Program ที่นิยมใช้กันมากใน ตวั เป็นผลกึ อุดตนั ท่อ วาลว์ หรือ pump ในระบบ
ปัจจุบัน เพ่ือป้องกันการกัดกร่อน การเกิดตะกรัน
จะมีผลท้าให้ประสิทธิภาพของคลอรีนลดลงกว่าท่ี 1.2) Chlorine Dioxide (ClO2)
ควรจะเปน็ Chlorine Dioxide สามารถท้าปฏิกิริยากับ
ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง เ ซ ล ล์ จุ ลิ น ท รี ย์ โ ด ย ก า ร ดึ ง
นอกจากนีคลอรีนเป็นสารท่ีระเหยเป็นไอ อิเ ล็ ก ต ร อ น อ อก ม า ท้ า ใ ห้ เซ ล ล์ เ ม ม เ บ ร น
ได้ง่ายและสามารถสลายตัวได้ด้วยแสง UV ท้าให้ ข า ด เ ส ถี ย ร ภ า พ แ ล ะ ท้ า ใ ห้ เ ซ ล ล์ แ ต ก ใ น ที่ สุ ด
การจัดเก็บยุ่ง ยาก อีกทังค ลอรีนสามาร ถ Chlorine dioxide สามารถท้าปฏิกิริยากับโปรตีน
ท้ า ป ฏิ กิ ริ ย า กั บ ส า ร อิ น ท รี ย์ ใ ห้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ - ของเซลล์ได้หลายชนิดท้าให้ยากต่อการที่ชีวินทรีย์
พลอยได้พวก Trihalomethanes (THMs) ซึ่งเปน็ จะเกิดการกลายพันธ์ุแล้วอยู่ในรูปท่ีต้านทานต่อ
สารก่อมะเร็งท่ีรุนแรงชนิดหน่ึง ท้าให้เกิด เคมีภณั ฑช์ นดิ นี นอกจากนี Chlorine dioxide ยัง
สารตกค้างในระบบท่ีเป็นอันตรายต่อส่ิงแวดล้อม สามารถท้าลายแบคทีเรียที่อยู่ในรูป endospore
นอกจากนีการใช้คลอรีนท่ี dosage สูงๆ จะท้าให้ ที่ไม่สามารถท้าลายได้ง่าย โดย ClO2 สามารถซึม
เกิดปัญหาในการกัดกร่อนโลหะเกือบทุกชนิด ผ่านส่วนห่อหุ้มสปอร์เข้าไปท้าลายส่วนประกอบ
ในระบบ ภายในได้ มีประสิทธิภาพในการควบคุมชีวินทรีย์
มากกว่าคลอรีนประมาณ 2.5 เท่า สามารถใช้ได้ดี
Sodium Hypochlorite กับระบบน้าหล่อเย็นท่ีมี pH อยู่ในช่วง 5-10
โดยเฉพาะในระบบน้าหล่อเย็นท่ีมี pH สูงกว่า 8
Sodium Hypochlorite มี ป ริ ม า ณ
Chlorine ประมาณ 3 – 15 % นิยมใช้ในระบบ
น้าหล่อเย็นท่ีมีขนาดไม่ใหญ่มาก มีข้อจ้ากัดใน
การใช้งานคือ Sodium hypochlorite มีอายุเก็บ
(shelf life) สันประมาณ 6 เดือนและสามารถ
เ สื่ อ ม ส ภ า พ ไ ด้ เ นื่ อ ง จ า ก แ ส ง แ ล ะ อุ ณ ห ภู มิ สู ง
เป็นสารที่ไม่คงตัวสามารถแตกตัวเป็น Free
Chlorine Residual ซ่ึงท้าปฏิกิริยากับสารอ่ืน
เ กิ ด เ ป็ น Chloramine แ ล ะ Chlorophenol
นอกจากนี Sodium hypochlorite มีราคาสูงกว่า
Chlorine แบบอน่ื ๆ

5

โดยท่ีอุณหภูมิและ pH ของน้าในระบบหล่อเย็น ข้อจ้ากัดของการใช้คลอรีนไดออกไซด์ คือ
ไม่มีผลต่อประสิทธิภาพในการควบคุมจุลินทรีย์ เม่ืออยู่ในสารละลายท่ีมีสภาวะเปน็ เบส คลอรนี ได
ของ Chlorine dioxide นอกจากนียังเป็นสารท่ี ออกไซด์จะเกิดการแตกตัวได้ คลอไรท์ (ClO2--)
สามรถย่อยสลายได้ในธรรมชาติ การน้า Chlorine และ คลอเรท (CIO3--)
dioxide มาใช้ในระบบน้าหล่อเย็นมีข้อดีคือ
Chlorine dioxide มีความเสถียรสูง และถึงแม้จะ อย่างไรก็ตาม คลอรีนไดออกไซด์ นับเป็น
มี Cl เป็นส่วนประกอบแต่ Chlorine dioxide มี อี ก ห น่ึ ง เ ค มี ภั ณ ฑ์ ที่ ฝ่ า ย เ ค มี ใ ห้ ค ว า ม ส น ใ จ ใ น
คุณสมบตั ิแตกตา่ งจากคลอรนี เนือ่ งจาก Chlorine การน้ามาใช้เป็นเคมีภัณฑ์สา้ หรับทา้ หน้าท่ีควบคุม
dioxide ไม่ท้าปฏิกิริยากับสารประกอบ เช่น แล ะ ยับ ยั งก า รเ จ ริญ เ ติบ โ ตข อ งชี วิ นท รี ย์
Ammonia ห รื อ Organic Compound ท้ า ใ ห้ โดยเฉพาะระบบน้าหล่อเย็นที่มีสภาวะ pH
ไ ม่ ก่ อ ส า ร ป ร ะ ก อ บ อิ น ท รี ย์ ข้ า ง เ คี ย ง ที่ ไ ม่ พึ ง - ค่อนข้างสูง โดยได้มีการศึกษาเพ่ือเปรียบเทียบ
ประสงค์ของ Chlorine (Chlorinated Organic การใช้งานทังในเชิงประสิทธิภาพการท้างานของ
Compounds) ไม่ก่อให้เกิดสารตกค้างท่ีเป็น เค มี ภัณ ฑ์ สุข ภ า พแ ล ะค ว า มป ล อ ดภั ย ใ น
อันตราย เช่น Trihalomethanes และเน่ืองจาก การใช้งาน และผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม เป็นการ
Chlorine dioxide มีค่า Oxidation/Reduction เ ต รี ย ม พ ร้ อ ม ส้ า ห รั บ ข้ อ มู ล ท า ง เ ค มี แ ล ะ เ ป็ น
Potential ต่้ากว่าเคมีภัณฑ์ประเภท Oxidizing ทางเลือกในอนาคต หากมาตรการดา้ นสิ่งแวดล้อม
biocide ช นิ ด อ่ื น ๆ เ ช่ น Ozone, Hydrogen มีความเข้มงวดและข้อกฎหมาย ในการควบคุม
Peroxide ห รื อ Sodium Hypochlorite จึ ง มี หรือก้าจัดการใช้คลอรีนในประเทศไทยเร่ิมมีผล
สมบัติกัดกร่อนวัสดุน้อยกว่า นอกจากนีคลอรีน- บงั คบั ใช้
ไดออกไซด์ยังละลายน้าได้ดีกว่าด้วย ข้อจ้ากัดของ
Chlorine dioxide คือ มีราคาสูงและเกิดการ 1.3) Bromine
ระเบิดได้ง่าย เมื่อมีการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ โบรมีนเป็น oxidizing biocide ที่สามารถ
เล็กน้อยและสมั ผสั กับสารอนิ ทรีย์ ท้าให้ไม่สามารถ น้ามาใช้ส้าหรับควบคุมชีวินทรีย์ เหมาะส้าหรับ
เก็บรักษาได้อย่างปลอดภัย ไม่สะดวกในการขนส่ง น้ามาใช้ในระบบที่มี Ammonia หรือ Nitrogen
เม่ือต้องการใช้จ้าเป็นจะต้องผลิตในพืนท่ีใช้งาน ปนเปื้อน โบรมีนท้าให้เกิดสารตกค้างในระบบท่ีมี
โดยวิธีเตรียมคลอรีนไดออกไซด์ที่ใช้ท่ัวไปมี 2 วิธี พิษต้่ากว่าคลอรีน และมีฤทธ์ิกัดกร่อนน้อยกว่า
คอื จากโซเดยี มคลอไรท์ทา้ ปฏกิ ิริยากับกา๊ ซคลอรีน คลอรีน นอกจากนี โบรมีนสามารถละลายน้าได้
แ ล ะ โ ซ เ ดี ย ม ค ล อ ไ ร ท์ ท้ า ป ฏิ กิ ริ ย า กั บ ดีกว่าคลอรีนประมาณ 3 เท่า โบรมีนสามารถ
กรดไฮโดรคลอริกหรือกรดซัลฟุริก เกิดปฏิกิริยา ท้าปฏิกิริยากับ Ammonia เกิดเป็น Bromamine
ดงั สมการ

2NaClO2 + Cl2 2ClO2 + 2NaCl
5NaClO2 + 4HCl 4ClO2 + 5NaCl + 2H2O
10NaCl O2 + 5H2SO4
8ClO2 + 5Na2SO4
+2HCl + 4H2O

6

ได้เช่นเดียวกับคลอรีน แต่ Bromamine ไม่คงตัว อัตราการระเหยของ Hypobromous acid
จะแตกตัวเป็น Hypobromous ไดอ้ ย่างรวดเร็ว จะน้อยกว่าโอโซน (O3) ประมาณ 167,000 เท่า
น้อยกว่า ClO2 ประมาณ 1,800 เท่า น้อยกว่า
โบรมีนเม่ือละลายน้าจะ Hydrolyze ให้ mMnochloramine ประมาณ 15 เท่า และน้อย
Hypobromous acid (HOBr) และHydrobromic กว่า HOCl ประมาณ 2 เท่า ดงั นัน Contact time
acid (HBr) บางส่วนของ HOBr จะแตกตัวให้ ที่ใช้จะสันลง ในแง่ของความเป็นพิษเม่ือระบายน้า
Hypobromite ion (OBr-) ขึนอยู่กับ pH ของน้า ทิงออกสู่ภายนอก Chloramines residual จะมี
(เช่นเดียวกับการ hydrolyze ของ Cl2 และการ ความคงตัวและเสื่อมสลายช้าใช้เวลาหลายชั่วโมง
แตกตัวของ HOCl) แต่ Bromamines residual มีอัตราการเสื่อม
สลายเร็ว ใช้เวลาน้อยกว่า 1 ชั่วโมง ดังนัน
Br2 + H2O HOBr + H + + Br- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของสารประกอบโบรมีน
จะน้อยกว่าของสารประกอบคลอรนี
HOBr Dissociation Curves for HOHBr+andH+OCl OBr

H OX Acid P ercen t 100 กา ร ค ว บ คุ ม ชี วิ น ท รี ย์ ใ น ร ะ บ บ น้ า ใ น
90 อุตสาหกรรมโดยการใช้สารก้าจัดชีวินทรีย์ใน
กลุ่มคลอรีนและโบรมีนได้ถูกใช้อย่างแพร่หลาย
80 HOBr และยอมรับว่ามีราคาถูก ความนิยมในการใช้
โบรมีนเน่ืองจากมีข้อดีหลายประการเหนือกว่า
70 คลอรีน คือ มีประสิทธิภาพในการก้าจัดชีวินทรีย์ที่
60 เหนือกว่าและสามารถท้างานได้ดีท่ี pH สูงและ
ใน ก รณี ท่ี น้ ามี แ อ มโ ม เ นีย น อก จ า กนี ยั ง มี
50 HOCl การสูญเสียน้อยกว่าคลอรีนเนื่องจากโบรมีน
มีอัตราการระเหยต่้าและสามารถเข้ากันได้ดีกับ
40 สารเคมที ี่ใช้ในระบบน้าหล่อเยน็
30
20
10
0

6 6.5 7 7.5 8 8.5 9 9.5

pH

ในน้าท่ีมีสารประกอบของ Nitrogen เช่น โบรมีนท่ีน้ามาใช้ในอุตสาหกรรมจะอยู่
Ammonia จะมีผลกระทบต่อโบรมีนเช่นเดียวกับ ในรูปสารประกอบ เช่น NaBr และ 1-Bromo-3-
การใช้คลอรีน คือ โบรมีนจะท้าปฏิกริยากับ chloro-5,5-dimethylhydantoin : BCDMH โดย
สารประกอบ Nitrogen เกิดเป็น Bromamines สารประกอบดังกล่าวจะแตกตัวให้ HOCl และ
แ ต่ Bromamines จ ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น HOBr มีฤทธ์ิเป็น Biocide ในการควบคุมการ
ก า ร ค ว บ คุ ม ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง ชี วิ น ท รี ย์ ท่ี เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง ชี วิ น ท รี ย์ ใ น ร ะ ย ะ แ ร ก
สูงกว่า Chloramines มาก เทคนิค Breakpoint สารประกอบโบรมีนท่นี ้ามาใช้จะอยใู่ นรปู Sodium
Bromination จึงไม่จ้าเป็นส้าหรับการใช้โบรมีน Bromide ซ่งึ เป็นของแข็ง โดยในการใช้งานต้องท้า
ประสิทธิภาพในการควบคุมการเจริญเติบโตของ ป ฏิ กิ ริ ย า กั บ Hypochlorite เ พ่ื อ ใ ห้ ไ ด้
ชีวินทรยี ์หรือท้าหน้าที่เปน็ Biocide เปน็ ดังนี Hypobromous acid ดงั สมการตอ่ ไปนี

HOCl  HOBr > OBr- > Bromamines >>>
OCl- > Chloramines

HOCl + Br- HOBr + Cl-

7

นอกจากนี จ้าเป็นต้องมีอุปกรณ์ส้าหรับ Gel® จึงเป็นทางออกของการแก้ปัญหาระบบ
ใช้ในการท้าปฏกิ ิรยิ าดงั กลา่ วทหี่ น้างานด้วย เพราะ ที่มี Cycle of Concentration สูง มี pH สูง และ
สาร Hypobromous acid ท่ีเกิดขึนจากปฏิกิริยา มีแอมโมเนยี ปนเป้อื นอยไู่ ด้เปน็ อย่างดี
สามารถสลายตัวได้อย่างรวดเร็ว ท้าใหเ้ กิดความไม่
สะดวกในการใช้โบรมีนในรูปของแข็ง ดังนัน จึงได้ 1.4) Hydrogen Peroxide
มีการพัฒนาคิดค้นสารประกอบ Bromine ในรูป
1-Bromo-3-chloro-5,5-dimethylhydantoin : Hydrogen peroxide เป็นสาร Oxidizing
BCDMH ท่ีสามารถให้Hypobromous acid ได้ biocide ที่ รุ น แ ร ง แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น
ด้วยตัวเองและสามารถเติมเข้าสู่ระบบได้ง่าย ก า ร ค ว บ คุ ม ชี วิ น ท รี ย์ สู ง แ ม้ ใ ช้ ใ น ป ริ ม า ณ น้ อ ย
เพอื่ ความสะดวกในการปฏิบตั งิ าน สามารถใช้ได้ในช่วง pH กว้าง นอกจากนี
ยั ง ไ ม่ ท้ า ใ ห้ เ กิ ด ส า ร ต ก ค้ า ง ที่ เ ป็ น อั น ต ร า ย ต่ อ
ในระยะแรก BCDMH ที่ใช้จะอยู่ในรูป ส่ิงแวดล้อมขึนในระบบ โดยทั่วไปไม่นิยมน้ามาใช้
ของแข็ง เช่น ผง (powder) เม็ด (granules) หรือ ควบคุมชีวินทรีย์ในระบบน้าหล่อเย็น เนื่องจากมี
ก้อน (tablet) ปัจจุบันได้มีการคิดค้นพัฒนา ร า ค า สู ง แ ล ะ มี ค ว า ม ไ ว ใ น ก า ร ท้ า ป ฏิ กิ ริ ย า สู ง
BCDMH ในรูปแบบ Gel ที่สามารถน้ามาใช้งานได้ สามารถท้าปฏิกิริยาวัสดุเช่นไม้และโลหะในระบบ
สะดวก ปลอดภัย แตกตัวได้โดยง่ายและสามารถ นา้ หล่อเย็น
ละลายได้ทนั ทีทเี่ ติมเชา้ สู่ระบบ
1.5) Ozone
% Dissolved 100
โอโซนเป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่เสถียร
75 10 20 30 40 50 60 เม่ืออยู่ในรูปก๊าซและสารละลาย สลายตัวได้ง่าย
มีครึ่งชีวิตประมาณ 20 นาที จึงจ้าเป็นจะต้องมี
50 การผลิตโอโซนในพืนท่ีใช้งาน ความสามารถใน
การละลายน้าเท่ากับ 40 มลิ ลิกรัม/ลิตร ช่วงความ
25 เข้มข้นของโอโซนท่ีมีประสิทธิภาพในการก้าจัด
เชือโรคคือ 3 – 10 มิลลิกรัม/ลิตร โอโซนมี
0 ความสามารถในการออกซิไดซ์สูง ปฏิกิริยา
0 การสลายตัวของโอโซนเป็นปฏิกิริยาท่ีซับซ้อน
ปัจจัยท่ีควบคุมการสลายตัวของโอโซน คือ pH,
Minutes อุณหภูมิ, ปริมาณสารอินทรีย์ และสารประกอบ
อนิน ทรี ย์ที่ มีอ ยู่ใน น้า ปั จจุ บันโ อโ ซน เป็ น
Powder Gel Target 400 ppm as BCDMH Oxidizing biocide ท่ีถูกน้ามาใช้เพื่อคว บคุม
ชีวินทรีย์ในระบบน้าหล่อเย็นอย่างแพร่หลาย
BCDMH ในรูปแบบเจลเป็นสารละลายท่ี เน่ืองจากโอโซนสลายตัวอย่างรวดเร็ว ท้าให้
คงตัวของ 35 % BCDMH ซ่ึงได้รับการพัฒนา ไ ม่ เ ห ลื อ ส า ร ต ก ค้ า ง ใ น ร ะ บ บ เ ห มื อ น ใ น ก ร ณี ที่
เพื่อให้สามารถปล่อยสาร Halogen ออกมาได้ ใช้สารประกอบ halogen ประเภ ทคลอรี น
อย่างรวดเร็ว ละลายได้เร็วและสามารถเติมลงใน นอกจากนีการใช้โอโซนมีข้อได้เปรียบคือท้าให้
ระบบได้โดยตรง โดยมีลักษณะเป็นของเหลวข้น ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บเคมีภัณฑ์ แต่มี
สามารถไหลเทได้ง่ายและสามารถเติมเข้าสู่ระบบ
หล่อเย็นไดง้ ่ายโดยใช้ Peristatic Pump ในกรณีท่ี
เป็นระบบใหญ่ ส้าหรับในระบบหล่อเย็นท่ีมีขนาด
เล็กสามารถใช้ Metering pump ส้าหรับเติม
สารเคมีเข้าสู่ระบบ ดังนันการเลือกใช้ BromiCide

