The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร Chem's Talk ฉบับที่ 03-2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Book, 2020-10-02 03:40:12

วารสาร Chem's Talk ฉบับที่ 03-2563

วารสาร Chem's Talk ฉบับที่ 03-2563

บทบรรณาธิการ

ในสถาการณ์การระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019
(COVID-19) ทั่วโลกยังคงมีอยู่ โดยมียอดผู้ติดเช้ือทั่วโลกปัจจุบันราว
33 ล้านราย แต่สาหรับประเทศไทยเรานั้นสามารถควบคุมการระบาด
ภายในประเทศไทยเป็นอย่างดีด้วยความร่วมมือของประชาชนและ
หน่วยงานต่างๆ และมีแผนเปิดประเทศในเดือนตุลาคมน้ี จากสถานการณ์
COVID-19 ทาให้เศรษฐกิจโดยรวมถดถอย ภาคการผลิตมีความต้องการ
ใช้ไฟฟ้าลดลง บางโรงไฟฟ้าต้องลดกาลังการผลิต บางโรงไฟฟ้าต้อง
หยุดเดินเคร่ือง และดาเนินการเก็บรักษาอุปกรณ์ให้พร้อมในการเดินเครื่อง
ผลิตกระไฟฟ้าอีกคร้ังเมื่อความต้องการใช้ไฟฟ้าของภาคการผลิตเพ่ิมขึ้น
แม้กระนั้นการหาแหล่งเชื้อเพลิงแบบใหม่มาทดแทนเช้ือเพลิงฟอสซิล
ยงั คงดาเนนิ ต่อไปอย่างต่อเน่ือง

สาหรับวารสารฉบับนี้ยังคงมีเร่ืองราวที่น่าสนใจเช่นเคย เราจะพา
ท่านผู้อ่านไปทาความรู้จักเช้ือเพลิง RDF มันคืออะไรและมีกระบวนการ
นามาใช้งานได้อย่างไร สาหรับโรงไฟฟ้าท่ีต้องหยุดเดินเครื่องเป็น
ระยะเวลานานในช่วงเศรษฐกิจเช่นน้ี เรามีเทคนิคดีๆในการเก็บรกั ษาหมอ้ น้า
ขณะหยุดเดินเครื่องและการ Start up โรงไฟฟ้าหลังจากหยุดเดินเคร่ือง
เป็นเวลานานๆ มาให้ศึกษาเป็นแนวทางปฏิบัติ เพ่ือลดความเสียหายท่ีอาจ
เกิดขึ้นกับระบบน้าหม้อน้าให้น้อยที่สุด อีกทั้งยังได้ทราบ ประเภท ชนิด
การบารุงรักษา การเฝ้าระวัง และ parameter ที่ต้องตรวจติดตามของ
Hydraulic Oil ที่หน่วยงานบารุงรักษาโรงไฟฟ้าใช้งาน ท้ายสุดเป็นบทความ
เกยี่ วกับระเบยี บการจัดซื้อจัดจ้างทเี่ กย่ี วข้องกับการดาเนินกิจการเชิงพานชิ ย์
ของ กฟผ. ในการจัดซอ้ื สารเคมที ่ีควรทราบและนาปฏิบตั ไิ ด้อย่างถูกต้อง

ท้ายนี้ การไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ สวมหน้ากากอนามัย
ล้างมือบ่อยครั้ง กินร้อน ช้อนกลาง สิ่งเหล่านี้ เป็นวิธีการง่ายท่ีเราทุกคน
ช่วยกันได้ เท่านี้เราก็จะห่างไกลต่อโรค COVID-19 รักษาสุขภาพและ
พบกับบทความดีๆ ในฉบับหนา้ นะครบั

ยงิ่ ศกั ดิ์ หลีแกว้ เครือ
บรรณาธกิ าร

สารบญั

RDF คอื อะไร ทาไมต้องรู้จกั 1
ไปไหนใครกท็ กั ต้องรู้จักไปทาไม….เอย
8
เทคนิคการเก็บรักษา Boiler ในขณะหยดุ เดินเครื่อง
(Innovative Lay-up and Startup Methods) 12
16
งานทดสอบคุณภาพ Hydraulic Oil : อะไรบา้ งที่ควรรู้

การจัดหาและเบิกซอ้ื เคมภี ณั ฑ์

วารสาร Chem’s Talk ปที ี่ 2 ฉบบั ท่ี 3 เดอื น กรกฎาคม – กนั ยายน 2563
กองบรรณาธกิ าร แผนกเคมเี ทคนิค กองเคมีคณุ ภาพ ฝ่ายเคมี
โทรศพั ท์ : 02-436-6713, 6716
Website : http://cd.egat.co.th/

1

RDF คืออะไร ทำไมตอ้ งรจู้ ัก
ไปไหนใครกท็ กั ตอ้ งร้จู กั ไปทำไม….เอย

โดย นางธันยบูรณ์ ธัญญโชติไพบลู ย์
หัวหน้ากองเคมโี รงไฟฟ้า

ที่มำ ค่าคว ามร้อน ขนาด และคุณลักษณะตาม
วัตถุประสงค์ของการใช้งาน สะดวกต่อการขนส่ง
เน่ืองจากปัจจุบันประเทศไทยยังคงประสบ เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร น า ไ ป ใ ช้ เ ป็ น เ ช้ื อ เ พ ลิ ง ห ลั ก
ปัญหาการจัดการขยะชุมชน และมีแนวโน้มท่ีจะ หรือเชื้อเพลิงเสริมในภาคอุตสาหกรรม/ชุมชน
ทวีความรุนแรงมากย่ิงข้ึน เน่ืองจากมีปริมาณ หรือ โรงผลิตพลังงานจากขยะชุมชน หรือเตาเผา
ขยะชุมชนเพ่ิมขึ้นตลอดเวลาตามอัตราการเพ่ิมขึ้น ขยะมูลฝอยชมุ ชน
ของจานวนประชากร การขยายตัวทางเศรษฐกิจ
สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง พ ฤ ติ ก ร ร ม กรมควบคุมมลพิษ ให้ความหมายเช้ือเพลิง
ในการอุปโภค บริโภค ของประชาชน แม้ว่าภาครัฐ ขยะ คือการปรับปรุงและแปลงสภาพของ
จะพยายามบริหารจัดการขยะชุมชนทั้งการจัดเก็บ ขยะมูลฝอยให้เป็นเช้ือเพลิงท่ีมีคุณสมบัติในด้าน
เคลื่อนย้าย รวมถึงการทา ลาย โ ดยได้รับ ค่าความร้อน (Heating Value) ความช้ืน ขนาด
การจัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างระบบ แ ล ะ ค ว า ม ห น า แ น่ น ที่ เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร ใ ช้ เ ป็ น
กาจัดขยะ แต่กย็ ังไม่เพยี งพอกับปริมาณขยะชุมชน เชื้อเพลิงป้อนหม้อไอน้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าหรือ
ที่มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนทุกปี ทาให้ส่งผลกระทบต่อ ให้ความร้อน มีองคป์ ระกอบทางเคมีและกายภาพ
ส่ิงแวดล้อมและเป็นภัยคุกคาม ต่อสุขภาพอนามัย สม่าเสมอ และสานักงานปกป้องสิ่งแวดล้อม
ของประชาชนเป็นอยา่ งมาก ป ร ะ เ ท ศ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ( Environmental
Protection Agency - EPA) ใ ห้ ค ว า ม ห ม า ย
ดังน้ัน การจัดการขยะอย่างถูกวิธีและ เชื้อเพลิงขยะ คือ ผลิตภัณฑ์จากการแปรรูป
เหมาะสม จึงเป็นเร่ืองสาคัญและมีความจาเป็น ขยะมูลฝอยจากชุมชนโดยการแยกส่วนที่เผาไหม้
เ พ ร า ะ ห า ก ไ ม่ มี ก า ร น า ข ย ะ ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ได้ออกจากส่วนที่เผาไหม้ไม่ได้ และนาส่วนท่ี
ในสัดส่วนท่ีมากข้ึน ปัญหาขยะสะสมก็จะทวี เผาไหม้ได้ ผ่านกระบวนการปรับปรุงและแปลง
ความรุนแรงมากขึน้ สภาพขยะให้เป็นเช้ือเพลิง

เชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : สรุปคือ เช้ือเพลิงขยะ (Refuse Derived
RDF) Fuel: RDF) หมายถึง การนาขยะมูลฝอยชุมชน
(Municipal Solid Waste, MSW) ทผี่ า่ นกระบวน-
“เช้ือเพลิงขยะ” (Refuse Derived Fuel: การจัดการต่าง ๆ เช่น การคัดแยก การฉีกหรือ
RDF) หมายถึง ขยะที่เผาไหม้ได้ โดยการนา ตัดขนาดให้เป็นช้ินเล็ก ๆ เพ่ือนามาปรับปรุง
ขยะมูลฝอยชุมชน มาผ่านกระบวนการบาบัด แ ล ะ แ ป ล ง ส ภ า พ ข ย ะ ใ ห้ เ ป็ น เ ช้ื อ เ พ ลิ ง ท่ี มี
ทางกายภาพ อาทิ การคัดแยก การลดขนาด และ คุณสมบัติในด้าน ค่าความร้อน (Heating Value)
การลดความช้ืน เป็นต้น เพื่อให้ได้วัสดุที่มี ความชื้น ขนาด และความหนาแน่นที่เหมาะสม

2

ในการใช้เป็นเชื้อเพลิง ป้อนหม้อไอน้าเพื่อผลิต มีค่าความร้อนสูงกว่าการนาขยะมูลฝอยที่เก็บ
กระแสไฟฟ้าหรือให้ความร้อน ซ่ึงเชื้อเพลิงท่ีได้จะ รวบรวมมาใช้โดยตรง

ทั้งน้ี การใช้ประโยชน์จากเชื้อเพลิงขยะ (Sotker) เตาเผาแบบฟลูอิดไดซ์เบด (Fluidized
สามารถใช้ได้ในรูปของการผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า Bed Combustor) หรือเตาเผาแก๊สซิฟิเคช่ั น
พลังงานความ ร้อน โดยอาจจะมีการนาไปใช้ (Gasification) หรอื ไพโรไลซิส (Pyrolysis)
ประโยชน์ในสถานท่ีผลิตเช้ือเพลิงขยะเอง หรือ
ขนส่งไปใช้ในที่อ่ืนได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้เผา ประเภทเชือ้ เพลิงขยะ
ร่ว มกั บถ่ าน หิน ( Co-firing) เพื่ อล ดป ริม า ณ
ก า ร ใ ช้ ถ่ า น หิ น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม บ า ง ป ร ะ เ ภ ท สาหรับเช้ือเพลิงขยะสามารถแบ่งออกได้
เช่น อุตสาหกรรมปูนซเี มนต์ โดยมี รูปแบบเตาเผา เปน็ 7 ชนิด ตามมาตรฐาน ASTM E-75 ซ่งึ ข้ึนอยู่
ท่ีใ ช้ เป ล่ี ย นเ ชื้ อเ พ ลิ งข ย ะใ ห้ เ ป็น พ ลัง ง า น กับกระบวนการจัดการ โดยมีรูปแบบและ
ความร้อน ประกอบด้วย เตาเผาแบบตะกรับ คุณลกั ษณะตามตาราง ดงั นี้

3

กำรแบง่ ประเภทเช้ือเพลงิ ขยะ (ASTM standards E856-83, 2006)

กำรผลติ RDF ขยะมูลฝอยชิ้นปานกลาง เช่น กระดาษ พลาสติก
การ์ด เส้ือผ้า เคร่ืองใช้ และส่ิงทอ ที่สามารถ
การผลิต RDF จากขยะมูลฝอยโดยทั่วไป น า ไ ป ใ ช้ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ผ า ไ ห ม้ โ ด ย ต ร ง เ ป็ น
ขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมมาจะถูกคัดเลือกสวนท่ี เ ช้ื อ เ พ ลิ ง ห ย า บ ( Coarse RDF; c-RDF) ห รื อ
สามารถนาไปใช้ประโยชน เชน โลหะ อลูมิเนียม อาจจะนามาอบแห้งแล้วอัดเป็นก้อนเพ่ือทาเป็น
และแก้ว แล วนาไปสู่ระบบการรีไซเคิลและ RDF ก้อน หรอื (Densified RDF; d-RDF)
คัดแยกเศษอาหาร/ขยะอินทรีย์ท่ีมี ความชื้นและ
ขี้เถ้าสูงออก ซึ่งขยะย่อยสลายได้/ขยะอินทรีย์ ซ่ึ ง ก า ร พิ จ า ร ณ า ว่ า จ ะ ท า เ ป็ น เ ช้ื อ เ พ ลิ ง
จะถูกดาเนินการไปตามกระบวนการบาบัด เช่น ชนิดใดนั้น ข้ึนอยู่กับสถานท่ีท่ีดาเนินการและ
การนาไปผลิตก๊าซชีวภาพ การหมักทาปุ๋ ย เคร่ืองจักรอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยีท่ี
การนาไปผลิตสารปรับปรุงคุณภาพดิน (Soil รองรับปลายทางในการเผา ปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่
Conditioner) หรือการนาไปฝังกลบในกระบวน- พัฒนาขึ้นเพ่ือใช้ในการผลิต RDF จากขยะมูลฝอย
กา ร ทา RDF เศ ษ ข ยะ มู ลฝ อ ย ช้ิน ใ หญ่ ห รื อ ชมุ ชนทใี่ ชก้ นั มากอยู 3 วิธี คอี
ขยะมูลฝอยหยาบ เช่น เศษไม้ จะถูกคัดทิ้ง
หรือนาไป เข้าเครื่องตัดหรือบดย่อยขนาด สาหรับ

4

1. กระบวนการบาบดั โดยวธิ ีชวี ภาพ-เชงิ กล (Mechanical-Biological Treatment: MBT)

2. กระบวนการบาบดั โดยการทาให้เสถยี รแบบแหง้ (Dry stabilization process)

3. กระบวนการฟื้นฟูบ่อฝ งกลบเพื่อนา ลักษณะเป็นตะแกรง ทรงกระบอกหมุนหรือส่ัน
เศษขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ (Landfill แยกขนาดขยะมูลฝอยและดิน (รวมถึงวัสดุและ
mining) สารที่ขุดข้ึนมา) โดยขนาดและชนิดของเครื่องร่อน
ที่ใช้ข้ึนอยูกับการใช้งานและประเภทของวัสดุที่
3.1 การเจาะ/ขุดเพ่ือนาขยะมูลฝอยที่ แยกกลับมาใช้ประโยชน์ ตัวอยางเช่น ถ้าการฟื้นฟู
ถูกฝ งกลบแล้วขึ้นมา แล้วจัดหาพื้นที่กองหรือ บ่ อ ฝั ง ก ล บ เ พ่ื อ น า เ ศ ษ ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ก ลั บ ม า ใ ช้
สต็อกเศษขยะมูลฝอย และวัสดุท่ีขุดข้ึนมา ประโยชน์ในส่วนของบ่อท่ีมีการปิดทับด้วยดิน
เพื่อเตรียมจัดการในขั้นตอนต่อไป ได้แก่ การแยก รายวัน ซ่ึงเป็นขยะ มูลฝอยท่ีมีดินปนอยู่มากหรือ
ขนาดของวัสดุออกตามขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ขยะมูลฝอยจากการก่อสร้างควรใช้ตะแกรงขนาด
น้าหนักเบาหรือหนัก เป็นต้น ยกตัวอย างเช่น 2.5 นว้ิ สาหรับขยะมูลฝอยที่มีขนาดเล็ก ชิ้นเล็ก ๆ
การแยกเหล็กเส้นตาม ชนิด รูปแบบการใช้ และ หรอื พวกโลหะ พลาสติก แก้ว และกระดาษ ควรใช้
ความยาว ตะแกรงขนาดเล็ก เพราะง่ายต่อการคัดแยกและ
มปี ระสิทธิภาพมากขนึ้
3.2 การแยกขนาดและดิน (คัดกรอง)
โดยใช้เครื่องร่อนแยกขนาดและดิน (Trammel)