8

ข้อจ้ากัดคือโอโซนเป็นสารท่ีมีความไวในการ ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ท้าปฏิกิริยาสูง สามารถท้าปฏิกิริยากับสารเคมีท่ี และเป็นชนิดท่ี EPA กา้ หนดใหใ้ ช้
ใช้ในระบบเพื่อป้องกันการกัดกร่อนและการเกิด
ตะกรัน โดยเฉพาะสารประกอบ Phosphonate 2.1) Glutaraldehyde
แ ล ะ ส า ม า ร ถ ท้ า ป ฏิ กิ ริ ย า กั บ วั ส ดุ ท้ า ใ ห้ เ กิ ด เป็นเคมภี ัณฑก์ ลุ่ม Aldehydes มีโครงสรา้ ง
ความเสียหายของอปุ กรณ์ตา่ งๆ ในระบบได้ ประกอบด้วยคารบ์ อน 5 ตวั มีสตู รโครงสรา้ งดังนี

Oxidizing Biocides Oxidation Oxidation Aldehydes มคี วามคงตัวสงู ความสามารถ
strength capacity ในการระเหยต้่า และกลิ่นไม่ฉุน สามารถฆ่า
ชีวินทรีย์ได้หลายชนิด เช่น แบคทีเรียแกรมบวก
ozone (O3) 2.07 2 e- แบคทีเรียแกรมลบ สปอร์ของแบคทเี รีย แบคทเี รีย
1.78 2 e- ที่ใช้ซัลเฟตเป็นอาหาร เชือรา และไวรัสต่างๆ
hydrogen peroxide 1.49 เป็นเคมีภัณฑ์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง มีความสามารถ
(H2O2) 2 e- ในการออกฤทธิ์เร็ว และสามารถฆ่าเชือต่างๆ ได้
อย่างกว้างขวางในระยะเวลาอันสัน โดยออกฤทธิ์
hypochlorous acid 2 e- ท้าลายผนังเซลล์ของชีวินทรีย์ ท้าให้ผนังเซลล์ขาด
(HOCl) แทรกซึมและท้าให้ระบบการแลกเปลี่ยนสารต่างๆ
5 e- ในเซลล์หยุดชะงัก เกิดการขาดน้าและอาหาร
hypobromous acid 1.33 ท้าให้โปรตีนเสียสภาพ จึงตายลงในระยะเวลา
(HOBr) อันสันเน่ืองจากเซลล์แตก ปัจจัยซึ่งมีอิทธิพล
ต่อประสิทธิภาพของ Glutaraldehyde ได้แก่
chlorine dioxide 0.95 ใน ส ภ า ว ะที่ เ ป็ นก ร ด Glutaraldehyde จ ะ มี
(ClO2) ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม แ ล ะ ยั บ ยั ง
การเจริญเติบโตของชีวินทรีย์สูงกว่าในสภาวะที่
2. Non-Oxidizing Biocide เป็นด่าง pH ท่ีเหมาะสม คือ 7.5 - 8.5 และที่
อุณหภูมิสูงจะมีประสิทธิภาพดีกว่าอุณหภูมิต่้า
เคมีภัณฑป์ ระเภท Non-Oxidizing Biocide ข้ อ ดี อี ก ป ร ะ ก า ร ห นึ่ ง ข อ ง Glutaraldehyde
มี ก ล ไ ก ก า ร ท้ า ง า น ที่ เ ฉ พ า ะ เ จ า ะ จ ง ม า ก ก ว่ า คื อ ส า ม า ร ถ ย่ อ ย ส ล า ย ไ ด้ ดี ใ น ธ ร ร ม ช า ติ
เคมีภัณฑ์ประเภท Oxidizing Biocide เนื่องจาก (Biodegradable)
เคมีภัณฑ์กลุ่มนีมีความไวในการท้าปฎิกิริยา
ต้่ากว่า (Low reactivity) ดังนันจึงมี Half-life ที่
ยาวนานกว่า ท้าให้สามารถอยู่ในระบบได้นานกว่า
Non-Oxidizing Biocide ส า ม า ร ถ เ ข้ า กั น ไ ด้
( Compatibility) กั บ เ ค มี ภั ณ ฑ์ ป ร ะ เ ภ ท อ่ื น ๆ
ท่ีเติมเข้าไปในระบบหล่อเย็นมากกว่า Oxidizing
Biocide โ ด ย ทั่ ว ไ ป นิ ย ม ใ ช้ Non-Oxidizing
Biocide ในการควบคุมและยับยังการเจริญ
เ ติ บ โ ต ข อ ง ชี วิ น ท รี ย์ ใ น ร ะ บ บ ท่ี มี ข น า ด ใ ห ญ่
มีปริมาณน้าหล่อเย็นเป็นจ้านวนมาก ตัวอย่างของ
เคมีภัณฑ์ประเภท Non-Oxidizing Biocide เช่น
Glutaraldehyde, Isothiazolones และ DBNPA

ในอดีตท่ีผ่านมา โปรแกรมการควบคุมและ
ยับยังการเจริญเติบโตของชีวินทรีย์ในระบบ
หลอ่ เยน็ ของโรงไฟฟ้าของ กฟผ. มีการน้าเคมภี ัณฑ์
ป ร ะ เ ภ ท Non-Oxidizing Biocide ม า ใ ช้
หลากหลายชนิด และในปัจจุบัน Non-Oxidizing
Biocide ท่ีเลือกน้ามาใช้จะเป็นประเภทที่สามารถ

9

2.2) DBNPA ส า ม า ร ถ เ ข้ า กั น ไ ด้ กั บ เ ค มี ภั ณ ฑ์ ป ร ะ เ ภ ท
Corrosion/Scale Inhibitor และสาร Dispersant
2,2 dibromo-3-nitrilopropionamide : ได้ดี อย่างไรก็ตามถ้าในระบบมีการปนเปื้อนของ
DBNPA เป็นเคมีภัณฑ์กลุ่ม Organo-bromine มี คลอรีน คลอไรด์ และสารแขวนลอยจะท้าให้
สูตรโมเลกุลดังนี C3H2Br2N2O เป็น biocide ท่ีมี ประสทิ ธภิ าพของเคมภี ณั ฑ์นลี ดลง
ประสิทธิภาพสูง สามารถฆ่าชีวินทรีย์ได้เกือบ
ทุกชนิด (Broad spectrum) เหมาะส้าหรับใช้ใน บทสรปุ
ระบบที่มีสารอินทรีย์อยู่ในปริมาณสูง และเหมาะ
ส้าหรับใช้ควบคุมและยับยังการเจริญเติบโตของ เคมีภัณฑ์ที่ใช้ในการควบคุมและยับยัง
ชีวินทรีย์ในระบบน้าหล่อเย็นหมุนเวียนแบบเปิด การเจริญเติบโตของชีวินทรีย์ในระบบน้าหล่อเย็น
เนอื่ งจากสามารถฆา่ ชวี นิ ทรยี ์ได้อยา่ งรวดเรว็ (Fast มีหลากหลายชนิด ทังนีในการเลือกจะต้อง
acting) โดยปกติจะมี Contact time น้อยกว่า พิจารณาจากคุณภาพของน้าหล่อเย็นในระบบ
1 ชัว่ โมงจึงเหมาะส้าหรับใช้ในกรณที ่ีมี Discharge ขนาดของระบบ ประสิทธิภาพในการฆ่าชีวินทรีย์
regulation ท่ีค่อนข้างเข้มงวด DBNPA มีข้อด้อย ของเคมีภัณฑ์แต่ละชนิด ข้อจ้ากัดของเคมีภัณฑ์
คือจะถูก Hydrolyze อย่างรวดเร็วถ้าระบบมี pH รวมทังความเข้ากันได้ของเคมีภัณฑ์ต่อเคมีภัณฑ์
สูงกว่า 8 และ Half-life จะลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อ ชนิดอื่นๆ ท่ีเติมเข้าในระบบ รวมถึงสุขภาพและ
pH และอณุ หภมู ิเพิม่ สงู ขนึ ความปลอดภัยในการใช้ นอกจากนีในการเลือกใช้
เคมีภัณฑ์จะต้องคา้ นึงถึงผลิตผลข้างเคียงทีเ่ กิดจาก
2.3) Isothiazolones ก า ร ใ ช้ ( Disinfection by Product, DBP) แ ล ะ
ปริมาณสารเคมีที่ตกค้าง ( residue) รวมถึง
Isothiazolones โ ด ย ป ก ติ จ ะ เ กิ ด จ า ก ผลกระ ทบใน ด้านต่า งๆ ข องเคมี ภัณฑ์ต่ อ
ก า ร ผ ส ม ร ะ ห ว่ า ง 5-chloro-2-methyl-4- สิ่งแวดล้อม การศึกษาข้อมูลรายละเอียดต่างๆ
isothiazolin-3-one (CMIT) แ ล ะ 2-methyl-4- ของเคมีภัณฑ์แต่ะละชนิด เช่น คุณสมบัติทางเคมี
isothiazolin-3-one (MIT) ในอัตราส่วน 3 : 1 และทางกายภาพ กลไกการท้างานและการออก
มีสูตรโมเลกลุ C4H4ClNOS นยิ มใช้สา้ หรบั ควบคุม ฤทธิ์ของเคมีภัณฑ์ ข้อจ้ากัดในด้านต่างๆ รวมทัง
และยับยังการเจริญเติบโตของชีวินทรีย์ในระบบ ข้อก้าหนดหรือกฏหมายท่ีเก่ียวข้อง เป็นข้อมูลท่ี
น้าหล่อเย็นหมุนเวียนแบบเปิด เน่ืองจากมี ส้าคัญและเป็นประโยชน์ สามารถน้ามาใช้
คุณสมบัติเป็น broad spectrum มีประสิทธิภาพ ในการก้าหนดเลือก เคมีภัณฑ์เพ่ือก้าหน ด
สูงในการฆ่าชีวินทรีย์ประเภทแบคทีเรีย รา และ Treatment Program เพื่อให้ได้โปรแกรมส้าหรับ
สาหร่าย ถึงแม้ว่าใช้ในปริมาณความเข้มข้นต้่าๆ ค ว บ คุ ม คุ ณ ภ า พ น้ า ห ล่ อ เ ย็ น ใ น โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า ท่ี มี
อีกทังประสิทธิภาพในการฆ่าชีวินทรีย์ไม่ขึนอยู่กับ ประสิทธิภาพสูงสุด และเหมาะสม เฉพาะเจาะจง
ความเป็นกรด-ด่างของระบบ ท้าให้สามารถใช้ได้ กับโรงไฟฟ้าแต่ละแห่ง
ในช่วง pH ค่อนข้างกว้าง โดยมีกลไกการออกฤทธ์ิ
คือการเข้าไปท้าปฏกิ ิริยากับ Thiol group ที่อยู่ใน
โมเลกุลของเอนไซม์และโปรตีนของเซลล์ ขัดขวาง
ขบวนการหายใจและการล้าเลียงอาหารของเซลล์
และท้าให้เซลล์ตายในที่สุด Isothiazolones

10

เอกสารอ้างองิ 5. Fliermans CB, Harvey RS. “Effectiveness of 1-
bromo-3-chloro-5,5-dimethylhydantoin
1. Shull S.E., Murray D.T., Thorgenson R., against Legionella pneumophila in a cooling
Puckornis P.R., “Replacement of Chlorine Gas tower.” Appl Environ Microbiol. 1984
at a Major Gulf Coast Refinery with a New Jun;47(6):1307–1310.
Oxidizing Biocide” Cooling Tower Institute,
Annual Meeting, Houston, USA, February 8- 6. Yoshpe-Purer Y, Eylan E. “Disinfection of
10, 1988. water by hydrogen peroxide.” Health Lab Sci.
1968 Oct;5(4):233–238.
2. Cronier, S., et al. 1978. “Water Chlorination
Environmental Impact and Health Effects” 7. Flick, E. W. Fungicides, Biocides and
Vol. 2. R. L. Jolley, et al. (editors) Ann Arbor Preservatives for Industrial and Agricultural
Science Publishers, Inc. Ann Arbor, MI. Applications, Noyes Publications, Park Ridge,
New Jersey, 1987.
3. Bernarde, M.A., et al.1967a. “Kinetics and
Mechanism of Bacterial Disinfection by 8. Mary C. Chervenak “The Environmental Fate
Chlorine Dioxide.” J. Appl. Microbiol. of Commonly Used Oxidizing and Non-
15(2):257. Oxidizing Biocides : Reactions of Industrial
Water Biocides within the system”
4. Ridenour, G. M. and R.S. Ingols. 1947.
“Bactericidal Properties of Chlorine Dioxide.”
J. AWWA. 39.

ผู้เขียนบทความ

นางสาวนิศาชล ชินพนั ธ์
ต้าแหนง่ นักวิทยาศาสตร์ ระดบั 9
กองเคมภี ณั ฑ์ ฝ่ายเคมี

11

การผลติ ไฟฟ้าจากพลังงานลม (Wind)

โดย นางสาวธวชินี บรู ณชยั
หปธ-ธ. กคค-ธ. อคม.

พลังงานลม เป็นพลังงานจากธรรมชาติ กังหันลมส่วนใหญ่นิยมใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า
ที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ มนุษย์เราได้ใช้ ซึ่งมีหลายรูปแบบ ทังแบบแกนหมุนแนวตังและ
ประโยชน์จากพลังงานลมมานานหลายพันปี แกนหมุนแนวนอน ติดตังร่วมกับเครื่องกาเนิด
ในการอานวยความสะดวกสบายแก่ชีวิต เช่น ไฟฟ้าและระบบควบคุมการทางานเพื่อควบคุมให้
การแล่นเรือใบขนส่งสินค้าไปได้ไกลๆ การหมุน กังหันลมสกัดพลังงานจากลมได้สูงสุด และหยุด
กังหันวิดนา การหมุนโม่หินบดเมล็ดพืชใหเ้ ป็นแป้ง ท า ง า น เ ม่ื อ ค ว า ม เ ร็ ว ล ม สู ง เ กิ น พิ กั ด ห รื อ เ กิ ด
ในปัจจุบันมนุษย์จึงได้ให้ความสาคัญและนามาใช้ ลมกรรโชก ป้องกันความเสียหาย กังหันลม
ป ร ะ โ ย ช น์ ม า ก ขึ น โ ด ย ก า ร น า ม า ใ ช้ ผ ลิ ต สมัยใหม่มีให้เลือกหลายขนาด และสามารถทางาน
กระแสไฟฟ้า เน่ืองจากพลังงานลมมีอยู่โดยท่ัวไป ได้ที่ความเร็วลมต่า กังหันลมจานวนมากท่ีติดตัง
ไม่ต้องซือ เป็นพลังงานท่ีสะอาด ไม่ก่อให้เกิด พร้อมระบบควบคุมการทางานเพื่อผลิตไฟฟ้าเป็น
อันตรายต่อสภาพแวดล้อม และสามารถนามาใช้ ทุ่งกังหันลมท่ีให้ปริมาณไฟฟ้ามากพอที่จะทดแทน
ประโยชน์ได้อย่างไม่รู้จักหมดสิน “กังหันลม” เป็น โรงไฟฟ้าจากเชือเพลิงปิโตรเลียมได้การเลือก
อุปกรณ์ชนิดหน่ึงที่ถูกนามาใ้ช้สกัดพลังงานจลน์ สถานที่ติดตังทุ่งกังหันลมจะใช้ข้อมูลลักษณะทาง
ของกร ะแสลม และ เปล่ียน ให้เป็น ให้เป็ น ภมู ิศาสตร์ พืนที่คุณภาพของลม และปรากฏการณ์
พลังงานกล จากนันจึงนาพลังงานกลมาใช้ ต่างๆ ช่วยประเมินศักยภาพเพื่อประกอบ
ประโยชน์ กล่าวคือ เม่ือกระแสลมพัดผ่านใบกังหัน การตดั สินใจติดตังทุง่ กังหนั ลม กังหันลมผลิตไฟฟ้า
จะเกิดการถ่ายทอดพลังงานจลน์ไปสู่ใบกังหัน แห่งแรกของประเทศไทยติดตังที่แหลมพรหมเทพ
ทาให้กังหันหมุนรอบแกน สามารถนาพลังงานจาก จังหวัดภูเก็ต และข้อมูล ณ ปี 2556 ทุ่งกังหันลม
การหมุนนีไปใช้งานได้ กังหันลมท่ีใช้กันมากใน ใหญ่ท่ีสุดอยู่ท่ีจังหวัดนครราชสีมา รวมกาลัง
ประเทศไทยตังแต่อดีตถึงปัจจุบัน ได้แก่ กังหันลม การผลิต 213 เมกะวตั ต์
แบบใบกังหันไม้ ใช้สาหรับฉุดระหัดวิดนาเข้า
นาข้าวบริเวณจังหวัดฉะเชิงเทรา กังหันลม ประเภทของลม
ใบเสื่อลาแพน ใช้ฉุดระหัดวิดนาเค็มเข้านาเกลือ
บริเวณ จังหวัดสมุทรสงคราม และกังหันลมแบบ 1. ลมประจาปี
ใบกังหันหลายใบ ทาด้วยแผ่นเหล็กใช้สาหรับ
สูบนาจากบ่อนาบาดาลขึนไปเก็บในถังกักเก็บ เ ป็ น ล ม ท่ี พั ด อ ยู่ เ ป็ น ป ร ะ จ า ต ล อ ด ทั ง ปี
ส่วนการใช้กังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ายังอยู่ ในส่วนต่างๆ ของโลกแตกต่างกันไปในแต่ละ
ในระหว่างการทดสอบและพัฒนาอยู่ เราคงคุ้นตา เขตละติจูดของโลก เน่ืองจากประเทศไทยอยู่ใน
กบั กงั หนั ลมทใ่ี ช้ฉดุ ระหัดวดิ นาในนาเกลอื บริเวณเขตศูนย์สูตร อิทธิพลของลมประจาปีจึงไม่
มีประโยชน์ในการนามาใช้ ซึงคุณเกียรติชัยถึงกับ
บ่นเสยี ดายมาก

12

2. ลมประจาฤดู 4. Mountain Breeze ลมภเู ขา

เป็นลมที่พัดเปล่ียนทิศทางตามฤดูกาล ลมประจาถิ่นเกิดขึนประจาวัน เช่นเดียวกับ
เรียกวา่ ลมมรสุม เม่ือพูดถึงลมในบทความนีจะพูด ลมบกและลมทะเลเกิดในเวลากลางคืน จากความ
ถึงเฉพาะลมพืนผิวที่ผ่านประเทศไทยเท่านัน แตกต่างของความกดอากาศบริเวณภูเขา กล่าวคือ
ลมมรสมุ ท่มี คี วามสาคัญมากกค็ ือ บ ริ เ ว ณ ภู เ ข า ที่ ร ะ ดั บ สู ง จ ะ มี อ า ก า ศ เ ย็ น ก ว่ า
ท่ีระดับต่า หรือหุบเขาความแน่นของอากาศ
2.1 ลมมรสุมฤดูร้อน พัดในแนวทิศใต้ ใ น ที่ สู ง มี ม า ก ก ว่ า ใ น ร ะ ดั บ ต่ า ล ม จึ ง พั ด ล ง ม า
และตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงเดือน มิถุนายน- ตามลาดเขาซงึ่ แรงกวา่ ลมหบุ เขาท่ีพดั ขึน
สงิ หาคม
5. Monsoon ลมมรสมุ
2.2 ลมมรสุมฤดูหนาว พัดในแนว
ทิศเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงเดือน ลมท่ีพัดเปลี่ยนทิศทางไปกับการเปล่ียนฤดู
ธนั วาคม-กุมภาพนั ธ์ คือ ฤดูร้อนจะพัดในทิศทางหน่ึงและจะพัดเปล่ียน
ทิศทางในทางตรงกันข้ามในฤดูหนาวครังแรก
3. ลมประจาเวลา ใช้เรียกลมนีในบริเวณทะเลอาหรับ ซึ่งพัดอยู่ใน
ทิ ศ ท า ง ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ เ ป็ น ร ะ ย ะ เ ว ล า
เป็นลมที่เกิดขึนเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง 6 เดือน และพัดอยู่ในทิศทางตะวันตกเฉียงใต้เป็น
ความกดอากาศระหว่าง 2 บริเวณในระยะ ระยะเวลา 6 เดือน จึงมีท่ีมาจากคาในภาษา
เวลาสันๆ ได้แก่ ลมบก ลมทะเล ลมภูเขา และ อาหรับว่า “Mausim” ซึ่งแปลว่า ฤดู เกิดในส่วน
ลมหุบเขา บริเวณที่อยู่ตามชายฝั่งอิทธิพลของ อ่ืนของโลกด้วย ลมมรสุมท่ีเห็นชัดเจนที่สุด คือ
ลมบก ลมทะเลมีสูงมาก ยังจากันได้ไหมว่าลมบก ลมมรสุมท่ีเกิดในเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้
พัดจากบกสู่ทะเลในตอนกลางคืน ส่วนลมทะเลพัด ลักษณะการเกิดลมมรสุม เป็นทานองเดียวกับ
จากทะเลเข้าหาฝ่งั ในตอนกลางวัน การเกิดลมบกลมทะเล คือในฤดูนาวอากาศภายใน
ภาคพืนทวีปเย็นกว่าอากาศในมหาสมทุรที่อยู่
ในประเทศไทย หน่วยงานที่ทาการศึกษา ใ ก ล้ เ คี ย ง กั บ ภ า ค พื น ท วี ป บ ริ เ ว ณ ไ ซ บี เ รี ย เ ป็ น
เก่ียวกับการใช้ประโยชน์จากพลังงานลมยังมี เขตความกดอากาศสูง ส่วนบริเวณมหาสมุทร
ไม่มากนัก ซึ่งอาจเนื่องมาจากอัตราความเร็วลม อินเดียเป็นเขตความกดอากาศต่า อากาศเหนือ
ในประเทศท่ีไม่สูงนัก รวมทังมีข้อจากัดทางด้าน มหาสมุทรอินเดีย ซ่ึงมีอุณหภูมิสูงกว่าบริเวณ
งบประมาณ อย่างไรก็ดี การไฟฟ้าฝ่ายผลิต ไซบีเรยี จะลอยตัวสูงขึน และอากาศบริเวณไซบีเรีย
แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้ติดตามศึกษาเร่ืองนี จ ะ ไ ห ล เ ข้ า ไ ป แ ท น ที่ ใ น ทิ ศ ท า ง ต า ม เ ข็ ม น า ฬิ ก า
มาตลอดระยะเวลากว่า 17 ปี ผลท่ีได้ในขณะนี อากาศที่ไหลออกจากบริเวณความกดอากาศสูง
นับว่าประสบความสาเร็จไปขันหนึ่งแล้ว คือ ไซบีเรียเป็นอากาศที่ไหลจมลง และทิศทางลม
ส า ม า ร ถ จ่ า ย ไ ฟ ฟ้ า จ า ก พ ลั ง ง า น ล ม ที่ ผ ลิ ต ไ ด้ จ ะ เ บ น ไ ป ท า ง ข ว า ก ล า ย เ ป็ น ล ม ม ร สุ ม
ไปใช้งานจริง แม้ว่าจะมีกาลังผลิตน้อยเม่ือเทียบ ตะวันออกเฉียงเหนอื ผ่านเข้าไปยังเอเชียตะวันออก
กับพลังงานชนิดอ่ืนๆ แต่ กฟผ. ก็ได้ตังเป้าหมายท่ี และเอเชียใต้ โดยท่ัวไปมีลักษณะอากาศดี และ
จ ะ พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ช นิ ด นี ต่ อ ไ ป ใ ห้ ม า ก ที่ สุ ด เป็นฤดูที่มีอากาศแห้ง ดังนนั ลมมรสมุ ฤดูหนาวจึงมี
เ ท่ า ท่ี จ ะ เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ใ น ข อ บ เ ข ต ศั ก ย ภ า พ ข อ ง
พลงั งานลมที่มอี ยใู่ นประเทศ

13

ลักษณะท้องฟ้าแจ่มใส เป็นลมที่พัดจากฝ่ัง จนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ ลมจะเปลี่ยนทิศเป็น
ออกสู่ทะเล ในฤดูร้อนลมจะพัดเปลี่ยนในทิศทาง ลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือ
ตรงกันข้ามอากาศภาคพืนทวีปอุ่นกว่าพืนนา
ซึ่งทาให้ภาคพืนทวีปเป็นเขตความกดอากาศต่า กงั หนั ลมในการผลิตกระแสไฟฟา้
พืนนาเป็นเขตความกดอากาศสูงเกิดลมพัดจาก
พืนนาท่ีเป็นเขตความกดอากาศสูงเข้าสู่พืนดินที่ กังหันลม เป็นอุปกรณ์ชนิดหน่ึงที่ใช้สกัด
เป็นเขตความกดอากาศต่า ในทิศทวนเข็มนาฬิกา พลังงานจลน์ของกระแสลม และเปลี่ยนให้เป็น
กลายเป็นมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ลมที่พัดจาก พลังงานกล จากนันจึงนาพลังงานกลมาใช้
พืนนาเข้ามานาเอาความชืนมาด้วย เป็นลมท่ีพัด ประโยชน์ เม่ือกระแสลมพัดผ่าน ใบกังหันจะเกิด
จากทะเลเข้าหาฝ่ัง มรสุมที่มีกาลังแรงจัดที่สุดเกิด การถ่ายทอดพลังงานจลน์ไปสู่ใบกังหัน ทาให้
ในบริเวณเอเชียตะวันออกและเอเชียใต้ ในเอเชีย กังหันหมุนรอบแกน สามารถนาพลังงานจาก
ตะวันออก ได้แก่ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน การหมนุ นีไปใช้งานได้
ไต้หวัน ญ่ีปุ่น และสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนเกาหลี ลมมรสุมท่ีเกิดในเอเชีย กังหันลมท่ีเราใชใ้ นการผลิตไฟฟ้าในปจั จบุ ัน
ตะวันออกจะแตกต่างจากเอเชียใต้ คือ ในเอเชีย เราสามารถแบง่ ออกเปน็ กล่มุ ใหญ่ได้ 4 กล่มุ ดงั นี
ตะวันออกลมมรสุมฤดูหนาวมีกาลังแรงกว่าและ
มีทิศทางท่ีคงที่กว่าลมมรสุมฤดูร้อน ความเร็วลม 1. กังหันลมชนดิ หันหลังให้ลม (DOWNWIND
ตามชายฝ่ังในเดือนมกราคมสงู กว่าเดือนกรกฎาคม TURBINE)
หลายเท่า สว่ นลมมรสุมในเอเชยี ใต้ รวมถงึ ประเทศ
อนิ เดีย ปากีสถาน และประเทศในเอเชยี ตะวันออก กังหันลมท่ีโรเตอร์หันหลังให้ลมในขณะ
เฉียงใต้ ลมมรสุมฤดูหนาวไม่สามารถแผ่เข้าไปถึง ทางาน โรเตอร์ของกังหันลมถูกออกแบบให้
ดนิ แดนเหล่านีได้ เพราะมีเทอื กเขาหิมาลัยขวางกัน หาทิศทางลมโดยหันหลังให้ลม โดยไม่ต้องใช้
อยู่จึงได้รับมรสุมโดยตรงเฉพาะในช่วงฤดูร้อน มอเตอร์ควบคุม ข้อดี คือ ลดอันตรายท่ีอาจเกิด
เท่านัน และลมจะมีกาลังแรงในฤดูร้อน แม้แต่ใน จากใบพัดแอ่น (ในขณะท่ีลมพัดแรง) หมุนมาตีกับ
มหาสมุทร คือ ฤดูร้อนลมมีความเร็วเฉล่ีย เสากังหันลมระบบหาทิศทางลมไม่ซับซ้อน ทาให้มี
20 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง ส่วนฤดูหนาวลมมีกาลัง ราคาถูก ข้อเสีย คือ การเกิดเงาจากเสาของกังหัน
อ่อน มีความเร็วน้อยกว่า 10 กิโลเมตรต่อช่ัวโมง ลมทาให้ความเร็วลมพัดผ่านเสาลดลง ลมเมื่อ
บริเวณที่มีฝนตกหนักเนื่องจากได้รับอิทธิพล จาก ใบพัดหมุนมาอยู่ในแนวเดียวกันกับเสาทาให้แรงที่
ลมมรสุมฤดูร้อน คือ เมืองเชอร์ราปันจิ ทางภาค เกิดลดลง ส่งผลให้เกิดการกระเพ่ือมของแรงบิด
ตะวันออกของประเทศอินเดีย มีปริมาณฝนตกใน ความถ่ีของการกระเพ่ือมมีค่าเป็นสามเท่าของ
แต่ละปีประมาณ 10,800 มิลลิเมตร ประเทศไทย ความเรว็ รอบ (สาหรับกังหันลมแบบสามใบพัด)
ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมทังสองฤดู คือ ในช่วง
ฤดูฝ นป ระ มา ณต้ นเ ดือน พฤ ษภ าค มจ นถึ ง
ต้นเดือนตุลาคม ได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
และในช่วงฤดูหนาว ประมาณปลายเดือนตุลาคม