5

คุณสมบัติของเชื้อเพลิงขยะท่ีใช้สำหรับ ปัญหำของเตำเผำขยะ
กำรประเมนิ คณุ ภำพของเช้ือเพลิง
1. ขาดการคัดแยกขยะ ทำให้แหล่ง
1. ความชื้น (Moisture content) ปริมาณ เช้ือเพลิงมีปัญหำควำมช้ืนสูง ซ่ึงเมื่อป้อนเข้าไป
ความช้ืนท่ีมากมีผลต่อเน้ือเช้ือเพลิงขยะ และมีผล ในเตาเผาแล้ว ทาให้ประสิทธิภาพการทางานของ
ต่อค่าคว ามร้อนของเช้ือเพลิงขยะอัดแท่ง เตาเผาลดลง รองรับการเผาไหม้ได้น้อยกว่าท่ี
มีค่าน้อยลงในการนาไปเผาไหม้ เนื่องจากใน ออกแบบไว้
กระบวนการเผาไหม้จะต้องนาความร้อนที่ได้จาก
การเผาไหม้ส่วนหนึ่งไปใช้ในการระเหยน้าแทน 2. การจัดการมลภาวะดา้ นสง่ิ แวดล้อม
การนาไปใช้โดยตรง นอกจากนี้ยังทาให้เชื้อเพลิง
อดั แท่งแตกไดง้ ่ายขน้ึ 3. ปัญหาเร่ืองกลิ่นเหม็นรบกวนจาก
ขยะเปียก ควรมีการนาเทคโนโลยีการนากากของ
2. ปริมาณเถ้า (Ash content) คือ สว่ นของ เสียมาทาเปน็ น้าหมกั ชวี ภาพ ใช้ในการดับกลิ่นของ
สารอนินทรีย์ที่เหลือจากการเผาไหม้ ซึ่งประกอบ ขยะในเตาเผาขยะควบคู่กับการขจัดกล่ินด้วย
ด้วยซิลิกา และ แคลเซียมออกไซด์ เปน็ ตน้ เทคโนโลยีทีใ่ ชใ้ นปจั จบุ นั

3. สารระเหยได้ (Volatile matters) คือ สถำนกำรณ์ปริมำณขยะมูลฝอยชุมชนช่วง
ส่วนของเนื้อเชื้อเพลิงขยะท่ีระเหยได้ เป็น วันที่ 1 ตลุ ำคม 2562 – 31 มนี ำคม 2563
สารประกอบคาร์บอน ออกซิเจนและไฮโดรเจน
เปน็ ต้น จากข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษ : รายงาน
ผลการดาเนินงาน ตัวช้ีวัดร้อยละของปริมาณ
4. คาร์บอนเสถียร (Fixed carbon) คือ ขยะมูลฝอยชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง
มวลของคาร์บอนที่เหลือในเชื้อเพลิง ขยะหลังจาก ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติ
ท่ีมกี ารนาสารระเหยออกไปแล้ว ราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รอบ
6 เดือน (1 ตุลาคม 2562 – 31 มีนาคม 2563) :
5 . ค่ า ค ว า ม ร้ อ น ( Calorific value or ข้อมลู ณ วันท่ื 21 พ.ค. 2563)
Heating value) เป็นค่าความร้อนท่ีเกิดจากการ
เผาไหมเ้ ชือ้ เพลงิ ขยะ จะขึน้ อยูก่ ับปรมิ าณคารบ์ อน
ที่มีอยู่ ซ่ึงเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพสูงจะต้องมี
คา่ ความรอ้ นที่สงู

6

7

จากการศึกษางานวิจัยข้างต้นจะพบว่า ผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของโรงไฟฟ้า
ไม่ว่าจะเป็นการดาเนินกิจกรรมใด ๆ ในเร่ืองของ พลังงานขยะโดยใช้โรงไฟฟ้าพลังงานขยะของ
การจัดการ และการผลิตไฟฟา้ จากขยะ ส่ิงที่สาคัญ เทศบาลนครภูเกต็ เป็นกรณศี ึกษา
ท่ีมีผลกระทบและเป็นตัวขับเคลื่อนโครงการและ
การดาเนินการสาเร็จไปได้สามารถแบ่งออกเป็น เอกสารอ้างอิง
3 ปัจจยั ดงั น้ี
1. พลอากาศตรี ชนะยุทธ รตั นกาล หลกั สตู ร
1) เทคโนโลยีและการลงทนุ วปอ. รนุ่ ที่ ๖๐ เรอื่ ง รูปแบบท่เี หมาะสมใน
การแปรรปู ขยะเป็นเชอ้ื เพลิงขยะ Refuse
2) สิง่ แวดลอ้ ม Derived Fuel, RDF) ของหนว่ ยงานในพ้นื ท่ี
กองทัพอากาศ ดอนเมือง
3) สังคมและการยอมรบั ของประชาชน
2. https://www.dede.go.th/ewt_dl_link.php
ซึ่งทั้ง 3 ปัจจัยท่ีกล่าวมา เมื่อรวมกันแล้ว ?nid=48935
มิ ไ ด้ ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม ส ม บู ร ณ์ แ บ บ ที่ สุ ด ส า ห รั บ
โครงการ หากแต่เป็นเพียงวิธีการท่ีสามารถทาให้ 3. แผนแม่บทการบริหารจดั การขยะมลู ฝอยของ
เกิดความยอมรบั ไดข้ องทุก ๆ ภาคส่วนบนหลกั การ ประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564)
และพ้นื ฐานของความเป็นจรงิ เท่าน้ัน ซ่งึ การศึกษา
ข้อมูลงานวิจัยนี้จะเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยประกอบ 4. รายงานผลการดาเนนิ งานตวั ช้ีวัดรอ้ ยละของ
ความรู้และการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค ปริมาณขยะมลู ฝอยชมุ ชนไดรบั การจดั การอยาง
ในการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลงั งานขยะในประเทศไทย ถกู ตอง ตามมาตรการปรบั ปรุงประสทิ ธภิ าพใน
โดยการศึกษาวิจัยนี้ จะมุ่งเน้นศึกษาในเรื่องของ การปฏบิ ตั ริ าชการประจาปงบประมาณ พ.ศ.
2563, กรมควบคมุ มลพษิ

5. วารสารวจิ ยั พลังงาน ปีที่ 8 ฉบับที่ 2554/3

ผูเ้ รยี งร้อยบทควำม

นางธันยบูรณ์ ธัญญโชตไิ พบูลย์
ตาแหนง่ หวั หน้ากองเคมีโรงไฟฟา้
ฝา่ ยเคมี

8

เทคนิคการเก็บรกั ษา Boiler ในขณะหยดุ เดินเครื่อง
(Innovative Lay-up and Startup Methods)