14

2. กังหันลมชนิดหันหน้าเข้าสู่ลม (UPWIND 3. กั ง หั น ล ม ช นิ ด แ ก น ห มุ น แ น ว น อ น
TURBINE) (HORIZONTAL AXIS WIND TURBINE
(HAWT))
กังหันลมท่ีหันหน้าเข้าหาลมในขณะทางาน
ใบพัดของกังหันลมอยู่ด้านหน้าของห้องเคร่ือง กังหันลมที่เพลาใบพัดกังหันลมหลักและ
มี อุ ป ก ร ณ์ ป รั บ ทิ ศ ท า ง ข อ ง กั ง หั น ล ม ใ ห้ อ ยู่ ใ น เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าอยู่ด้านบนสุดของเสา และ
ทิศเดียวกับลมตลอดเวลา กังหันลมผลิตไฟฟ้า ข น า น กั บ พื น ร า บ ใ น แ น ว น อ น ห รื อ ข น า น กั บ
ขนาดใหญ่ (เมกะวัตต์) เป็นกังหันลมชนิดหันหน้า ทิศทางการเคลื่อนที่ของลม การทางานแบ่งเป็น
เข้าสู่ลมทังสิน ข้อดี คือลดผลท่ีเกิดจากเงาของเสา 2 ลักษณะ คือ ทางานโดยหันหน้าให้ลมและ
กังหันลม เม่ือใบพัดหมุนมาอยู่ตรงกับเสากังหันลม หันหลังให้ลม การหมุนคอของกังหันลมขนาดเล็ก
ลมจะพัดผ่านใบพัดกังหันลมก่อนท่ีจะมาถึงเสา จะหันหน้าเข้าหาลมโดยใช้หางเสือ กังหันขนาด
ข้อเสีย คือ ตาแหน่งของโรเตอร์ท่ีติดอยู่กับ ใหญ่ใช้เซ็นเซอร์วัดทิศทางลมร่วมกับเซอร์โว
ห้องเคร่ืองกังหนั ลม จะต้องห่างพอที่จะไม่ถูกใบพัด มอเตอร์ (servomotor) เพื่อขับเคล่ือนคอให้
หมุนมาตีกับเสากังหันลมส่วนตัวโครงสร้างของ หันหน้าเข้าหาลม กังหันลมส่วนใหญ่มีกล่องเกียร์
ใบพัดต้องออกแบบให้มีความแข็งแรงเพียงพอ เพื่อช่วยเพ่ิมความเร็วรอบของเพลาให้หมุนเร็วขึน
ทีจ่ ะไม่เกดิ การแอน่ ตวั จนมาตีกบั เสากังหนั ลม เพ่ือให้เหมาะสมกับการขับเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า
กังหันลมระดับเมกะวัตต์ที่มีขายในท้องตลาดเป็น
แบบกงั หนั ลมแกนหมุนแนวนอนทังสนิ

15

4. กังหันลมชนิดแกนหมุนแนวตั้ง (VERTICAL แดร์เรียสมีใบพัดสองใบหมุนรอบเพลาแนวตัง โดย
AXIS WIND TURBINE) แรงที่ใช้ในการหมุนใช้แรงยกทางอากาศพลศาสตร์
กังหันลมแบบซาโวเนียสเป็นกังหันท่ีทางานโดย
กังหันลมชนิดนี เพลาแกนหมนุ ของใบพัดจะ อาศัยแรงลาก (มีประสิทธิภาพต่ากว่ากังหันที่
ตังฉากกับพืนราบ หรือตังฉากกับทิศทางการ ทางานโดยอาศัยแรงยก) ขณะทางานจะหมุนด้วย
เคลื่อนท่ีของลมมีหลายรูปแบบ ข้อดีที่สาคัญ คือ ความเร็วต่าแต่แรงบิดสูง เหมาะสาหรับใช้แรงบิด
สามารถรับลมได้ทุกทิศทาง ซ่ึงมีประโยชน์อย่าง ในการสูบนา การโมแ่ ป้ง
มากสาหรับบริเวณท่ีมีการเปล่ียนทิศทางลมบ่อยๆ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าและระบบเกียร์วางอยู่ใกล้ ส่วนประกอบของกังหนั ลมเพอ่ื ผลติ ไฟฟ้า
พืนดิน เพลาของกังหันลมสามารถขับต่อโดยตรง
กับเกียร์ที่อยู่ที่พืนดินทาให้บารุงรักษาได้ง่าย 1. แ ก น ห มุ น ใ บ พั ด ( Rotor Blade)
ทางานเงียบ เหมาะสาหรับติดตังในชุมชน ข้อเสีย ทาหนา้ ที่รบั แรงลม ซ่ึงแกนหมนุ ประกอบดว้ ย
คอื ติดตังในระดับพืนดินซ่ึงมีความเร็วลมต่า ทาให้
ผลติ ไฟฟ้าไดล้ ดลง นอกเหนือจากนี คา่ สมั ประสิทธ์ิ  ดมุ แกนหมุน (Rotor Hub) เป็นตวั ครอบ
กาลัง (Cp) ของกังหันลมตา่ กว่ากงั หันลมแกนหมุน แกนหมุนที่อยู่ส่วนหน้าสุด มีรูปร่างเป็นวงรีคล้าย
แนวนอน เนื่องจากใบพัดด้านหน่ึงเกิดแรงยก แต่ ไข่ เพอ่ื การลู่ลม
อกี ดา้ นเกิดแรงลากสวนทิศทางลม ชนดิ ทนี่ ิยมมาก
ท่ีสุด คือ กังหันลมแบบแดร์เรียส (Darrieus  ใบพัด (Blade) ยึดติดกับแกนหมุน
Vertical Axis Wind Turbine) และกังหันลมแบบ ทาหน้าท่ีรับพลังงานจลน์จากการเคลื่อนท่ี ของลม
ซาโวเนียส (Savonius Wind Turbine) กังหันลม และหมุนแกนหมุนเพื่อส่งถ่ายกาลังไปยังเพลา
แ บ บ แ ด ร์ เ รี ย ส เ ป็ น ท่ี รู้ จั ก กั น ท่ั ว ไ ป ว่ า เ ป็ น แกนหมุนหลัก กังหันลมขนาด 3 ใบพัด จัดว่า
“eggbeater” ถูกคิดค้นโดย Georges Darrieus ดี ที่ สุ ด ใ น ก า ร ก ว า ด รั บ แ ร ง ล ม แ ล ะ นิ ย ม ใ ช้ กั น
ในปี ค.ศ.1931 กังหันลมแบบแดร์เรียสหมุนด้วย แพรห่ ลายมากทส่ี ดุ
ความเร็วสูง แรงบิดต่า (เปรียบเทียบกับกังหันลม
แกนหมุนแนวตังแบบอื่นๆ เหมาะสาหรับการผลิต
กระแสไฟฟ้าโดยท่ัวไปการเร่ิมต้นหมุนจาเปน็ ต้องมี
เครื่องช่วยในการออกตัวของกังหันเพราะแรงบิด
ออกตัวของกังหันลมมีค่าต่ามาก กังหันลมแบบ

16

 จุดปรับหมุนใบ (Pitch) อยู่ระหว่าง  ระบบระบายความร้อน (Cooking ) เพ่ือ
รอยต่อของใบกับแกนหมุน ทาหน้าที่ปรับใบพัดให้ ระบายคว ามร้อนจากการทางานต่อเน่ือง
มีความพรอ้ มและเหมาะสมกับความเรว็ ลม ตลอดเวลาของห้องทดรอบกาลังและเครื่องกาเนิด
ไ ฟ ฟ้ า อ า จ ร ะ บ า ย ด้ ว ย ล ม ห รื อ น า ขึ น กั บ
2. ห้องเครื่อง (Nacelle) มีลักษณะคล้าย การออกแบบ
กล่องใส่ของขนาดใหญ่ที่ถูกออกแบบเพ่ือป้องกัน
สภาพอากาศภายนอกให้กับอุปกรณ์ท่ีอยู่ภายใน  เครื่องวัดความเร็วและทิศทางลม
ซ่งึ ได้แก่ (Anemometer and Wired Vane) เปน็ ส่วนเดียว
ที่ติดตังอยู่นอกห้องเครื่อง ซึ่งได้รับการเช่ือมต่อ
 เพลาแกนหมุนหลัก (Main Shaft หรือ สายสั ญญาน เข้าสู่ ระบบ คอมพิ ว เตอ ร์เพื่ อ
Low Speed Shaft) ท า ห น้ า ที่ รั บ แ ร ง จ า ก วดั ความเรว็ และทิศทางลม
แกนหมุนใบพัด และส่งผ่านเข้าสู่ห้องปรับเปลี่ยน
ทดรอบกาลัง 3. เสา (Tower) เป็นตัวรับส่วนที่เป็น
ชุดแกนหมุนใบพดั และตวั หอ้ งเคร่อื งท่อี ยดู่ ้านบน
 ห้องทดรอบกาลัง (Gear Box) เป็นตัว
ควบคุมปรับเปลี่ยนทดรอบการหมุนและถ่ายแรง 4. ฐานราก เป็นส่วนที่รับนาหนักของชุด
ของเพลาแกนหมุนหลักท่ีมีความเร็วรอบต่า ไปยัง กงั หันลม
เพลาแกนหมุนเล็กของเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าเพื่อให้
มคี วามเร็วรอบสงู ขนึ และมคี วามเร็วสม่าเสมอ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าของกังหันลม (Wind
Turbine Generator)
 เพลาแกนหมุนเล็ก (Shall Shaft หรือ
High Speed Shaft) ท า ห น้ า ท่ี รั บ แ ร ง ที่ มี เครื่องกาเนิดไฟฟ้าของกังหันลม ทาหน้าที่
ความเร็วรอบสูงของห้องทดรอบกาลังเพื่อหมุน เปลี่ยนพลังงานกลท่ีเกิดจากการหมุนของใบพัด
เครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้า กั ง หั น ล ม เ ป็ น พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ก า ร ใ ช้ ง า น ข อ ง
เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าของกังหันลมส่วนใหญ่จะ
 เ ค รื่ อ ง ก า เ นิ ด ไ ฟ ฟ้ า ( Generator) เช่ือมต่อกับระบบจาหน่ายไฟฟ้า เพื่อส่งพลังงานที่
ทาหน้าท่ีแปลงพลังงานกลที่ได้รับเป็นพลังงาน ผลิตได้ให้กับระบบไฟฟ้า แต่เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า
ไฟฟา้ ของกังหันลมขนาดเล็กจะเชื่อมต่อกับแบตเตอร่ี
เพ่ือเก็บสะสมพลังงานแรงดันไฟฟ้าท่ีเครื่องกาเนิด
 เบรก (Brake) เป็นระบบกลไกเพ่ือใช้
ควบคุมและยึดการหยุดหมุนอยา่ งสินเชิงของใบพัด
และเพลาแกนหมุนของกังหันลม เม่ือต้องการให้
กงั หนั ลมหยดุ หมุนและในระหว่างการซ่อมบารงุ

 ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม ไ ฟ ฟ้ า ( Controller
System) เป็นระบบควบคุมการทางานและ
การจา่ ยกระแสไฟฟา้ ออกส่รู ะบบโดยคอมพิวเตอร์

17

ไฟฟ้าสร้างขึน ในเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่ เป็นต้น การนาไปใช้งานต้องเลือกให้เหมาะสมโดย
ปกติจะเป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส พิจารณาได้จากระบบส่งกาลังทางกลวา่ เป็นระบบ
690 โวลต์ ซึ่งถูกส่งไปที่หม้อแปลงไฟฟ้า เพื่อเพิ่ม ท่ีมีเกียร์หรือไม่ ถ้าเป็นระบบที่ไม่มีเกียร์จะใช้
แรงดนั ให้สูงขนึ ระหว่าง 10,000 ถึง 33,000 โวลต์ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบซิงโครนัสแบบจานวน
(ระดับแรงดันไฟฟ้าปานกลาง) ตามมาตรฐาน ขัวมาก (เนอื่ งจากความเร็วรอบตา่ ) แต่ถ้าระบบส่ง
ระบบแรงดันไฟฟ้าของแต่ละประเทศ โดยผู้ผลิต กาลังมีระบบเกียร์ก็จะเลือกใช้เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
กังหันลมขนาดใหญ่จะผลิตเคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าท่ีมี เหน่ียวนา จะเป็นแบบกรงกระรอกหรือแบบป้อน
ความถ่ีทัง 50 Hz (สาหรับระบบจาหน่ายไฟฟ้า สองทางกข็ นึ อยู่กบั อกี หลายปจั จยั สว่ นในกังหันลม
ส่ ว น ใ ห ญ่ ข อ ง โ ล ก ) แ ล ะ 6 0 Hz (ส า ห รั บ ข น า ด เ ล็ ก จ ะ นิ ย ม ใ ช้ เ ค ร่ื อ ง ก า เ นิ ด ไ ฟ ฟ้ า
ระบบไฟฟ้าในประเทศสหรัฐอเมริกา) ในเคร่ือง แบบซิงโครนัสแบบแม่เหล็กถาวรเปน็ สว่ นใหญ่
กาเนิดไฟฟ้าจากกังหันลมขนาดเล็ก (ใช้งานอยู่
ในระบบแรงดันต่าน้อยกว่า 1 ,000 โวลต์) ข้อดีและข้อจากัดของการผลิตไฟฟ้าจาก
ระดับแรงดันไฟฟ้าที่สร้างขึนจะมีหลายขนาดให้ พลังงานลม
เลือก เช่น 24 โวลต์ 36 โวลต์ 48 โวลต์ 120 โวลต์
เป็นต้น เพื่อให้เหมาะสมกับการนาไปใช้งาน ขอ้ ดี
ในขันตอนต่อไป เช่น ถ้านาใปชาร์จแบตเตอร่ีก็จะ 1) เปน็ แหล่งพลังงานท่ีได้จากธรรมชาติ ไมม่ ี
เลือกเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแรงดันต่า แต่ถ้านาไปใช้
ในการเชื่อมต่อกับระบบจาหน่าย ก็จะเลือก ต้นทุน
เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าที่มีระดับแรงดันไฟฟ้าสูง 2) เป็นแหลง่ พลงั งานที่ไมม่ ีวันหมดสิน
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าต้องการระบบระบายความร้อน 3) เป็นพลังงานสะอาด
ในขณะทางาน ซ่ึงส่วนใหญ่จะใช้พัดลมขนาดใหญ่
ในการระบายความร้อน แต่ก็อาจจะมีผู้ผลิต
บางรายใช้นาในการระบายความร้อน ซึ่งการใช้
ข อ ง เ ห ล ว ใ น ก า ร ร ะ บ า ย ค ว า ม ร้ อ น จ ะ ท า ใ ห้
เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ามีขนาดเล็กลง มีประสิทธิภาพดี
ขึน แตข่ ้อเสียของระบบนี คือ ตอ้ งการอปุ กรณ์ทใ่ี ช้
ในการระบายความร้อนออกจากของเหลวที่ใช้
ส่ ว น ใ น กั ง หั น ล ม ข น า ด เ ล็ ก จ ะ ใ ช้ ก า ร ร ะ บ า ย
ความร้อนโดยธรรมชาติ เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้าจาก
กัง หันลมมีหลายชนิด คือ เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้า
แ บ บ ซิ ง โ ค ร นั ส ( Synchronous Generator)
เ ค รื่ อ ง ก า เ นิ ด ไ ฟ ฟ้ า เ ห น่ี ย ว น า แ บ บ ก ร ง
กระรอก (Squirrel-Cage Induction Generator)
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าเหน่ียวนาแบบป้อนสองทาง
( Doubly-Fed Induction Generator; DFIG)

18

4) ไมก่ นิ เนือที่ ด้านลา่ งยงั ใช้พนื ทไี่ ด้อยู่ กังหันลมผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย (Wind
5) มีแคก่ ารลงทนุ ครงั แรก ไม่มีค่าเชอื เพลิง Turbine in Thailand)
6) สามารถใช้ระบบไฮบริดเพื่อให้เกิด
การทดลองติดตังกังหันลมผลิตไฟฟ้าใน
ประโยชน์สูงสุด คือ กลางคืนใช้พลังงาน ประเทศไทยมีขึนครังแรกท่ีแหลมพรหมเทพ
ลมกลางวนั ใช้พลงั งานแสงอาทิตย์ จังหวัดภูเก็ต ในปี พ.ศ. 2526 โดยการไฟฟ้า
7) ภาครัฐให้การสนบั สนนุ การผลิตไฟฟ้าจาก ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2550
พ ลั ง ง า น ล ม แ ก่ ผู้ ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ้ า ร า ย เ ล็ ก / กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
รายเล็กมาก โดยกาหนดอัตราส่วนเพ่ิม (พพ.) กระทรวงพลังงานได้ทดลองติดตังกังหันลม
การรับซือไฟฟ้าท่ีผลิตจากพลังงานลม ที่ อาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช จาก
2.50 บาทต่อหน่วย หากเป็นโครงการ น โ ย บ า ย ข อ ง รั ฐ บ า ล ท่ี ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ภ า ค เ อ ก ช น
ใน 3 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ ใหอ้ ัตราเพิ่ม และรัฐวิสาหกิจติดตังกังหันลมผลิตไฟฟ้าในเชิง
พิเศษอีก 1.50 บาทต่อหน่วย เป็น 4.00 พาณิชย์ขึน จึงทาให้เกิดโครงการติดตังกังหันลม
บาทตอ่ หนว่ ย ระยะเวลา 10 ปี เพ่ิมมากขึนและกระจายกันอยู่ทั่วประเทศ บริเวณ
ที่ติดตังกังหันลมมากที่สุด อยู่ระหว่างรอยต่อของ
ขอ้ เสีย ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ในจังหวัด
นครราชสีมา เพชรบูรณ์ และชัยภูมิ โดยเฉพาะ
1) ลมในประเทศไทยมีความเรว็ ค่อนข้างตา่ อย่างยิ่งทจี่ ังหวัดนครราชสีมา มีทุ่งกังหันลมที่ใหญ่
2) พืนทท่ี ่เี หมาะสมมจี ากัด ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีกาลังการผลิต
3) ขนึ อยกู่ ับสภาวะอากาศบางฤดอู าจไม่มลี ม ขนาด 207 เมกะวตั ต์
4) ต้องใช้แบตเตอร่ีราคาแพงเป็นแหล่งเก็บ

พลงั งาน
5) ขาดเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับศักยภาพลม

ในประเทศ และขาดบคุ คลากรผู้เชยี่ วชาญ

19

ผ้เู ขียนบทความ :
นางสาวธวชนิ ี บูรณชัย
ตาแหน่ง หวั หน้าแผนกปฏบิ ตั ิการเคมีธรุ กิจ
กองเคมีโรงไฟฟา้ ฝ่ายเคมี

20

Cathodic Protection งานใหมฝ่ า่ ยเคมี

โดย นางชนม์ชนก อศั เวศน์
หผม-ธ. กคว-ธ. อคม.

Cathodic protection (CP) คื อ ก า ร เน่ืองจากโมเลกุลของ ก๊าซไฮโตรเจน
ควบคุมการเกิดการกัดกร่อนของผิวโลหะโดย แ ท ร ก เ ข้ า ไ ป ท า ป ฏิ กิ ริ ย า ใ น เ น้ื อ โ ล ห ะ
การใช้หลักการของเคมีไฟฟ้า การกัดกร่อนของ ที่อยู่สารเคลือบผิวโลหะ (Hydrogen
โลหะจะเกิดข้ึนได้นั้น เป็นผลมาจากการที่โลหะ Embrittlement)
ทาปฏิกิริยากับส่ิงแวดล้อม เกิดกระบวนการ 3. Metallic path : เป็นโลหะตัวนาไฟฟ้าซึ่ง
ทางไฟฟ้าเคมี หากโลหะนั้นๆ มีค่าศักย์ไฟฟ้า จะเป็นทางเดินให้ e- จาก Anode ไป
(Electro-potential) ต่ากว่าสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่ Cathode แ ต่ Conventional Current
รอบๆ ตัว โลหะนนั้ ๆ ก็จะสญู เสีย electron ให้กับ จะไหลจาก Cathode ไป Anode บน
ส่งิ แวดล้อม ก่อใหเ้ กดิ การผุกรอ่ นได้ โลหะตัวนานี้
4. Electrolyte : เป็นสารละลายท่ีเต็มไป
ด้วย ion ท่ีมคี วามสามารถในการนาไฟฟ้า
ซึ่ง e- จะไม่ไหลผ่าน Electrolyte แต่จะ
เ ป็ น ion + ที่ จ ะ ว่ิ ง จ า ก Anode ไ ป
Cathode และ ion – จาก Cathode ไป
Anode

การกัดกร่อนจะเกิดข้ึนได้ต้องมีองค์ประกอบ หลกั การของ Cathodic Protection
4 ประการ คือ
คือ การลดความต่างศักย์ ระหว่าง Local
1. Anode : ที่ มี Electro-Potential ที่ ต่ า Anodic และ Cathodic Cell ในโครงสร้างโลหะที่
กว่า จะเกิดปฏิกิริยา Oxidation (สูญเสีย ต้องการที่จะป้องกันให้เป็นศูนย์ ผลทาให้การไหล
electron และปล่อย ประจุบว ก ใน ของ Corrosion current ภายในเป็นศูนย์ด้วย
สารละลาย) ส่งผลให้เกิดการผุกร่อน ซึ่งทาได้โดยต่อโครงสร้างโลหะน้ันเข้ากับโลหะท่ีมี
(Active) ศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า เช่น Mg, Zn, Al หรือหากเลือก
โลหะท่ัวไป เช่น เหล็กก็ต้องต่อเข้ากับตัวจ่าย
2. Cathode : ท่ีมี Electro-Potential ที่สูง แรงดันเพ่ือให้เกิดความตา่ งศักย์ระหว่างกนั เป็นผล
กว่า จะเกิดปฏิกิริยา Reduction (เป็น ให้กระแสไหลออกจาก Sacrificial Anode ผ่าน
ผู้รับ electron และจะเป็นส่วนเกิดสนิม Electrolyte (ดินหรือน้า) แล้วไหลเข้าที่ผิวของ
อ า จ มี ผ ล ท า ใ ห้ ส่ ว น ที่ เ ค ลื อ บ ผิ ว โ ล ห ะ โครงสร้าง โดยโลหะที่ต่อเพ่ิมมาน้ันเราจะเรียกว่า
เ สี ย ห า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร เ กิ ด ฟ อ ง ก๊ า ซ Sacrificial Anode ซ่ึ ง ห ม า ย ถึ ง วั ส ดุ ท่ี เ ป็ น
ไฮโดรเจนซึ่งมีผลทาให้โลหะเปราะ หัก ตวั เสยี สละ โดยจะผแุ ทนโครงสรา้ งที่เราจะปอ้ งกนั

21

โดยกระแสท่ีไหลออกจาก Sacrificial โครงสร้างซ่ึงจะเรียกว่า “Polarization” และเมื่อ
Anode จ ะ ไ ป Polarizes ท่ี บ ริ เ ว ณ Local ทาหารหยุดจ่ายกระแสชั่วคราว (instant-off)
Cathodic Cell ในทิศทางท่ีเป็นลบ (-) และทาให้ polarization จะ ค่ อ ย ๆ ห ม ดไ ป ค ล้ า ย ๆ กั บ
ศักย์ไฟฟ้าลดลงเท่ากับบริเวณ Local Cathodic พฤติกรรมท่ีศักย์ไฟฟ้าตกคร่อมของตัวเก็บประจุ
Cell ห ลั ง จ า ก นั้ น Corrosion Current ท่ี เ กิ ด ค่อยๆลดลงแต่ต่างกันตรงที่จะไม่ลดลงจนถึง
ระหว่าง Micro Corrosion Cell ก็จะลดลง และ ค่า Native potential (ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับ Corrosion
เม่ือศักย์ไฟฟ้าของ Cathodic Sites ทั้งหมดเข้า product)
ใกล้ Open Circuit Potential ของ Most Active
Anodic Sites หรือไม่มีความต่างศักย์ระหว่าง ชนิดของ Cathodic Protection
Local Anodic และ Aathodic ดังน้ันการผุกร่อน
กจ็ ะหยดุ ลง ระบบ Cathodic Protection ที่ใช้กันมาก
ในปัจจุบัน น้ันมีอยู่ 2 ชนิดคือ Galvanic Anode
Cathodic Protection เป็นปรากฏการณ์ หรือ Sacrificial Anode และ Impress current
ของการ Polarization ซ่ึงก็คือการเปล่ียนแปลง ซ่ึงมีรายละเอียด และข้อดี-ข้อเสยี ดงั น้ี
ศั ก ย์ ไ ฟ ฟ้ า เ นื่ อ ง จ า ก ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ว่ิ ง จ า ก
Electrolyte เข้าสู่ผิวโลหะ และเกิดปฏิกิริยา 1. ระบบ Galvanic Anode หรือ Sacrificial
Reduction ซึ่ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อ ง ป ฏิ กิ ริ ย า น้ี ไ ด้ Anode
เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ท า ง เ ค มี ข อ ง
Electrolyte ณ ผิวของโลหะซึ่งความแตกต่างนี้ ร ะ บ บ นี้ จ ะ ใ ช้ ค่ า ค ว า ม ต่ า ง ศั ก ย์ ร ะ ห ว่ า ง
ส า ม า ร ถ ท ร า บ ไ ด้ จ า ก ก า ร วั ด ศั ก ย์ ไ ฟ ฟ้ า ข อ ง โครงสร้างและ Anode มักจะใช้ Magnesium,
Zinc, Aluminium แต่ระบบนี้เม่ือดาเนินการ
ติดต้ังโครงสร้างในดิน จะมีการจ่ายกระแสให้
อุปกรณ์ได้น้อย เราสามารถลดความต้านทานจาก
ดิ น โ ด ย ก า ร ฝั ง Anode ใ น Backfill Anode
สามารถ

จ่า ย ก ร ะ แ สป้ อ ง กั น ร ะ บบ ไ ด้ ม า ก ขึ้ น
นอกจากน้ีเราสามารถ Anode เพิ่มในกรณี
ต้องการกระแสเพ่ิมขึ้น แต่จะมีค่าใช้จ่ายสูง
เนื่องจากวสั ดมุ รี าคาแพง

22

2. ระบบ Impressed Current ขอ้ เปรยี บเทยี บระบบ Sacrificial Anode
และ Impressed Current
เ ป็ น ก า ร ป้ อ ง กั น ก า ร ผุ ก ร่ อ น โ ด ย ใ ช้
ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า DC Power Supply (Rectifier) Sacrificial Anode
ปอ้ นให้กับชิ้นงานโลหะ Cathode ดังนั้นในระบบ 1. ใชใ้ นบริเวณทไี่ มม่ กี ระแสไฟฟ้าใช้
Impress Current จะตอ้ งทาการแปลงกระแสสลบั 2. ไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรบั พลงั งานไฟฟา้
เป็นกระแสตรง (AC/DC) โดย Anode นั้นต้องหุ้ม 3. อุปกรณ์ต่างๆ มีราคาถูก เม่ือระบบ
ด้วย (Backfill) Coke Breeze หรือ Bentonite ปอ้ งกนั เลก็ ๆ
เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด Electrical Contact ท่ี ดี ร ะ ห ว่ า ง 4. Anode อายุการใช้งานต่า ต้องเปล่ียน
Anodeกบั Surrounding Soil ใหม่ เมือ่ ใช้งานนานๆ
5. ในช่วงท่ีดินมีความต้านทานสูงต้องใช้
จ า ก นั้ น ต่ อ ข้ั ว บ ว ก ข อ ง Rectifier กั บ Anode จานวนมากขึ้น ทาใหเ้ สียค่าใชจ้ า่ ยมากขนึ้
Anodeและต่อขั้วลบของ Rectifier กับโลหะ 6. บริเวณข้างเคียงได้รับผลเสียเนื่องจาการ
Cathode ซ่งึ ทข่ี ัว้ ของโลหะจะต้องหมุ้ ฉนวนอยา่ งดี สึกกร่อนน้อยมาก
เพ่ือไม่ให้กระแสไฟฟ้ารั่วลงดินหรือขาดได้ง่าย 7. Anode จะรับหน้าที่เป็น Ground ของ
ตามหลักทั่วไปของไฟฟ้าจะไหลจากขั้วบวกไปหา Abnormal Voltage
ข้ัวลบ หรือในรูปอิเลคตรอนกระแสไฟฟ้าจะ 8. งา่ ยตอ่ การออกแบบและการตดิ ต้ัง
ไหลสวนทางกบั Electron เมอื่ เปน็ เช่นนี้ Electron
ก็จะว่ิงจากข้ัวลบของ Rectifier เข้าโลหะที่จะ Impressed Current
ปอ้ งกนั ทาให้โลหะน้ันไมเ่ กิดการผกุ รอ่ น 1. ไม่สะดวกในบรเิ วณทไ่ี ม่มกี ระแสไฟฟ้าใช้
2. ตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ ่ายสาหรบั พลังงานไฟฟา้
3. อุปกรณ์จะมีราคาถูกเมื่อระบบป้องกัน
ใหญ่
4. อุปกรณ์ทุกอย่างจะมีอายุการใช้งานได้
นาน
5. ใช้ได้ในบริเวณที่มีความต้านทานสูงและ
ตา่
6. บริเวณข้างเคียงเกิดการสึกกร่อนได้
(Stray Current Effect)
7. ต้องมีเคร่ืองป้องกันอันตรายเก่ียวกับ
Abnormal Voltage
8. การออกแบบและตดิ ตง้ั ค่อนขา้ งยุ่งยาก

ซ่ึงความผุกร่อนของอุปกรณ์ต่างๆ ของ
โรงไฟฟ้าเป็นปัจจัยหนึ่งท่ีเราต้องควบคุมและ
เฝ้าติดตามระบบป้องกันการกัดกร่อนฯ เพ่ือให้

23

ม่ันใจว่าระบบจะป้องกันอุปกรณ์ในโรงไฟฟ้า เอกสารอ้างองิ
ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
 Principles of Cathodic Protection by V.
ดั ง นั้ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ร ะ บ บ ป้ อ ง กั น Ashworth, volume 2, pp 10:3–10:28,
การกัดกร่อนอุปกณ์โรงไฟฟ้า จะต้องมีแผน 2010 Elsevier B.V.
การดาเนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อลดโอกาสหรือ
ความเส่ียงท่ีจะทาให้ระบบต่างๆของโรงไฟฟ้า  Corrosion management by cathodic
เสียหายเพราะมีอีกหลายปัจจัยที่ทาให้ระบบ Protection; ASIAN CORROSION CONTROL
ป้องกันการกัดกร่อนอาจทางานได้ไม่สมบูรณ์ เช่น TECHNOLOGY LTD.
อุปกรณ์ระบบ CP อาจชารุด, วัสดุ อุปกรณ์
เสื่อมสภ าพมากเกิน กว่าที่ได้ออกแบบไว้ ,  จุลสาร “ก๊าซไลน”์ ปที ี่ 22 ฉบบั ที่ 82 เดือน
สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนจนอาจทาให้ประสิทธิภาพ มกราคม – มีนาคม 2554
ของระบบปอ้ งกนั ลดลง
 http://system-monitoring-
corrosion.blogspot.com/2014/12/blog-
post_18.html

 FUNDAMENTALS OF CATHODIC
PROTECTION; 2017 Underground
Corrosion Short Course by JOSH
BREWER

ผูเ้ ขียนบทความ :
นางชนมช์ นก อศั เวศน์
ตาแหน่ง หัวหนา้ แผนกตรวจวเิ คราะหม์ ลสาร

การเผาไหม้และนา้ ทิ้งโรงไฟฟ้า
กองเคมีวิเคราะห์ ฝ่ายเคมี

24

โครงการลดการใชส้ ารเคมพี อลิเมอร์ประจุบวกในกระบวนการผลติ น้า Service
โรงไฟฟ้าบางปะกง

โดย นางสาวจิรัชยา หิรญั รตั นชยั
วท.6 หคก-ธ. กคฟ-ธ. อคม.