โดย วท.ณพล กล่ันสอน
นักวทิ ยาศาสตร์ ระดับ 9 กองเคมคี ุณภาพ

ปัจจุบันพลังงานทดแทน หรือ Renewable ดังนนั้ EPRI จึงไดอ้ อกคู่มือ The New EPRI
energy เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของเรา Cycling Startup, Shutdown and Lay-up
มากข้ึน ทาให้ความต้องการใช้พลังานไฟฟ้าจาก Fossil Plant Cycle Chemistry Guideline for
โรงไฟฟ้าประเภท Fossil fuel เริ่มมีความผันผวน Operators and Chemists ซ่ึงหลักการของคู่มือ
ตามความพร้อมใช้งานของ Renewable energy ดังกลา่ วสามารถสรุปได้ 3 หลกั การ ดงั นี้
หลายโรงไฟฟ้าต้องเดินเครื่องแบบ Cyclic
operation หรือบางโรงไฟฟ้าต้องหยุดเดินเครื่อง Guideline ที่ 1 คา่ ORP ในขณะเก็บรกั ษา
เป็นระยะเวลานาน แต่ต้องพร้อมเดินเครื่อง ควรใกล้เคียงหรือเป็นค่าเดียวกับ ค่า ORP
ในกรณฉี ุกเฉิน เปน็ ต้น ขณะเดินเครื่องปกติ เช่น ขณะเดินเคร่ืองควบคุม
คุณภาพน้าด้วย AVT(O) ช่วง Lay-up ก็ต้องเป็น
จากการปรับเปลี่ยนลักษณะความต้องการ AVT(O) เป็นตน้
ใ ช้ พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ดั ง ก ล่ า ว EPRI พ บ ว่ า
ห ล า ย โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า พ บ ปั ญ ห า ห รื อ ค ว า ม เ สี ย ห า ย Guideline ที่ 2 พ ย า ย า ม ห ลี ก เ ลี่ ย ง
Boiler Tube Failure ท่ีมีสาเหตุจาก Water-side การปนเปื้อนของ Oxygen หรือ Air-in Leakage
เป็นหลัก ท้ังน้ีจากการสารวจโรงไฟฟ้าท่ีพบ ใ น ข ณ ะ Lay-up ทั้ ง น้ี ใ น ช่ ว ง Lay-up ห รื อ
ความเสียหายเหล่าน้ัน EPRI พบว่ามีเพียง 37% ท่ี ช่วงเตรียม Startup ควรควบคุมค่า Dissolved
ใช้ Nitrogen blanket ในสว่ นของ Water/Steam Oxygen ในระบบให้น้อยกวา่ 100 ppb
side ในขณะ Lay-up, มี 11% ทใ่ี ช้งาน Nitrogen
blanket ในส่วนของ Heater ในขณะ Lay-up, Guideline ท่ี 3 บริเวณที่สัมผัสกับไอน้า
มี 6% ท่ีมีระบบการเก็บรักษา Steam turbine ควรหลกี เล่ียงการสัมผัสกบั นา้ หรอื ความชนื้ ในขณะ
ในขณะ Lay-up และเพียง 20% ท่ีมีระบบ Lay-up หรือบริเว ณสัมผัสกับน้าก็คว รมีน้า
การเก็บรกั ษา Reheater ในขณะหยุดเดินเคร่ือง ตลอดเวลาในขณะ Lay-up ท้ังนี้การท่ีท่อสัมผัส
ไอน้ามคี วามชืน้ หรือมี Condensate บริเวณจดุ อับ
รูปที่ 1 แสดงความเสยี หายทีเ่ กดิ จากไมม่ กี ระบวนการเก็บ จะเป็นสาเหตุเบื้องต้นของการเกิด Corrosion ท่ี
รักษาท่ดี พี อขณะหยุดเดินเครื่องหรอื Lay-up Steam turbine ได้

จา ก Guideline ห ลั กท้ั ง 3 จ ะ เห็ น ว่ า
โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า ท่ี มี ร ะ บ บ Nitrogen Blanketing ท่ี
ส ม บู ร ณ์ พ ร้ อ ม ใ ช้ ง า น แ ล ะ โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า ที่ มี
Dehumidifier สาหรับเก็บรักษา Steam turbine
ก็ จ ะ เ ป็ น โ ร ง ไ ฟ ฟ้ า ท่ี ส า ม า ร ถ ป้ อ ง กั น ก า ร เ กิ ด
การกัดกร่อนช่วงหยดุ เดินเคร่อื งได้ดี

9

น อ ก จ า ก นี้ จ า ก คู่ มื อ The New EPRI เทคนิคการเก็บรักษา Boiler แบบ Dry
Cycling Startup, Shutdown and Lay-up Lay-up
Fossil Plant Cycle Chemistry Guideline for
Operators and Chemists ส า ม า ร ถ ส รุ ป เ ป็ น การเก็บรักษา Boiler แบบ Dry Lay-up
ขนั้ ตอนง่ายในการเก็บรักษาระบบ Water/Steam ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ เ ป็ น ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า ใ น ช่ ว ง ท่ี มี
Cycle ช่วงหยดุ เดนิ เคร่ือง ได้ดงั น้ี งานบารุงรักษาตามแผน หรืองานบารุงรักษาที่
จาเป็นต้องเข้างานในส่วนของ Boiler drum,
- ในกรณีที่หยุดเดินเคร่ืองเป็นระยะส้ันๆ Boiler tube หรือ Deaerator เป็นต้น หวั ใจสาคัญ
เช่น 1 – 2 วัน พยายามรักษาสภาวะ Vacuum ข อ ง ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า แ บ บ Dry Lay-up คื อ
ของ Condenser ใหไ้ ดน้ านที่สดุ ต้อง Empty Drain ขณะที่ ผิว ขอ งโ ลห ะยัง มี
อณุ หภูมิสูงอยู่ หรือพิจารณา Drain ขณะที่ Boiler
- หากมีการหยุดเดินเครื่องบ่อย พิจารณาใช้ Pressure มีค่า 1.7 – 3.7 bar (ทั้งน้ีอาจพิจารณา
งาน Steam Spargers ในส่วนของ Preheater ตามคู่มือของ OEM) โดยขณะ Drain อาจทาการ
หรือ Deaerator tank เพื่อไล่ Oxygen ในส่วน Drain ภายใต้ความความดันของ Compressed
ของ Condensate Air หรือ Nitrogen เพื่อช่วยให้การ Drain สมบูรณ์
รวมทั้งสามารถไล่ไอน้าที่เกิดขึ้นให้ออกไปตาม
- ใ น ก ร ณี ที่ ห ยุ ด เ ดิ น เ ค ร่ื อ ง เ พ่ื อ ง า น ท่ อ Vent ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ใ น ก ร ณี ที่ ใ ช้
บารุงรักษาตามแผน Major overhaul พิจารณา Compressed Air ควรมีความชื้นน้อยกว่า 40%
Drain น้าขณะท่ี Metal temp ของระบบยังมี เพ่ือหลีกเล่ียงการ Condensation ของความชื้น
อุณหภูมิสูง (90 – 120 องศาเซลเซียส หรือตามท่ี ตามจุดอับต่างๆ ที่จะสามารถเหนี่ยวนาให้เกิด
OEM กาหนด) การกัดกร่อนในช่วงที่ Lay-up ตอ่ ไปได้

- ใ น ข ณ ะ ที่ Drain อ า จ พิ จ า ร ณ า ใ ช้ เทคนิคการเก็บรักษา Boiler แบบ Wet
Compressed air หรือ Nitrogen ช่วย Purge เอา Lay-up
ไอนา้ ออกจากระบบ
การเก็บรักษา Boiler แบบ Wet Lay-up
- ใ ช้ Deaerated Hot Water จ า ก โ ร ง ส่วนใหญ่จะเป็นการเก็บรักษาระยะสั้น เช่น
ข้างเคียงเติม Boiler หลังจากเสร็จงาน Major การเดินเคร่ืองตามความต้องการการใช้ไฟฟ้า
overhaul (Weekend or overnight reserved shutdown)
ในการเก็บรักษาระยะส้ันนั้นสามารถป้องกัน
อย่างไ รก็ตาม บางครั้ งแผนก ารหยุ ด การเกิดการกัดกร่อนได้ หากยังสามารถรักษา
เดินเคร่ืองมีโอกาสเปล่ียนแปลง เช่น จากที่ Pressure ของ Boiler drum และ Vacuum ใน
วางแผนหยุดหนึ่งหรือสองวัน อาจเป็นสัปดาห์ Condenser ได้ใกล้เคียงกับตอนเดินเคร่ือง
หรือเดือนได้ ดังน้ันควรเตรียมสภาวะก่อนหยุด อย่างไรก็ตาม หาก Boiler pressure เริ่มลดต่าลง
เดินเคร่ืองให้พร้อมท่ีจะรองรับการเปล่ียนแปลง ควรพิจารณาใช้ Nitrogen blanketing ใน Boiler
ของของแผนการหยุดเดนิ เครอ่ื งเสมอ