โรงไฟฟ้าบางปะกง ต้ังอยู่ เลขที่ 4 หมู่ 6 ประกาศ “เร่ือง นโยบายคุณภาพ สิ่งแวดล้อม
ตําบลท่าข้าม อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ” เพ่ือให้
เริ่มเดินเครื่อง ผลิตไฟฟ้าตั้งแต่ปี 2528 ตลอด ผู้ปฏิบัติงานถือปฏิบัติตาม อันเป็นการส่งเสริม
ระยะเวลายาวนานกว่า 30 ปี ยึดม่ันในการดําเนิน ให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน สิ่งแวดล้อม
กิจการตามหลักธรรมาภิบาลและการกํากับดูแล และโรงไฟฟ้า และได้มีประกาศ “เรื่อง นโยบาย
กิจการที่ดี ทั้งในด้านระบบบริหารจัดการ ความรับผิดชอบต่อสังคม”เพ่ือเป็นการตอกยํ้า
ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ บํ า รุ ง รั ก ษ า โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า เจตนารมณ์ และความมุ่งม่ัน ในการดําเนินงาน
ตลอดจนการดูแลคุณภาพส่ิงแวดล้อม สังคม ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้โรงไฟฟ้าบางปะกง
และชมุ ชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
และยงั่ ยนื
ด้วยวิสัยทัศน์ของคณะกรรมการบริหาร
สายงานผู้ช่วยผวู้ ่าการผลติ ไฟฟ้า 3 จึงได้มีการออก

25

26

ผลจากการดําเนนิ งานตามหลักธรรมาภิบาล การรับรองระบบมาตรฐานสากลซ่ึงเป็นท่ียอมรับ
และ สํานึกถึงความรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อม จาก หน่วยงานท้ังภาครัฐ และเอกชนในปี
สังคม และชุมชน รอบโรงไฟฟ้า ส่งผลให้โรงไฟฟ้า พ.ศ. 2560 คณะรัฐมนตรี จึงมีมติเห็นชอบให้การ
บางปะกงไดร้ ับรางวลั การรับรองมาตรฐานคุณภาพ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก่อสร้าง
การบริหารจัดการ คุณภาพ ส่ิงแวดล้อม และ โรงไฟฟ้าทดแทนโรงไฟฟ้าพลังคว ามร้อน
ความรับผิดชอบต่อสังคม จากสถาบันที่ให้ เครอื่ งท่ี 1 และ 2

27

ทม่ี าและแนวคิดของโครงการ ก า ร ล ด ป ริ ม า ณ ส า ร เ ค มี ม า ดํ า เ นิ น ก า ร
ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร กํ า จั ด ข อ ง เ สี ย ท่ี เ กิ ด จ า ก
การดําเนินงานของโรงไฟฟ้าบางปะกง กระบวนการผลิตน้ํา อีกทั้งพบว่า อัตราส่วน
มนี โยบายมุ่งสู่วัฒนธรรมสเี ขยี ว (Green Culture) การผสมพอลิเมอร์ประจุบวกที่บริษัทผู้จําหน่าย
เพ่ือลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการ แนะนํา (อัตราส่วนที่ใช้ คือ พอลิเมอร์ 1100 กรัม
สิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ ติดตาม ประเมินผล ต่อนํ้า 800 ลิตร) สามารถปรับเปลี่ยนได้ ซ่ึงเกิด
ทบทวนเพอื่ การพฒั นาอย่างต่อเนือ่ ง และรว่ มสรา้ ง จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส ลั ด จ์ เ ค้ ก ท่ี ยั ง มี
วัฒนธรรมสีเขียว ดําเนินงานอย่างเป็นมิตรต่อ ความแขง็ อยู่มาก
สิ่งแวดล้อมในทุกๆ ด้าน จนกลายเป็นส่วนหน่ึง
ของวัฒนธรรมองค์กร ดังน้ันโรงไฟฟา้ บางปะกงจึง ร ะ บ บ ผ ลิ ต นํ้ า โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า ค ว า ม ร้ อ น ร่ ว ม
ได้จัดต้ัง คณะทํางานโครงการย่อยข้ึนมาเพ่ือ บางปะกง ชุดที่ 5 ออกแบบมาให้ใช้นํ้าจาก Site
ตอบสนองนโยบายดังกล่าว โดยมีคณะทํางาน Reservoir ซ่ึง รับนํ้ามาจากอ่างเก็บน้ําบางพระ
โ ค ร ง ก า ร ล ด ส า ร เ ค มี เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง โดยการนํานํ้าดิบมาผ่านกระบวนการตกตะกอน
ในคณะทาํ งานโรงไฟฟา้ สีเขียวด้วย เพอื่ ผลิตนํ้า Service โดยในกระบวนการดังกล่าว
จะมีตะกอนท่ีท้ิงจากกระบวนการผลิต ซึ่งจะถูก
จากนโยบายดังกล่าว โ รงไฟฟ้าพลัง นํามาทําให้ข้น และบีบอัดเพื่อให้เกิดเป็น
ความร้อนร่วมบางปะกง ชุดท่ี 5 ได้สํารวจสภาพ ก้อนตะกอน หรือ Sludge cake สามารถนําไป
ปัจจุบันของระบบ ผลิตนํ้า ซึ่งมีการใช้สารเคมี ใช้ถมทดี่ ิน หรือทาํ ปุ๋ยตอ่ ได้ โดยกระบวนการทําข้น
ในกระบวนการต่างๆ แต่ท้ังน้ีเพ่ือไม่ให้เกิด ตะกอนมขี น้ั ตอน ดังน้ี
การรบกวนกระบวนการผลิต จึงได้นําแนวคิดเร่ือง

28

1. ตะกอนในบ่อ Clarifier ถูกสูบมายัง ส า ม า ร ถ สั ง เ ค ร า ะ ห์ ขึ้ น ไ ด้ อ ย่ า ง ส ม บู ร ณ์ จ า ก
บอ่ พักตะกอน (Sludge thickener) ผ่านท่อ ซึ่งจะ monomers หลายๆ อันรวมกันหรือสามารถทําได้
มีจุดเติมสารเคมีพอลิเมอร์ประจุบวก (Polymer) โดยการเพ่ิมสารเคมีลงไปเพ่ือทําให้ monomers
เพื่อช่วยให้ตะกอนสามารถเกาะกันได้แน่นและ พอลิเมอร์ มีคุณสมบัติเพิ่มข้ึนจากเดิม โดยมีอยู่
มีความแขง็ ข้ึน 3 ประเภท ไดแ้ ก่

2. ตะกอนจากบ่อ Sludge thickener จะ 1. พ อ ลิ เ ม อ ร์ ป ร ะ จุ บ ว ก ( Cationic
ถกู สูบมายัง Filter press เปน็ อุปกรณท์ ่ีช่วยบีบอัด Polymer)
ตะกอน เพ่ือรีดน้ําออก ทําให้มีความชื้นลดลง
เมื่อตากแห้งแล้วตะกอนจะมีลักษณะเป็นก้อนแข็ง มี ป ร ะ จุ บ ว ก บ น ส่ ว น ข อ ง โ ค ร ง ส ร้ า ง
เรียกว่า Sludge cake มีประสิทธิภาพสูงในการปรับสภาพตะกอนที่มี
ประจุลบ
สารเคมพี อลิเมอรป์ ระจบุ วก
2. พอลเิ มอรป์ ระจลุ บ (Anionic Polymer)
พอ ลิ เ ม อ ร์ จั ด เ ป็ น ส า ร เ ค มี ป ร ะ เ ภ ท
พอลิอิเล็กโตรไลต์ (Polyelectrolyte) มีน้ําหนัก มีประจุลบบนส่วนของโครงสร้าง มี
โมเลกุลสูงทําหน้าท่ีเป็นสะพานเช่ือมระหว่าง ประสิทธิภาพในการปรับสภาพตะกอนที่มีประจุ
อนุภาคหรือคอลลอยด์เข้าด้วยกัน องค์ประกอบ บวก
และรูปแบบทางกายภาพของพอลิเมอร์ มีรูปร่าง
เป็นโซ่ยาว (long chain) เป็นสารเคมีชนิดพิเศษ 3. พอลิเมอร์ ที่ไม่มีประจุ (Non-Ionic
Polymer)

ไ ม่ ล ะ ล า ย น้ํ า แ ต่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
ในการเช่ือมอนุภาคของตะกอนให้เกิดการรวมกลุ่ม
กนั ได้ดี

การเลือกใช้พอลิเมอร์แต่ละประเภทนั้น
ขึ้ น อ ยู่ กั บ ส่ิ ง ที่ ต้ อ ง ก า ร กํ า จั ด อ อ ก ซ่ึ ง ใ น
กระบวนการการตกตะกอนน้ําดิบจะใช้พอลิเมอร์
ประจุบวก เนื่องจากตะกอนในน้ําส่วนใหญ
มีประจุลบ และพอลิเมอร์ประจุบวกยังสามารถ
ลดปริ มาต รนํ้าใ นตะ กอน ได้มา กที่สุ ดด้ว ย
โ ด ย ก า ร เ ติ ม พ อ ลิ เ ม อ ร์ ป ร ะ จุ บ ว ก ล ง ใ น นํ้ า นั้ น
เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับ Coagulant
(สารส้ม, PAC) เป็นต้น โดยจะต้องใช้ควบคู่กัน
ไม่สามารถใช้สารเคมีพอลิเมอร์อย่างเดียวได้ก่อน
นาํ มาใช้งานต้องทําการละลายนํ้าก่อน จากสภาพท่ี
ขดเป็นเส้นในตอนแรกจะเกิดการคลายตัวออกมา
ซ่ึงถ้าหากเกิดการคลายตัวไม่สมบูรณ์ จะทําให้
ประสิทธภิ าพในการจับกับตะกอนลดลง

29

คุณสมบัตทิ างเคมี กลไกการทา้ งานของพอลิเมอร์

ประเภทของสารเคมี : Methacyclic ester เน่ืองจากตะกอนที่ได้จากกระบวนการผลิต
based น้ันจะมีนํ้าเป็นองค์ประกอบสูง ตะกอนจึงมี
ปริมาตรมาก ไม่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน ยากต่อ
ลกั ษณะ : ผงสีขาว การกําจัด การใช้พอลิเมอร์จะช่วยลดปริมาตร
ตะกอนที่เกิดขึ้นทําให้ได้กลุ่มตะกอนท่ีมีขนาดเล็ก
ค่าความเป็นกรดด่าง (pH) : 2 – 3 โดย และแน่น อีกทั้งพอลิเมอร์ยังมีความสะดวก
การใช้งานจะเป็นการนํามาละลายนํ้า ให้มีสภาพ ในการใช้งาน หาง่าย ไม่มีความเป็นพิษและ
คล้ายกาว อนั ตรายต่อผู้ใช้

บรรจุภัณฑ์ : ถุงด้านนอกเป็นกระดาษ ในขั้นตอนการสูบตะกอนมาท่ีบ่อพัก จะมี
คราฟท์ สามารถป้องกันแรงอัดและการท่ิมแทง การเติมพอลิเมอร์ประจุบวกลงไป ผ่าน Static
จา กก าร ก ระ ทบ ก ระ แท ก จา กภ า ยน อก ไ ด้ mixer ช่วยกวนให้พอลิเมอร์ผสมกับตะกอนได้ดี
เ ป็ น อ ย่ า ง ดี น อ ก จ า ก น้ี ยั ง มี คุ ณ ส ม บั ติ ใ น พอลิเมอร์ประจุบวกเมื่ออยู่ในน้ํา จะให้ไอออน
การต้านทานการเปยี กน้าํ เป็นจํานวนมากเพ่ือจับกับอนุภาพสารแขวนลอย
โดยอาศัยกลไกการสร้างสะพานเชื่อมต่อของ
การจดั เก็บ : เก็บไว้ในห้องเก็บสารเคมี อนุภาคสารแขวนลอย กล่าวคือ พอลิเมอร์
ประจุบวกนั้นจะทําหน้าที่เป็นสะพานเพื่อเชื่อมต่อ
ระหว่างอนุภาคสารแขวนลอย หรือในที่นี้คือ
ตะกอนในนํ้าเข้าด้วยกัน เน่ืองจากตะกอนเป็น
ประจุลบเมื่อเจอกับสะพาน ของพอลิเมอร์
ประจุบวก จึงเกิดการจับกัน ดังรูป ทําให้
นา้ํ ตะกอนท่ไี ด้มีความเหนียวและเป็นกอ้ นมากขนึ้

30

หลกั การและเหตผุ ล วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ

โรงผลิตนํ้าของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม 1. เพ่อื ลดการใชส้ ารเคมีพอลิเมอร์ประจุบวก
บางปะกง ชุดที่ 5 มีภาระผลิตนํ้า Service เพ่ือใช้
ในการ อุปโภค และใช้ในระบบดับเพลิง ซึ่งใน 2. ประสิทธิภาพในการทําตะกอนยังคงเดิม
กระบวนการผลิตน้ําใสจะนําน้ําดิบจาก Site (ลักษณะตะกอนเป็นก้อนแข็ง ใช้เวลาตากแห้ง
reservoir มาเข้าระบบ ตกตะกอนเพื่อปรับสภาพ ไม่เกิน 24 ชั่วโมง เพ่ือทําให้เกิดการเวียน
เป็นน้ําใส โดยจะมีกากตะกอนเหลือท้ิงจาก ตะกอนในระบบออกมาได้เหมาะสม)
กระบวนการผลิต หากต้องการนําไปใช้ประโยชน์
อื่น เช่น การถมท่ีดิน ใช้หมักปุ๋ย จะต้องนํา 3. เพื่อป้องกันกลิ่นเหม็นจากการหมักของ
กากตะกอนที่ได้จากกระบวนการผลิตไปทําให้ Sludge cake รบกวนผู้ปฏิบัติงาน ผู้อาศัยใน
เป็นตะกอนแข็งก่อน โดยต้องผ่านกระบวนการ โรงไฟฟ้า และชมุ ชนใกลเ้ คยี ง
ทําข้นตะกอน ซึ่งมีการเติมสารเคมีพอลิเมอร์
ประจุบวกให้ตะกอนสามารถเกาะกันได้ดีมากขึ้น เปา้ หมาย
เพื่อความสะดวกในการใช้งาน และการขนส่ง
อีกทั้งนํ้าท่ีล้นออกจากบ่อพักตะกอน และน้ําท่ี 1. ลดปริมาณสารเคมีพอลิเมอร์ประจุบวกท่ีใช้
เหลือจากการบีบอัดตะกอนนั้นจะไหลลงไปยัง ในการรวมตะกอนในขั้นตอนการผลิตน้ําลงได้
บ่อบําบัด และถูกสูบไปยังบ่อพักนํ้าท้ิงขนาดใหญ่ 5 0 % จ า ก ป ริ ม า ณ ที่ ผู้ จํ า ห น่ า ย แ น ะ นํ า
ของโรงไฟฟ้าซ่ึงมีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่ และน้ําจาก (เนอ่ื งจากการทําขน้ sludge มีความจําเป็นตอ้ ง
บ่อพักขนาดใหญ่น้ัน จะนําไปใช้รดน้ําต้นไม้ เติมพอลิเมอร์ เพื่อให้ตะกอนสามารถเกาะกัน
ทั้งในสนามกอล์ฟ และโรงไฟฟ้า หากมีการใช้ ได้ดี มีความแข็งเป็นแผ่น โดยอัตราส่วน
สารเคมีที่เกินความจําเป็นอาจส่งผลกระทบต่อ พอลิเมอร์ : นํ้า ท่ีทางบริษัทผู้จําหน่ายแนะนํา
ระบบนิเวศน์ ดงั กล่าวได้ คอื 1100 กรัม : 800 ลิตร)

ดงั น้ันเพอื่ เป็นการลดการใช้สารเคมีดงั กลา่ ว 2. ตะกอนใช้เวลาตากแห้งไม่เกิน 24 ช่ัวโมงและ
ทางโรงไฟฟ้าบางปะกงจงึ ไดด้ ําเนนิ การปรับเปลีย่ น sludge cake มีความแข็งสามารถนําออกจาก
อัตราส่วนในการผสมพอลิเมอร์ประจุบวกหลายๆ เครื่องบบี อัดไดส้ ะดวกเชน่ เดิม
อัตราส่วน และติดตามผล ซงึ่ การเปลี่ยนอัตราส่วน
พอลิเมอร์จะต้องคงประสิทธิภาพในการทําข้น 3. ไม่พบข้อร้องเรียนจากผู้ฏิบัติงาน ผู้อาศัยใน
ตะกอนได้ดี โดยตะกอนที่ได้ในข้ันตอนสุดท้าย โรงไฟฟ้า และชุมชนใกล้เคียงในเรื่องการขนส่ง
ต้องมีลักษณะเป็นก้อนแข็ง ไม่เสียเวลาในการ สารเคมี และกลิ่นเหม็นจาก sludge cake ที่
ตากแห้งนาน นําออกจากเคร่ืองบีบอัดตะกอน เกิดการหมักเป็นเวลานาน
ได้สะดวก
สถานทีด่ า้ เนนิ การ

โรงไฟฟ้าพลงั งานความร้อนรว่ มบางปะกง ชุดที่ 5

ระยะเวลาดา้ เนนิ โครงการ

เร่ิมดาํ เนินการโครงการเดือน พฤษภาคม 2557

โดยปัจจุบันเป็นภารกิจประจําของ หคกร-ธ. และ
ดาํ เนนิ การตดิ ตามผลเพ่ือพฒั นางานอยา่ งต่อเน่ือง

31

วิธกี ารด้าเนินงาน

งบประมาณ หนว่ ยงานภายนอก

ใ ช้ ก า ร ป รั บ อั ต ร า ส่ ว น ก า ร ผ ส ม เ ท่ า นั้ น 1. บริษัท คูริตะ -จีเคเคมิคอล จํากัด
จงึ ไมม่ งี บประมาณในการดําเนินโครงการ (ผจู้ าํ หน่ายพอลิเมอร์ประจบุ วก)

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ 2. ชมุ ชนรอบโรงไฟฟา้ บางปะกง

แผนกเคมโี รงไฟฟ้าบางปะกง การประเมินโครงการ

ผ้ทู ีเ่ กีย่ วขอ้ ง ลา้ ดบั ดัชนีชีวดั ตามเปา้ หมาย หน่วยวดั เป้าหมาย
% 50
1. แผนก หคกร-ธ. 1 ลดปรมิ าณสารเคมีพอลิเมอร์ < 24
2. ปจส-รฟก. ประจุบวกตอ่ ครงั้ ลง ชั่วโมง
3. คณ ะ ทํ าง า น โ คร ง ก าร ล ด ส าร เ ค มี 0
โรงไฟฟา้ สเี ขยี ว โรงไฟฟา้ บางปะกง 2 เวลาทใี่ ช้ในการตากแห้งตะกอน คร้ัง

ไมพ่ บขอ้ รอ้ งเรียนจาก

3 ผู้ปฏิบัตงิ าน ผอู้ าศยั ในโรงไฟฟ้า

และชมุ ชนใกลเ้ คยี ง

32

ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั 4. เวลาท่ีใช้ในการตากแห้งตะกอนน้อยกว่า
24 ช่ัวโมง ซ่ึงจะทําให้สามารถเวียนตะกอน
1. ลดการใช้สารเคมีพอลิเมอร์ประจุบวกใน ที่สะสมในบ่อ Sludge thickener ได้ ไม่เกิด
กระบวนการได้ การหมกั ของตะกอนจนเกดิ กล่ินเหม็น

2. ลดความเสี่ยงของผู้ปฏิบัติงานในการทาํ งานกับ 5. สามารถขนย้ายตะกอนไปใช้ประโยชน์อื่น
สารเคมีพอลิเมอร์ประจุบวก ซ่ึงมี pH เป็นกรด ไดง้ ่าย
(pH 2-3)

3. ตะกอนท่ีสบู มายงั บอ่ Sludge thickener เกาะ
ตัวกันได้ดี และไม่มีตะกอนฟุ้งข้ึนมาด้านบน
ของบ่อ

สรปุ ผลดา้ เนนิ โครงการ ลกั ษณะ Sludge cake รายละเอยี ด

อัตราส่วน - เปน็ แผ่นแขง็ มาก
Polymer(g):น้า (l) - ใช้เวลาตากแห้งประมาณ 20 ชม.

ก่อนปรบั ปรงุ 1100: 800

- เป็นแผ่นแขง็ มาก
- นําออกจากเคร่ืองบบี อัดได้ง่าย
- ใช้เวลาตากแหง้ ประมาณ 20 ชม.

หลังปรบั ปรุง 800: 800

600: 800 - เป็นแผน่ มีความแขง็ น้อยกว่าการ
ใชส้ าร 800 กรมั
- นาํ ออกจากเคร่อื งบบี อัดได้งา่ ย
- ใช้เวลาตากแห้งประมาณ 23 ชม.

33

อัตราส่วน ลกั ษณะ Sludge cake รายละเอียด
Polymer(g):น้า (l)
- เปน็ แผ่นนุม่ มีความช้นื เล็กน้อย
400 : 800 - นําออกจากเครื่องบีบอดั ได้งา่ ย
- ใชเ้ วลาตากแห้งประมาณ 23

ชัว่ โมง

200 : 800 - เปน็ แผ่น มีความออ่ นนมุ่ มาก
- นาํ ออกจากเคร่อื งบีบอดั ค่อนขา้ ง

ยาก เนอื่ งจากเปน็ ตะกอนเหลว
- ใชเ้ วลาตากแห้ง > 24 ช่ัวโมง

จากการทดลองท่ีอัตราส่วนต่างๆ พบว่าที่ เล็กน้อย สามารถนําออกจากเคร่ืองบีบอัด
อตั ราสว่ นพอลิเมอร์ (g) : นา้ํ (l) เท่ากับ 400 : 800 ได้สะดวก และใช้เวลาตากแห้งไม่เกิน 24 ชั่วโมง
เป็นอัตราส่วนท่ีใช้ปริมาณพอลิเมอร์ประจุบวก ดังนั้น จึงสรุปผลว่า จะนําอัตราส่วนดังกล่าว
น้อยท่ีสุดในการผสมแต่ละคร้ัง โดยที่ลักษณะ เข้าใชใ้ นกระบวนการ และติดตามผลอย่างต่อเนอ่ื ง
ตะกอนยังสามารถ อัดเป็นแผ่นได้ มีความชื้น

ผลการด้าเนินการโครงการ

ล้าดับ ดชั นชี วี ดั ตามเปา้ หมาย หนว่ ยวัด เป้าหมาย 2558 2559 2560 ม.ค. – ม.ิ ย.
2561
% 50
1 ลดปรมิ าณสารเคมพี อลิเมอร์ประจบุ วก ช่วั โมง < 24 64 64 64 64
ตอ่ ครั้งลง ครั้ง

2 เวลาทใี่ ช้ในการตากแห้งตะกอน 23 23 23 23

ไมพ่ บข้อร้องเรียนจากผู้ปฏบิ ัติงาน ผู้

3 อาศยั ในโรงไฟฟา้ และชุมชนใกลเ้ คยี ง 0 000 0

34

ก า ร ด้ า เ นิ น ง า น ท่ี ส อ ด ค ล้ อ ง ต า ม ห ลั ก - มีการถ่ายทอดและสื่อสารสร้างความเข้าใจ
ธรรมาภิบาล ในโครงการดังกล่าว ให้กับผู้ปฏิบัติงานทุกระดับได้
รับทราบ และถือปฏิบัติตามผ่านการประชุม
1. หลกั นติ ธิ รรม โครงการโรงไฟฟา้ สีเขยี ว

1.1 ปฏิบัติต่อประชาชนหรือผู้มีส่วนได้ - มีแผนกประชาสัมพันธ์และชุมชนสัมพันธ์
สว่ นเสีย โดยคํานึงถึงความเท่าเทียมกันและปฏิบัติ ทําหน้าที่ให้คําปรึกษารับข้อร้องเรียน และ
ดว้ ยมาตรฐานเดียวกัน ประชาสัมพันธ์ หมายเลขโทรศัพท์ รับแจ้ง
ขอ้ รอ้ งเรยี น
การดาํ เนนิ งาน
- มีการติดตามผลการดําเนินงาน การศึกษา
- มีการออกประกาศ “เร่ือง นโยบายคุณภาพ อัตราส่วนสารเคมีที่ใช้กับลักษณะตะกอนที่ได้
ส่ิงแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย” จากเครื่องบีบอัด และรายงานผลต่อ หคก-ธ.
และ ประกาศ “เร่ืองนโยบายความรับผิดชอบ ให้ทราบผลการวิเคราะห์นํ้าชะตะกอนที่ปนเป้ือน
ต่อสังคม” เพ่ือเป็นการแสดงเจตนารมณ์ และ โลหะหนักตามกฎหมาย
ความม่งุ ม่ันในการดาํ เนนิ งานตามหลักธรรมาภบิ าล
มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน สิ่งแวดล้อม - ตลอดระยะเวลาการดําเนินงาน ไม่พบ
และโรงไฟฟ้า เพื่อให้โรงไฟฟ้าบางปะกง และ ข้อร้องเรียนเก่ียวกับโครงการทั้งจากผู้ปฏิบัติงาน
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ผูพ้ ักอาศัยในโรงไฟฟ้า และชุมชนใกลเ้ คยี ง
และยั่งยืน
1.2 มีการกําหนดระยะเวลาการดําเนินการ
- โรงไฟฟ้าบางปะกงมีการดําเนินงานโดย แลว้ เสรจ็ ในการใหบ้ รกิ าร
คํ า นึ ง ถึ ง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม ชุ ม ช น แ ล ะ
สิ่งแวดล้อม โดยผู้อํานวยการโรงไฟฟ้าบางปะกง - โครงการลดการใช้สารเคมีฯ มีลําดับแผนงาน
ไดม้ ีการจัดตัง้ คณะทํางานโรงไฟฟา้ สเี ขยี วซ่ึงรวมถึง ขั้นตอนระยะเวลาการดําเนินงานและผู้รับผิดชอบ
ค ณ ะ ทํ า ง า น โ ค ร ง ก า ร ล ด ก า ร ใ ช้ ส า ร เ ค มี ดงั ตารางแสดงแผนการดาํ เนนิ การ
โรงไฟฟา้ บางปะกงดว้ ย
- มีการจัดทําคู่มือ ขั้นตอนการกําจัดตะกอน
- มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง เพ่ือเผยแพรใ่ หผ้ ู้ปฏิบตั ิงานและผู้เก่ียวขอ้ งไดเ้ ข้าใจ
ก า ร กํ า จั ด ส่ิ ง ป ฏิ กู ล ห รื อ วั ส ดุ ที่ ไ ม่ ใ ช้ แ ล้ ว และสามารถนาํ ไปปฏิบัตงิ านได้
พ.ศ. ๒๕๔๘ เพ่ือ ควบคุมการตรวจสอบสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วก่อนการดําเนินการบําบัด
หรือกําจดั

35

รปู แสดง ค่มู ือการกําจดั ตะกอบระบบ Service Water

36

- มีการติดตามผลการดําเนินงาน การศึกษา จากกราฟ ไตรมาสท่ี 1 ของปี 2561 พบว่า
อัตราส่วนสารเคมีที่ใช้กับลักษณะตะกอนที่ได้ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง เ ค ร่ื อ ง บี บ อั ด ต ะ ก อ น ล ด ล ง
จากเคร่ืองบีบอัด และรายงานผลต่อ หคก-ธ. ตะกอนที่สูบเข้ามาในระบบไม่ เต็มแผ่นกรอง
ให้ทราบเพ่ือทบทวนและปรับปรุงข้ันตอนการ วิเคราะห์ปัญหาพบว่า ระบบป๊ัมและท่อขัดข้อง
ทํางาน หากพบปัญหาที่ทําให้การดําเนินงาน ทางหน่วยงานบํารุงรักษากําลงั ดําเนินการแก้ไข ซึ่ง
ไม่เปน็ ไปตามเปา้ หมาย ยังคงใช้อัตราส่วนพอลิเมอร์คงเดิม เน่ืองจาก
Sludge cake ทไ่ี ด้ยังมีลักษณะเปน็ ก้อน และเวลา
ในการตากแหง้ ตะกอนยงั ไม่เกนิ 24 ช่วั โมง

2. หลกั คุณธรรม

2.1 จั ด ใ ห้ มี ช่ อ ง ท า ง รั บ เ รื่ อ ง ร้ อ ง เ รี ย น
ข้อเสนอแนะท่ีสะดวกสําหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตามกระบวนการของโรงไฟฟา้ บางปะกง (CP-020)
และตามคู่มือปฏิบัติงานระบบการบริหารจัดการ
ขอ้ รอ้ งเรียน

37

38

- มีแผนกประชาสัมพันธ์ และชุมชนสัมพันธ์ • มีการประชุมร่วมกับอนุกรรมการตรวจการ
รับผดิ ชอบดา้ นการรับฟังข้อรอ้ งเรียน ขอ้ เสนอแนะ ส่ิงแวดล้อม และคณะกรรมการไตรภาคี อย่างสมํ่าเสมอ
โดย ดําเนินการตามระเบียบปฏิบัติด้านการสอื่ สาร เพื่อรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้แทนภาค
(CP-020) กําหนดหนา้ ท่เี ป็นลายลักษณอ์ ักษร ประชาชน

- มีข้อเสนอแนะจากคณะทํางานโครงการ 2.2 สะท้อนให้เห็นการมุ่งเน้นที่จะตอบสนอง
ล ด ส า ร เ ค มี ใ ห้ จั ด ทํ า แ ผ น ง า น เ พ่ื อ ติ ด ต า ม ผ ล ผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสยี อย่างเตม็ ประสทิ ธิภาพ
กา ร ดํา เ นิ นง า นใ น ระ ย ะย า ว แ ล ะมี ค ณ ะ
คสป-รฟก. เสนอให้ติดตามการปนเป้ือนของ - จากความต้องการให้มีการลดการใช้สารเคมี
โลหะหนักใน Sludge cake ให้ไป ตามที่กฏหมาย ข อ ง ค ณ ะ ทํ า ง า น โ ค ร ง ก า ร ล ด ก า ร ใ ช้ ส า ร เ ค มี ล ง
กาํ หนด 20% ของปริมาณที่ใช้ ดังน้ันทางผู้รับผิดชอบ
โครงการลดการใช้พอลิเมอร์ ได้นําข้อมูลดังกล่าว
- จั ด ใ ห้ มี ช่ อ ง ท า ง รั บ ฟั ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ท่ี ม า เ ป็ น ข้ อ ส นั บ ส นุ น เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง โ ค ร ง ก า ร
หลากหลาย มากกวา่ 3 ชอ่ งทาง เช่น ซ่ึ ง แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม สํ า คั ญ ใ น ก า ร มุ่ ง เ น้ น
ท่ี จ ะ ต อ บ ส น อ ง ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย อ ย่ า ง เ ต็ ม
• ติดต่อด้วยตนเองท่ีโรงไฟฟ้าบางปะกง ที่ ประสิทธิภาพ จึงได้จัดทําแผนงานกําหนด
ศนู ยฟ์ งั ความคดิ เหน็ ณ อาคาร หปชก-ฟ. เป้าหมาย และตัวชี้วัด เพื่อให้ตอบสนองกับ
วัตถุประสงค์ ดงั กล่าว
• กลอ่ งรับข้อเสนอแนะของโรงไฟฟา้
• ไปรษณยี ์

39

- จากผลการประชุมร่วมกับคณะทํางาน - คณะทํางานรายงานความคบื หน้า และปัญหา
โครงการลดการใช้สารเคมี และคณะทํางาน ที่พบในการทํางานต่อแผนก หคก-ธ. หรือแจ้งออก
คสป-รฟก. ได้นําข้อเสนอแนะเรื่องการติดตามผล ใ บ ง า น แ จ้ ง ง า น ซ่ อ ม ต่ อ ห น่ ว ย ง า น บํ า รุ ง รั ก ษ า
ในระยะยาว และการติดตามการวิเคราะห์ หากอุปกรณ์ในระบบชํารุด นอกจากน้ียังรายงาน
ก า ร ป น เ ปื้ อ น โ ล ห ะ ห นั ก ใ น Sludge cake ปริมาณการใช้พอลิเมอร์ประจุบวกต่อคณะทํางาน
มาวิเคราะห์ และจดั ทําแผนงาน กาํ หนดระยะเวลา โ ค ร ง ก า ร ล ด ส า ร เ ค มี โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า บ า ง ป ะ ก ง
การดําเนนิ งานอย่างชัดเจน โดยถ่ายทอดแผนไปยัง อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
ผปู้ ฏบิ ัตงิ านท่ีเกย่ี วข้อง
- จากผลการศึกษา และติดตามความเป็นไปได้
- คณะทํางานติดตามผลการดําเนินงาน ในการดําเนินงาน พบว่าสามารถลดปริมาณการใช้
ของโครงการทุกวัน โดยการสังเกตลักษณะ พอลิเมอร์ประจุบวกลงได้ 64% (เป้าหมาย
Sludge cake ที่ได้จากเคร่ืองบีบอัด ระยะเวลาใน คณะทํางานโครงการลดสารเคมี 20%) สูงกว่า
การตากแห้ง sludge cake และจดบันทึกปริมาณ เปา้ หมายของคณะทํางาน
พอลิเมอร์ประจุบวกท่ีใช้ เม่ือมีการสูบ sludge
cake จากระบบผลติ ไปยังบ่อพกั ตะกอนทุกครง้ั - แ ล ะ ใ น ด้ า น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ชุ ม ช น
รอบโรงไฟฟ้ามีการประเมินผลความพึงพอใจและ
ก า ร ป ร ะ เ มิ น สั ม พั น ธ ภ า พ ชุ ม ช น ร อ บ
โรงไฟฟ้าประจําปี (สองปีต่อคร้ัง) โดยหน่วยงาน
ภายนอก กฟผ. ใน ปี 2558 ประเมินโ ดย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี พ.ศ.2559 สายงาน
รวฟ. ดําเนินการสํารวจเอง และปี พ.ศ.2560
ประเมินความสัมพันธ์ ระหว่างชุมชนรอบโรงไฟฟ้า
โดย บริษทั คสั ตอมเอเชีย จาํ กดั