10

เ พ่ื อ ป้ อ ง กั น ก า ร สั ม ผั ส ข อ ง Oxygen กั บ ของ Feedwater heater, Reheater จนถึง LP
Superheater หรอื Reheaters turbine ทั้งนี้ ในกรณีท่ีใช้ Dehumidified Air
ด้ า น ข า เ ข้ า ข อ ง Dehumidified air จ ะ เ ป็ น
ท้ังนโี้ รงไฟฟา้ ที่ใช้ Hydrazine อาจพจิ ารณา Feedwater Heater และออกทาง Condenser
เติม Hydrazine เพิ่ม (ประมาณ 2 – 10 ppm) จากนั้นจะผ่านเคร่ือง Dehumidifier เพ่ือแยก
โดยตรงที่ Boiler drum เมื่อ Boiler pressure ความชื้นและนากลบั ไปใช้งานตอ่
เหลือประมาณ 13.8 bar ทั้งนี้ บทความน้ีอ้างว่าท่ี
Pressure ไ ม่ ต่ า ก ว่ า 13.8 bar Hydrazine เ ท ค นิ ค ก า ร Startup จ า ก ก า ร ห ยุ ด
สามารถ Mix ในระบบด้วยกลไกของ Convection เดนิ เครอ่ื ง
Boiler แ ต่ ห า ก เ ติ ม Hydrzaine ท่ี Boiler
pressure สูงกวา่ นี้ Hydrzaine ที่เติมเขา้ ไปอาจจะ ในการ Startup จากการเก็บรักษาแบบ
สลายตัวเปน็ แอมโมเนียได้ Dry Lay-up จาเป็นต้อง Flush line ทาความ
ส ะ อ า ด Protective film ท่ี ไ ม่ เ ส ถี ย ร ห รื อ
อย่างไรก็ตามโรงไฟฟ้าท่ีเก็บรักษา Boiler Corrosion product ทีเ่ กดิ ขนึ้ ขณะหยุดเดินเครื่อง
แบบ Wet Lay-up ทใ่ี ช้ Hydrazine ทค่ี วามเขม้ ข้น ออก ท้ังน้ีเพ่ือลดการเกิด Corrosion product
สูง ควรต้อง Empty drain และเติมน้าใหม่ก่อน transport เข้าไปสะสมใน Boiler
การ Startup นอกจากน้ี ในการเก็บรักษา Boiler
แ บ บ Wet lay-up ส า ห รั บ ร ะ บ บ ท่ี เ ป็ น อย่างไรก็ตาม โรงไฟฟ้าท่ีไม่มีโรงไฟฟ้า
All-ferrous และ Mix-metallurgy ควรควบคุม ข้างเคียงท่ีไม่สามารถดึง Steam จากโรงไฟฟ้า
คา่ pH ที่ 9.5 – 10.0 และ 9.3 – 9.6 ตามลาดบั ข้างเคียงมา Heat up น้าเพื่อไล่ Oxygen ให้น้อย
กว่า 100 ppb ก่อนเติม Boiler ได้ อาจพิจารณา
เทคนิคการเกบ็ รักษา Turbine ใช้วิธี Circulate น้าในระบบ Economizer เพ่ือ
Heat up และไล่ Oxygen หรืออาจใช้ Nitrogen
หลายโรงไฟฟา้ ไมค่ ่อยคานงึ ถึงการเกบ็ รกั ษา purge ใน Condensate tank หรือตาม Header
Turbine ในขณะหยุดเดินเครื่อง ท้ังนี้ การเกิด ต่างๆ เพื่อไล่ Oxygen ให้น้อยกว่า 100 ppb
การกัดกร่อนของ Turbine โดยเฉพาะบริเวณ ก่อนเตมิ Boiler
Phase Transition Zone ในขณะหยุดเดินเคร่ือง
อาจเหนี่ยวนาให้เกิดความเสียหายของ Turbine รูปท่ี 2 แสดงถัง Liquid Nitrogen ท่ีติดตั้งสาหรับใช้
จากการรับ Load ของ Cyclic stress ร่วมกับ เก็บรกั ษา Boiler ในขณะหยดุ เดิเนคร่อื ง
Stress Corrosion Cracking ห รื อ Corrosion
Fatigue ได้

ในการเก็บรักษา Turbine อาจพิจารณา
การใช้ Nitrogen หรือ Dehumidified Air ท่ีมี
ความช้ืนน้อยกว่า 40% เพ่ือป้องกันการสัมผัส
ของ Turbine กับ Oxygen หรือ Water vapor
จาก Condenser hotwell ท้ังน้ี Nitrogen หรือ
Dehumidified Air จะถูก Purge ใน Shell side

11

เอกสารอา้ งอิง
1. Innovative Lay-up and Startup Methods,
David G. Danials, PPChem 2010, 12(12)
2. Whole Plant Lay-up Experience, Steven
L. Barnes, PPChem 2011, 13(7)
3. Lay-up of Fossils Plant Cycles, PPChem
101, PPChem 2009, 11(1)

รูปท่ี 3 แสดง Piping และระบบ Pressure regulate
ของ Nitrogen Blanketing system

รูปที่ 4 แสดง Nozzle ของ Nitrogen Sparger ท่ตี ิดตั้ง
ใน Condensate Tank

ผูเ้ ขียนบทความ :
นายณพล กลนั่ สอน
ตาแหน่ง นักวทิ ยาศาสตร์ ระดบั 9
กองเคมีคุณภาพ ฝา่ ยเคมี

12

งานทดสอบคณุ ภาพ Hydraulic Oil : อะไรบา้ งที่ควรรู้

โดย วท.ขนษิ ฐา คนั ซอทอง
หัวหน้าแผนกวเิ คราะหผ์ ลติ ภัณฑ์ปโิ ตรเลยี ม

ระบบไฮดรอลิค เป็นระบบท่ีใช้กันอย่าง - ถังพกั นา้ มนั
ก ว้ า ง ข ว า ง ใ น โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ กื อ บ จ ะ - ไส้กรองน้ามัน
ทุ ก ป ร ะ เ ภ ท ร ว ม ท้ั ง ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต - ทด่ี รู ะดับน้ามนั
กระแสไฟฟ้า ซึ่งกลไกการทางานของระบบจะมี - ฝาเติมน้ามนั
การส่งถ่ายพลังงานของของไหลที่ทาหน้าที่เป็น - ระบบระบายอากาศ
ตัวขับเคล่ือนการทางานในรูปของอัตราการไหล - ประกบเพรา
และความดันเปลี่ยนเป็นพลังงานกล โดยผ่าน
ตัวกระทา เช่น กระบอกสูบ มอเตอร์ไฮดรอลิค 2. ระบบควบคุมการทางาน เป็นระบบท่ีใช้
ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ นิยมใช้น้ามันไฮดรอลิค ควบคุมการทางานของกระบอกไฮดรอลิค
( Hydraulic oil) เ ป็ น ตั ว ก ล า ง ใ น ก า ร ส่ ง ถ่ า ย ห รื อ ม อ เ ต อ ร์ ไ ฮ ด ร อ ลิ ค ท่ี ค ว บ คุ ม ทิ ศ ท า ง
พลังงาน เพราะว่าน้ามันไฮดรอลิคมีคุณสมบัติที่ การไหลของน้ามันไฮดรอลิค ทาให้กระบอก
สาคัญ คอื ทนต่อแรงบีบอัด (non-compressible) เคลื่อนที่เข้า-ออกได้ เช่น โซลินอยด์วาล์ว
ซง่ึ ทาใหก้ ารส่งถ่ายพลงั งานมปี ระสทิ ธิภาพ และยังควบคุมความดันของน้ามันไฮดรอลิค
ในระบบ เพื่อจากัดความดันให้เป็นไปตาม
ระบบไฮดรอลิคเบ้ืองต้น มีส่วนสาคัญ ความต้องการในการใช้งานต่าง ๆ อุปกรณ์ท่ี
หลักๆ 3 สว่ น ดังน้ี ใช้ควบคุม ได้แก่ วาล์วปลดความดัน หรือ
1. แหล่งจ่ายพลังงาน ทาหน้าท่ีส่งถ่ายพลังงาน เรียกอีกชื่อว่า รีลีฟวาล์ว วาล์วลดความดัน
วาล์วควบคุมลาดับการทางาน วาล์วลัดวงจร
น้ามันเข้าสู่ระบบ โดยมีมอเตอร์ไฟฟ้า หรือ และสุดท้ายระบบควบคุมการทางานยังต้อง
เครื่องยนต์เป็นตัวขับ (Drive) ปั๊มไฮดรอลิค ควบคุมปริมาณการไหลของน้ามันไฮดรอลิค
ให้หมุน เพ่ือดูดน้ามันจากถังพักเข้ามาในปั๊ม ให้เหมาะสม ทาให้สามารถควบคุมความเร็ว
แล้วส่งออกไปสู่ระบบไฮดรอลิค ซึ่งจะ ของอุปกรณ์ทางานได้ ซึ่งมีอยู่ 2 ชนิด คือ
ประกอบไปด้วยอุปกรณต์ ่างๆ ดังนี้ ชนิดปรับช่องทางออก และชนิดเปิดออก
- ป๊มั ไฮดรอลิค ช่องทางผา่ น
- มอเตอร์ไฟฟา้ หรือเคร่อื งยนตข์ ับ
3. อุปกรณ์ทางาน ทาหน้าที่เปลี่ยนแปลง
พ ลั ง ง า น จ า ก พ ลั ง ง า น ไ ฮ ด ร อ ลิ ค เ ป็ น
พลังงานกล เพื่อกระทาต่อภาวะโหลด
ส่วนใหญ่อุปกรณ์ทางานจะมีสองประเภท
ใหญ่ ๆ คือ กระบอกสูบ จะสง่ ถ่ายพลงั งานใน
แนวเชิงเส้น และมอเตอร์ไฮดรอลิคจะส่งถ่าย
พลังงานในแนวรัศมี

13

จากส่วนประกอบท่ีสาคัญในการทางาน คณุ สมบตั ทิ ด่ี ีของ Hydraulic oil
รว่ มกันทาให้เกิดเป็นพลังงานขึ้น ซ่ึงตัวขับเคล่ือนที่
ส า คั ญ ท่ี เ ป็ น ตั ว ก ล า ง ใ น ก า ร ส่ ง ผ่ า น พ ลั ง ง า น เพ่ือให้การทางานของน้ามันไฮดรอลิค
คือ น้ามันไฮดรอลิค ซ่ึงมีหน้าท่ีและบทบาทท่ี มีประสิทธิภาพ จึงควรเลือกใช้น้ามันไฮดรอลิคที่มี
สาคญั ดังนี้ คณุ สมบตั ิ ดังนี้

1. การส่งผ่านกาลังงาน น้ามันไฮดรอลิคจะ 1. มี High bulk modules คื อ ท น ต่ อ
ท า ห น้ า ที่ เ ป็ น ตั ว ก ล า ง ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด แรงบบี อดั ทาให้ลดการสญู เสียพลังงาน
พลังงานจากจุดหน่ึงไปสู่อีกจุดนึ่งในระบบ
เพื่อเปล่ียนแปลงพลังงานของของไหล 2. มีความทนทานต่อการเกิด Oxidation
ใหเ้ ป็นพลังงานกล แ ล ะ ค ว า ม ร้ อ น (Oxidation and
Thermal Stability)
2. การหล่อล่ืน น้ามันไฮดรอลิคจะทาหน้าที่
เป็นตัวช่วยในการหล่อล่ืน และลดแรงเสียด 3. มีความต้านทานการเกิดสนิม และ
ทานระหวา่ งชิ้นสว่ นตา่ ง ๆ ทสี่ ัมผัสกัน ฟลิ ์ม การกัดกร่อน
ของนา้ มันไฮดรอลิคช่วยหล่อล่ืนและลดการ
เสียดสีของผิวสัมผัสระหว่างแกนวาล์วกับ 4. กรณีมีน้าปนเป้ือนสามารถแยกตัว
ผนังภายในตัววาล์วเพ่ือช่วยให้การเคล่ือนท่ี ออกจากน้าได้งา่ ย
ของช้ินส่วนอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบเคล่ือน
ไปไดอ้ ยา่ งคล่องตัว 5. มีความคงทนต่อการการเปล่ียนแปลง
ความหนดื เม่ืออณุ หภูมิสงู ขึ้น
3. การซีล น้ามันไฮดรอลิคจะทาหน้าท่ีเป็น
ซีลป้องกันการร่ัวซึมภายในให้เกิดน้อยที่สุด 6. มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ป้ อ ง กั น
เม่ือมีความดันเกิดข้ึนในระบบ เพราะว่า การเกิด Foam (Anti-foam) และฟอง
ในระบบไฮดรอลิค อุปกรณ์ส่วนมาก อากาศ (Air release) เพ่ือลดการเกิด
จะถูกออกแบบให้มีการซีลแบบโลหะต่อ ออกซเิ ดช่ัน และการถูกบบี อัด
โลหะ และการทาหน้าท่ีเป็นตัวซีลน้ี
จะข้ึนอยู่กับความข้นใสของน้ามันไฮดรอลิค 7. สามารถใช้กับซีล ท่อ และข้อต่อต่าง ๆ
แต่ละชนิดด้วย ของอุปกรณ์ไฮดรอลคิ ได้

4. การระบายความร้อน ในขณะท่ีระบบ ชนิดของน้ามัน Hydraulic และสารเติมแต่ง
ไฮดรอลิคทางาน จะเกิดความร้อนข้ึน (Additive)
ซ่ึงน้ามันไฮดรอลิคที่ไหลเวียนในระบบ
จะช่วยระบายความร้อนของระบบได้ ซ่ึงจะ 1. Rust and Oxidation (R&O) Oils
ถ่ายเทความร้อนท่ีเกิดขึ้นกับอุปกรณ์ต่าง ๆ เ ป็ น น้ า มั น ท่ี ใ ช้ ส า ห รั บ ร ะ บ บ ที่ มี
อันเนื่องมาจากสูญเสียพลังงานในระบบ ความดันตา่
เข้าสู่ตัวมัน และถ่ายเทความร้อนนั้นผ่าน
ผนังของถงั พักเมอ่ื ไหลลงสถู่ งั พัก 2. Anti-wear (AW) Oils เปน็ นา้ มัน R&O
ที่มีการเติม zinc-phosphorous เพื่อ
ป้องกันการสึกหรอของ Hydraulic
pump และ มอเตอร์