40

3. หลกั ความโปรง่ ใส - สรุปปริมาณการใช้พอลิเมอร์ประจุบวก
ในแต่ละเดือน เพ่ือรายงานตอ่ คณะทาํ งานโครงการ
3.1 มีความโปร่งใสในการให้ / ใช้ข้อมูล โดย ลดสารเคมีให้ทราบ โดยจะรายงานไม่เกินวันที่ 5
สามารถอธิบายถึงข้อมูลท่ีให้ / ใช้ในการทํางานได้ ของทุกเดือน และสรุปปริมาณการใช้รายงานปี
อย่างครบถว้ นเชื่อถอื ได้ รายงานต่อเลขาคณะทํางานโครงการลดสารเคมี
ภายใน 2 วัน หลงั จากได้แจง้ ขอรายงาน
- มีคณะทํางานโครงการลดการใช้สารเคมีตาม
คําส่ังประธานคณะทํางาน โครงการโรงไฟฟ้า 3.2 เปิดโอกาสให้ตรวจสอบระบบการทํางาน
สีเขียว ท่ี ค.1/2560 รับผิดชอบเปิดเผยและ ได้ทกุ ขั้นตอน
ให้บริการข้อมูลข่าวสาร โดยกําหนดหน้าที่
ความรบั ผิดชอบเป็นลายลักษณอ์ ักษร - มีแผนและข้ันตอนปฏิบัติ เพ่ือให้ตรวจ
ประเมินระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม/อาชีว
- มีการเปิดเผยและให้บริการข้อมูลข่าวสาร อนามยั และความปลอดภยั เข้าตรวจประเมินทุกปี
ท่ีถูกต้อง เช่ือถือได้และทันกาล โดยจดบันทึก
ปริมาณการใช้ sludge cake เป็นประจํา เพ่ือ - มีการเผยแพร ขั้นตอนปฏิบัติให้ผู้ตรวจ
รายงานต่อคณะทํางานฯ และนําส่งตัวอย่าง ประเมินระบบการจัดการด้านส่ิงแวดล้อม/อาชีว
Sludge cake ไปยังห้องปฏิบัติการภายนอกเพ่ือ อนามยั และความปลอดภัย ไดร้ ับทราบอย่างทั่วถึง
ทําการตรวจสอบความปนเป้ือนของโลหะหนัก
ทุกปี ซึ่งจะมีการตรวจสอบการดําเนินงานและ - เจ้าหน้าที่และนักวิทยาศาสตร์จากฝ่ายเคมี
ผลวิเคราะห์ โดยคณะผู้ตรวจประเมินท้ังภายใน เข้ามาศึกษากระบวนการกําจัดของเสียท่ีเกิดจาก
และภายนอก กระบวนการผลติ นาํ้ ใส

- คณะผู้ตรวจประเมินทั้งภายในและภายนอก
ได้มีการเข้าตรวจสอบข้อมูลท่ีเก่ียวกับปริมาณ
สารเคมีท่ีใช้ในกระบวนการกําจัดตะกอน และ
สํารวจพ้ืนท่ที ุกๆ 6 เดอื น

41

4. หลกั การมสี ว่ นร่วม - คณะทํางานโครงการลดการใช้สารเคมีเข้ามา
มี ส่ ว น ร่ ว ม ทํ า ง า น ต ล อ ด ก ร ะ บ ว น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ
4.1 มีการทํางานเป็นกลุ่ม และสามารถจูงใจ แลกเปล่ยี นความคิดเห็นและข้อมูล ในการวางแผน
ให้เกิดการยอมรับ และให้ความร่วมมืออย่างดี กําหนดระยะเวลาการติดตามงานกําหนด ตัวชี้วัด
จากภาคสว่ นอนื่ ค่าเป้าหมาย โดยจะมีการปรับปรุง และทบทวน
อยา่ งตอ่ เนอื่ งทกุ ๆ ปี
- มีการประชาสัมพนั ธ์รายละเอยี ดของโครงการ
โรงไฟฟ้าสีเขียวและโครงการย่อย โดยการจัดทํา 4.2 มีการส่งเสริมศักยภาพของผู้มีส่วนได้
เป็นโปสเตอร์ และเผยแพร่ข่าวสาร PR-BPK สว่ นเสยี สามารถมสี ว่ นรว่ มไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ผ่านทาง E-mail เพ่ือให้ผู้ป ฏิบัติงานทุกคน
ไดร้ บั ทราบเก่ยี วกบั การดําเนินโครงการนี้ - มีการนําเสนอวิธีการผลิตและกําจัดของเสีย
ในกระบวนการในรูปแบบแผนผัง และเนื้อหาใน
คมู่ ือทีง่ ่าย และสะดวกในการศึกษา

- กําหนดให้มีการประชุมติดตามงานภายใน - มี บ อ ร์ ด แ ส ด ง ผั ง วิ ธี ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น
แผนก หคก-ธ. เพื่อรายงานผลการศึกษาและ ในกระบวนการผลิตทุกข้ันตอนอยู่ท่ีโรงผลิตนํ้า
ปั ญ ห า ที่ เ กิ ด ข้ึ น ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ทุ ก เ ดื อ น โรงไฟฟ้าพลังความร้อนบางปะกงชุดที่ 5 เป็น
แล ะ ป ร ะ ชุ ม ร่ ว ม กั บ ค ณ ะ ทํ า งา น โ ค ร ง ก า ร ช่องทางใหผ้ ู้ทส่ี นใจเขา้ มาศึกษาได้โดยง่ายดาย
ลดสารเคมี โรงไฟฟ้าบางปะกงเป็นประจํา
อย่างต่อเนื่อง เพ่ือรายงานปริมาณการใ ช้
พอลิเมอรป์ ระจบุ วกและความก้าวหนา้ โครงการ

- แผนกบํารุงรักษาไฟ ฟ้าและเคร่ืองกล
กบอสก-ฟ. มีการวางแผนการบํารุงรักษา
เครื่องจักร และเข้าตรวจสอบอุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้อง
กับกระบวนกาํ จดั ตะกอนอยา่ งสมํ่าเสมอ

42

- มีการจัดกิจกรรมให้ความรู้กับนักศึกษาที่มี
ความสนใจทุกปี เปิดโอกาสให้ได้เรียนรู้จากงาน
ด้านกระบวนการผลิตนํ้าในโรงไฟฟ้า การตรวจ
ติดตามคุณภาพน้ําในกระบวนการผลิต ตลอดจน
ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร ข อ ง เ สี ย ท่ี เ กิ ด ข้ึ น จ า ก
กระบวนการผลิต โดยให้เข้าร่วมปฏิบัติงานจริง
เพ่ือเป็นการเผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
ความเข้าใจทถ่ี กู ตอ้ ง และมีทศั นคตทิ ด่ี ตี ่อโรงไฟฟา้

- นางสุรีพร ณ อุบล และ นายองอาจ แสงรุ่ง 5. หลักความรบั ผิดชอบ
คณะทํางานโครงการลดการใช้สารเคมี โรงไฟฟ้า
บางปะกง ได้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมโครงการ 5.1 โครงการมีเป้าหมายที่ชัดเจนและมุ่ง
ลดการใช้พอลิเมอร์ประจุบวก ต้ังแต่กระบวนการ ผลสัมฤทธ์ิของงานตามท่ีได้มอบหมายและมีระบบ
ศึกษาปรับเปลี่ยนอตั ราส่วนการผสมพอลเิ มอร์ประ ตดิ ตามการประเมินผล
จุบวก ทดสอบความเป็นไปได้ และการเก็บข้อมูล
การนําอัตราสว่ นใหม่ เขา้ มาใชง้ านในระบบ - มีการกําหนดเป้าหมาย/ตัวช้ีวัดความสําเร็จ
ของโครงการที่ชดั เจน

- มีการกําหนดเป้าหมาย/ตัวช้ีวัดความสําเร็จ
ของโครงการทีช่ ัดเจน ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของนโยบาย
ท่ีเก่ียวข้องกับการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
และระบบการจัดการส่ิงแวดล้อม (ลดการใช้เคมี
ที่เกินความจําเป็น) ถ่ายทอดลงสู่ระดับบุคคล
ผ่านหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน
ทั้งในตําแหน่งเจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ และ
นักวิทยาศาสตร์ (ผู้รับผิดชอบโครงการฯ) และมี
การกําหนด ตัวช้ีวัดระดับบุคคล (KPI) ที่ชัดเจน
ในการประเมินเชิงพฤติกรรมหัวข้อ รักองค์การ
มุ่งงานเลิศและ นําด้วยนวัตกรรม ผู้ปฏิบัติงานจึง
ต้องมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตน มุ่งสู่ความ
เป็นเลิศในการดําเนินการ เพ่ือบรรลุเป้าหมายที่
กําหนดไว้ และต้องมีการนํานวัตกรรมหรือ

43

เทคโนโลยีมาใช้ในการทํางาน (ผู้รับผิดชอบ 5.2 โครงการ มีแผนสํารอง/ฉุกเฉิน/แผน
โครงการฯ ได้ศึกษาการปรับเปล่ียนอัตราส่วน รองรับความเส่ยี งทมี่ ปี ระสิทธิภาพ
การผสมสารเคมีใหม่ๆ ให้เหมาะกับระบบจริง
มากทส่ี ุด) - โครงการฯ มกี ารจดั ทาํ การประเมินความเสยี่ ง
(Risk Assessment) การจัดการ ควบคุม ติดตาม
- มีการติดตาม และประเมินผลจาก KPI ของ ขยะ ของเสยี และสิ่งปฏิกูล (Output Aspect) โดย
ผู้รับผิดชอบโครงการฯ โดย หคก-ธ. ทุกๆ 6 เดือน มีกอง กยธก-ฟ. ผู้ควบคุมมลพิษกากฯ ผู้ช่วย
โดยผลการประเมินช้ีให้เห็นว่า ผู้รับผิดชอบ ตัวแทนฝ่ายบริหาร (MR) และคณะทํางาน
โครงการมีความรับผิดชอบต่องานตามระบบการ เปน็ ผู้จดั ทาํ และทบทวนการประเมนิ ความเสยี่ ง
จดั การสิ่งแวดล้อมฯ มีการวางแผนงานและทํางาน
ด้วยความตั้งใจ คํานึงถึงผลประโยชน สังคม - เนือ่ งจากผลการวิเคราะห์ Sludge cake จาก
ส่ิงแวดล้อมและความปลอดภัยเป็นสําคัญ และ กระบวนการผลิตน้ําใส ไม่มีโลหะหนักปนเป้ือน
มีการพัฒนางาน โดยการนํานวัตกรรมมาใช้ เกินค่าท่ีกฏหมายกําหนด ทางโรงไฟฟ้าบางปะกง
ในการทาํ งานอยา่ งสมํ่าเสมออกี ด้วย ได้ทําหนังสือขอความเห็นชอบการจัดการส่ิงปฏิกูล
หรือ วัสดุที่ไม่ใช้แล้วภายในบริเวณโรงงาน
ต่อ ผู้ อํ า น ว ย ก าร สํ า นั ก บ ริ ห าร จั ด ก า ร ก า ก
อุตสาหกรรม เพ่ือขออนุญาตนํา Sludge cake
ไปใชถ้ มทลี่ มุ่ ภายในบริเวณพ้ืนท่ีโรงไฟฟ้า

44

- ได้กําหนดคู่มือปฏิบัติงานการจัดการของเสีย - และบริเวณโดยรอบของพ้ืนที่ที่ใช้ sludge
โดยรายละเอียดตามเอกสารควบคุม CI-013 เพื่อ cake ใ น ก า ร ถ ม ที่ ยั ง มี ก า ร ทํ า แ น ว คั น ดิ น
นํ า ข อ ง เ สี ย ท่ี เ กิ ด ขึ้ น จ า ก ก ร ะ บ ว น ก า ร ไ ป ใ ช้ เพ่ือป้องกันนํ้าชะ ตะกอนไหลลงสู่ บ่อบําบัดนํ้า
ประโยชน์ในดา้ นอืน่ ๆ ใกล้เคียงอีกดว้ ย

- เมื่อต้องทําการขนย้าย sludge cake จะส่ง
แบบฟอร์ม CF-062 (แบบฟอร์มการส่งเศษซาก
พัสดุ / ของเสียจากกระบวนการผลิตไฟฟ้า) แจ้ง
ต่อ แผนก ปสจ-รฟก นอกจากน้ันยังติดตามผล
วิเคราะห์โลหะหนัก เพื่อรายงานต่อ MR และ
คณะทาํ งานอย่างตอ่ เน่ือง

45

6. หลักความคุ้มคา่ - มีการจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงานตาม
แผนการดําเนินโครงการฯ และถ่ายทอดลงไปยัง
6.1 นําเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้เพื่อปรับปรุง ผู้ปฏิบัติงานท่ีเก่ียวข้องทุกคน ให้สามารถ
คุณภาพการผลิตและการให้บริการอยู่เสมอ นาํ ไปปฏิบตั ิได้ครบถ้วนสมบูรณ์ เพ่ือเป็นการรักษา
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ร ะ บ บ ก า ร กํ า จั ด ต ะ ก อ น
- มีการศึกษา และปรับเปลี่ยนอัตราส่วนท่ี ในระยะยาว
เหมาะสมจากทบ่ี ริษทั ผู้จําหน่ายแนะนํา มากําหนด
เปลี่ยนปริมาณของพอลิเมอร์ ในการผสมแตล่ ะคร้ัง
เพ่ือใหม้ ีประสิทธภิ าพการทาํ ข้นตะกอนที่เหมาะสม
และถ่ายทอดให้ผู้ปฎิบัติงานทุกคนได้รับทราบ
ในภาคสนาม

- โครงการลดพอลิเมอร์ประจุบวกบรรลุผล
สําเร็จตามเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ สามารถรักษา
ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง ร ะ บ บ ไ ด้ ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า
ที่ติดตามการดําเนินงานมา โดยสามารถควบคุม
ปรมิ าณการใชส้ ารเคมี เวลาในการตากแหง้ ตะกอน
ทีเ่ หมาะสม

46

- จากการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง พบว่า ประจุบวกของ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม
การดําเนินงานตามมาตรฐานท่ีจัดทําไว้ ทําให้ บางปะกง ชดุ ที่ 5
สามารถลด ปริมาณการใช้สารเคมีพอลิเมอร์
ประจุบวกได้ และมีประสิทธิภาพการทาํ ตะกอนที่ดี - มีการกําหนดให้ปรับเปล่ียนอัตราส่วนใน
ลักษณะของ ตะกอนเป็นกอ้ นแข็ง สามารถขนย้าย การผสมพอลิเมอร์ประจุบวกใหม่ จากอัตราส่วน
ไดง้ า่ ย และสามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชนด์ ้านอื่นตอ่ ไป เดิมที่ บริษัทผู้จําหน่ายแนะนํา ทําให้ปริมาณ
การใช้พอลิเมอร์ประจุบวกลดลง และยังคง
6.2 แสดงให้เห็นถึงการใช้จ่ายที่ประหยัดและ ประสิทธิภาพ ในการทํา Sludge cake ได้เป็น
ความพยายามในการลดต้นทุนหรือลดการสูญเสีย อย่างดี
จากการดาํ เนินในทุกดา้ น
• สามารถลดปรมิ าณการใช้พอลิเมอร์ ประจุ
- โครงการลดการใช้สารเคมีเป็นโครงการหน่ึง บวกในการผสมแตล่ ะครง้ั ลงได้ถงึ 64%
ในโครงการโรงไฟฟ้าสีเขียว โดยมีการกําหนด
ตัวช้ีวัด และเป้าหมายของโครงการท่ีชัดเจน • ลักษณะ Sludge cake ที่ได้เป็นแผ่นแข็ง
ในการลด และควบคุมปริมาณการใช้พอลิเมอร์ และความชื้นทเ่ี หมาะสม

สรปุ ผลการดา้ เนินงาน

สามารถลดการใช้สารเคมี และลดค่าใช้จ่าย
ได้ (หากคํานวณโดยใช้คา่ ตวั แปรตา่ งๆ ท่เี หมอื นกนั
เชน่ ปริมาณนา้ํ ที่ผลิตคณุ ภาพนา้ํ ดบิ เปน็ ตน้ ) ดังนี้

- สามารถลดปริมาณการใช้พอลิเมอร์ประจุ
บวกในการผสมแตล่ ะคร้ังลงได้ถึง 64%

(เป้าหมายโครงการที่ตง้ั ไว้ 50%)

- คิดเป็นจํานวนเงินประมาณ 8,244.18
บาท/ปี

- โครงการฯ สามารถลดการใช้สารเคมี
ในระบบ เป็นการลดความเส่ียงในการทํางาน
ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งถือเป็น
ทรัพยากรท่ีสําคัญขององค์การท่ีประเมินค่าไม่ได้
และเป็นการป้องกันมลพิษที่จะมีผลกระทบต่อ
ชุมชนและส่งิ แวดล้อมอกี ด้วย

ผู้เขียนบทความ

นางสาวจริ ชั ยา หิรญั รัตนชัย
ตําแหน่ง นักวทิ ยาศาสตร์ระดบั 6
แผนกเคมโี รงไฟฟ้าบางปะกง
กองเคมีโรงไฟฟา้ ฝา่ ยเคมี


Click to View FlipBook Version