3. Multi-viscosity Anti-wear (VI-
improved AW) Oils เป็นน้ามัน AW

14

ท่ีนามาเติมสารป้องกันการเปลี่ยนแปลง 4. ซ่อมแซมรอยรั่วของอุปกรณ์ทันทีที่พบ
ความหนืดเมือ่ อณุ หภูมเิ ปลี่ยนแปลง หากน้ามันร่ัวไหลออกมาได้ ส่ิงสกปรก
4. Engine Oils ท่ีใช้ในระบบไฮดรอลิค และน้ากส็ ามารถเข้าไปได้เชน่ กนั
มี ก า ร เ ติ ม Anti-wear ข้ อ เ สี ย ข อ ง
Engine oil คือมีสารทาความสะอาด 5. ควรทาความสะอาดระบบ (Flush and
(Detergent Additives) ในปริมาณมาก Clean) หลังจากกาจัดพวกเศษโลหะ
ซ่ึงถ้ามีน้าปนเป้ือนเข้ามาในระบบจะ สึกหรอท่ีเกิดจากความเสียหายของ
ทาให้เกิดการรวมตวั ของชั้นน้ากับน้ามัน ระบบ
เปน็ เน้อื เดยี วกนั (oil-water emulsion)
5. Fire-resistant Oils เป็นน้ามันที่ใช้ใน 6. หม่ันตรวจสอบคุณภาพน้ามันด้วย
ด้านความปลอดภัยในการต้านทาน มาตรฐานท่ดี ี ตามเวลาท่ีเหมาะสม
การเกิดประกายไฟ โดยเป็นสารหล่อลื่น
ประเภท oil-water emulsion หรอื เปน็ จากท่ีกล่าวมาทั้งหมดน้ี จะเห็นได้ว่า
สารหล่อลื่นสังเคราะห์ น้ามันไฮดรอลิคเป็นส่วนสาคัญอย่างมากในการ
เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดพลังงาน ทั้งนี้จึงควร
ก า ร บ า รุ ง รั ก ษ า แ ล ะ ข้ อ ค ว ร ร ะ มั ด ร ะ วั ง ข อ ง ดูแล ติดตามคุณภาพน้ามันไฮดรอลิค อย่าง
น้ามันไฮดรอลคิ สม่าเสมอตามรอบการบารุงรักษา เพื่อหยุดยั้ง
ความเสยี หายท่ีจะเกดิ ข้ึนกบั อปุ กรณ์
1. ดูแลน้ามันใหส้ ะอาด โดยทั่วไป 75-80%
ข อ ง ร ะ บ บ ไ ฮ ด ร อ ลิ ค จ ะ มี สิ่ ง ส ก ป ร ก รายการทดสอบที่เหมาะสมกบั Hydraulic Oil
พวก เศษโลหะสึกหรอ ซ่ึงในระบบที่มี
แรงดันสูง ช่องว่างระหว่างพื้นผิวโลหะ สาหรับแผนกวิเคราะหผ์ ลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม
จะแคบ จึงต้องเอาใจใส่กับอนุภาค กองเคมีวิเคราะห์ ฝ่ายเคมี ได้ให้ความสาคัญ
ส่ิงสกปรกปนเปื้อนมาก โดยน้ามันใหม่ ต่อการทดสอบคุณภาพน้ามันระบบไฮดรอลิค
(new oil) จะต้องผ่านการกรองกอ่ นเติม จึงจัดทาเป็น Package สาหรับน้ามันไฮดรอลิคกับ
เข้าระบบ และทาการติดต้ังระบบกรอง ร า ย ก า ร ท ด ส อ บ ท่ี เ ห ม า ะ ส ม ใ ห้ กั บ ห น่ ว ย ง า น
ที่มี filter ขนาด 3 ไมครอน ในระบบ ที่มาขอรับบริการ โดยอ้างอิงมาตรฐานและ
ไฮดรอลิคทมี่ คี วามดนั สงู เกนิ 3,000 psi รายการทดสอบดงั น้ี

2. ดูแลน้ามันให้แห้ง ไม่คว รมีค่าน้า Hydraulic Oil Package Test Method
(Water Content) สูงเกินเกณฑ์กาหนด ASTM D 445
ในทางปฏิบัติสามารถใช้สารดูดความชื้น Test Parameter ASTM D 664
ในถงั เกบ็ น้ามนั ASTM D 95
Oil Condition ASTM D 1744
3. ดูแลให้น้ามันอยู่ในอุณหภูมิท่ีเหมาะสม Kinetic Viscosity @ 40,
โ ด ย ท่ั ว ไ ป ห า ก เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ไ ม่ ค ว ร 100 deg.C
ให้น้ามันอยู่ในสภาวะที่อุณหภูมิสูงเกิน Total Acid Number (TAN)
65 องศาเซลเซยี ส Oil Contamination
Water Content by
Distillation
Water Content by
Volumetric KF

15

Test Parameter Test Method น อ ก จ า ก ก า ร ท ด ส อ บ น้ า มั น ต า ม
ASTM D 6304 รายการทดสอบแล้ว ทางห้องปฏิบัติการจะมีการ
Water Content by NAS1638/ISO4406 รายงานผลพร้อมข้อเสนอแนะ เพื่อการดาเนินการ
Coulometric KF ดูแลบารุงรักษาน้ามัน หากท่านใดมีความประสงค์
สง่ิ สกปรก ปนเปื้อนของนา้ มัน ASTM D 5185 สอบถามข้อมูลเพ่ิมเติม ด้านงานวิเคราะห์
เช่น ฝุ่นผง ASTM D 6595 น้ามันหล่อลื่น สามารถติดต่อได้ท่ีแผนกวิเคราะห์
Wear Condition ASTM D 2272 ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม กองเคมีวิเคราะห์ ฝ่ายเคมี
Wear Metals by ICP-AES โทร. 05-721-6721
Wear Metals by RDE
Special Condition เอกสารอ้างองิ
Oxidation Stability 1.Robert Scott , Jim Fitch and Lloyd
(RPVOT)
Leugner. The Practical Handbook of Machinery
โดยการทดสอบของห้องปฏิบัติการอ้างอิง Lubrication Fourth Edition. NORIA
ตามมาตรฐาน ASTM D6224-16 และมี Waning
Level ของรายการทดสอบดังน้ี 2.ASTM D6224-16 Standard Practice for In-
Service Monitoring of Lubricating Oil for Auxiliary
PARAMETER WARNING LIMIT Power Plant Equipment

VISCOSITY +/-5% of new oil,max

TOTAL ACID NUMBER Increase of 0.2 mg

(TAN) KOH/g

WATER CONTENT >0.05% by mass

PARTICLE COUNT >8 (NAS)

WEAR METAL Trend

OXIDATION <25% of new oil

STABILITY

ผเู้ ขียนบทความ :
นางขนิษฐา คันซอทอง
ตาแหนง่ หวั หนา้ แผนกวิเคราะห์ผลิตภณั ฑป์ โิ ตรเลยี ม
กองเคมีวเิ คราะห์ฝ่ายเคมี

16

การจดั หาและเบกิ ซือ้ เคมภี ณั ฑ์

โดย วก.ดนติ า ซาฮ์
หัวหน้าแผนกบรหิ ารเคมีภัณฑ์

แผนกบริหารเคมีภัณฑ์ (หบค-ธ.) มีภารกิจ 1.1 ธุรกิจหลัก
ในกา รจัด หาแล ะส่ง มอบ เคมีภั ณฑ์ท่ี ใช้ใ น (ก) การก่อสร้างโรงไฟฟ้า เข่ือนเพื่อการผลิตไฟฟ้า ระบบ
กระบวนการผลิตไฟฟ้าให้แก่ลูกค้า ทั้งลูกค้าที่เป็น
โรงไฟฟ้าของ กฟผ. และโรงไฟฟ้าเอกชนที่ กฟผ. ส่งไฟฟ้า และระบบจาหน่ายไฟฟ้า รวมถึงการจัดหา
มีสัญญาเดินเคร่ืองและบารุงรักษาระยะยาว ที่ดนิ เพอ่ื ใช้ประโยชน์ในการผลติ และสง่ ไฟฟา้
ซึ่งการจัดหาและดาเนินการเบิกซ้ือเคมีภัณฑ์ (ข) การจัดหาเคร่ืองจักร วัสดุ อุปกรณ์ เพ่ือใช้ใน
จะจัดซื้อภายใต้พระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้าง การเดินเครื่องและบารุงรักษา
และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 มีผลบังคับ (ค) การจดั หาเช้อื เพลิงเพอ่ื ใชใ้ นการผลิตไฟฟ้า
ใช้ในวันท่ี 23 สิงหาคม 2560 โดยมีระเบียบและ (ง) การทาเหมืองถา่ นหนิ
ข้อกาหนดของ กฟผ. ท่ีเก่ียวข้องได้แก่ ข้อบังคับ (จ) การซอื้ ไฟฟา้
กฟผ. ฉบับที่ 389 ว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและ (ฉ) การซ้ือโลหะเพื่อจ้างผลิตสายไฟ เช่น Copper
บริหารพัสดุที่เกี่ยวกับการพาณิชย์โดยตรง และ Cathode, Aluminum Ingo
ระเบียบ กฟผ.ฉบบั ที่ 356 ว่าดว้ ยการจดั ซ้อื จัดจา้ ง 1.2 ธุรกิจเสริม
และบริหารพสั ดทุ ี่เกย่ี วกบั การพาณชิ ยโ์ ดยตรง (ก) การก่อสร้างสถานีกักเก็บและแปรสภาพก๊าซธรรมชาติ
เหลว (LNG) ระบบท่อส่งก๊าซ และระบบจาหน่าย
1. ข้อบังคับ กฟผ. ฉบับที่ 389 การจัดซ้ือ รวมถึงการบารงุ รกั ษา
จัดจ้างและการบริหารพัสดุท่ีเกี่ยวกับการ (ข) การจัดหาเพ่ือให้บริการออกแบบ ก่อสร้าง ติดต้ัง
พาณิชย์โดยตรง ควบคุมงาน และให้คาปรึกษาโรงไฟฟ้า ระบบผลิต
ไฟฟ้า ระบบควบคุมกาลังไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้า ระบบ
ขอ้ บงั คับน้ใี ห้ใช้บังคับกบั การจัดหา การจดั ซื้อ จาหน่ายไฟฟ้า อุปกรณ์ด้านระบบไฟฟ้าและงานอ่ืน ๆ
จัด จ้ า ง แ ละ ก า ร บ ริ หา ร พั ส ดุ ต าม ป ร ะ ก า ศ ท่เี กี่ยวเนอ่ื ง รวมถึงการบารงุ รักษา
คณะกรรมการนโยบายฯ เร่ือง หลักเกณฑ์ (ค) การจัดหาเพ่ือให้บริการทดสอบ ผลิต จัดส่ ง
ก า ร จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ข อ ง รั ฐ วิ ส า ห กิ จ ท่ี เ ก่ี ย ว กั บ จัดจาหน่าย และบริการจัดการพลังงานหรือพลังงาน
การพาณชิ ยโ์ ดยตรง ดังต่อไปนี้ ทดแทน และระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบไฟฟ้า
พลังงานหมุนเวียน ไอน้า น้าเย็น ขยะ ตลอดถึง
พลังงานท่ีมีการประดิษฐ์คิดค้นหรือพัฒนาขึ้นใหม่
อาทิ การผลิตแบตเตอรี่ สถานี หรืออุปกรณ์สาหรับ
ชาร์จยานพาหนะท่ีใช้ไฟฟ้า เป็นต้น
(ง) การจัดหาเพื่อให้บริการผลิตและซ่อมอะไหล่
โรงไฟฟ้า อุปกรณ์ด้านระบบไฟฟ้าและเคมี
วิเคราะห์
(จ) การจ้างงานบริการเพื่อการดาเนินธุรกิจหลักตาม
(1) และธุรกิจเสริมตาม (ก) – (ง)
(ฉ) การจ้างที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญเพื่อการประกอบ
ธุรกิจ
(ช) การจัดหาเพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์กิจกรรม

ทางการตลาดและการขาย

17

2 . ร ะ เ บีย บ ก ฟ ผ . ฉ บับ ที่ 3 5 6 ว่า ด้ว ย 3 ค น ห รื อ จ ะ ต้ั ง ค ณะ ก ร ร ม ก า ร พิ จ า ร ณ า
การจัดซื้อจัดจ้าง และบริหารพัสดุที่เกี่ยวกับ ผ ล ก า ร ส อ บ ร า ค า ชุ ด เ ดี ย ว ท า ห น้ า ที่ เ ปิ ด ซ อ ง
การพาณิชย์โดยตรง
สอบราคาด้วยก็ได้ ซ่งึ ในปัจจบุ นั ปฏบิ ัติเช่นนี้อยู่
ร ะ เ บี ย บ น้ี ใ ห้ ใ ช้ บั ง คั บ กั บ ก า ร จั ด ห า
การจดั ซ้ือจดั จา้ ง และการบริหารพัสดุตามประกาศ 2.3 วิธีประกวดราคา
คณะกรรมการนโยบายการจัดซ้ือจัดจ้างและ เป็นการซื้อหรือการจ้างท่ีต้องเผยแพร่
การบรหิ ารพัสดภุ าครฐั วา่ ด้วยหลักเกณฑก์ ารจดั ซ้ือ
จัดจ้างของรัฐวิสาหกิจท่ีเกี่ยวกับการพาณิชย์ ร่ า ง ข อ บ เ ข ต ข อ ง ง า น ป ร ะ ก า ศ ป ร ะ ก ว ด ร า ค า
โดยตรง และท่ีคณะกรรรมการนโยบายการจัดซื้อ ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
จัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐจะประกาศ และของ กฟผ. เป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า
เพิ่มเติม ใหร้ องผ้วู า่ การแต่ละสายงานเปน็ ผ้กู าหนด
รายละเอยี ดของงานท่ีเกี่ยวกับการพาณชิ ยโ์ ดยตรง 3 วัน และมีวงเงินต้ังแต่ 5,000,000 บาทข้ึนไป
โดยการซ้ือน้ีจะต้องมีกรรมการเปิดซอง จานวน
ร ะ เ บี ย บ ฉ บั บ นี้ ไ ด้ ร ะ บุ ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง 3 คน กรรมการพิจารณาจานวน 3 คน และ
งานจัดซื้อ หน้าท่ีและขอบเขตของคณะกรรมการ
เปดิ ซอง คณะกรรมการพิจารณา เจ้าหน้าทก่ี าหนด กรรมการตรวจรบั พัสดุ 3 คน
ราคากลาง และคณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ
2.4 วธิ ีพิเศษ
การดาเนินการซ้ือหรือการจ้างมีด้วยกัน ให้เชิญหรือติดต่อโดยตรงกับผู้ขายหรือ
4 วิธี คือ วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวด
ราคา และวิธีพิเศษ ซ่ึงการซ้ือในแต่ละวิธีสรุปได้ ผู้รับจ้างรายเดียวหรือหลายรายมาเสนอราคา
ดังนี้ และให้ต่อรองราคาลงเท่าท่ีจะทาได้ ให้เสนอ
รายงานพร้อมด้วยความเห็นต่อผู้มีอานาจอนุมัติ
2.1 วธิ ีตกลงราคา
เป็นการซ้ือหรือการจ้างที่ให้ผู้ซื้อติดต่อ การซื้อหรือการจ้างเพ่ือพิจารณาสั่งการต่อไป
ไม่จากดั วงเงนิ แตใ่ หก้ ระทาได้ดังตอ่ ไปน้ี
ตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้างโดยตรง มีวงเงิน
ไม่เกิน 500,000 บาท โดยการซื้อน้ีจะต้องมี 1) จาเปน็ ต้องซือ้ เฉพาะแหง่
กรรมการพิจารณาราคา 1 คน และกรรมการ 2) ต้องซื้อหรือจ้างโดยเร่งด่วน หากล่าช้า
ตรวจรับพสั ดุ 1 คน
อาจจะเสยี หายแก่งาน
2.2 วิธีสอบราคา 3) จาเป็นตอ้ งซ้ือโดยตรงจากตา่ งประเทศ
เป็นการซ้ือหรือการจ้างที่ต้องปิดประกาศ 4) มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นหรือจาเป็นต้อง

สอบราคา ณ ที่ทาการของ กฟผ. ในระบบ จ้ า ง เ พิ่ ม ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ ที่ จ า เ ป็ น ห รื อ
เครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง และของ เร่งด่วน หรือเพ่ือประโยชน์ของ กฟผ.
กฟผ. และมีวงเงินมากกว่า 500,000 บาท (Repeat Order)
แต่ไม่เกิน 5,000,000 บาท โดยการซ้ือน้ีจะต้อง 5) มีข้อจากัดทางเทคนิค หรือลิขสิทธิ์ หรือ
มีกรรมการเปิดซอง จานวน 3 คน กรรมการ สิ ท ธิ บั ต ร ท่ี จ า เ ป็ น ต้ อ ง ร ะ บุ ยี่ ห้ อ เ ป็ น
พิจารณาจานวน 3 คน และกรรมการตรวจรับพสั ดุ การเฉพาะ ซง่ึ หมายความรวมถงึ อะไหล่
6) มีคุณลักษณะเฉพาะเป็นพิเศษหรือ
ซับซ้อน หรือต้องผลิต จาหน่าย ก่อสร้าง
หรือให้บริการโดยผู้ประกอบการที่มีฝีมือ
โดยเฉพาะ หรือมีความชานาญเป็นพิเศษ
หรือ มีทักษะสูง และผู้ประกอบการนั้น
มีจานวนจากัด

18

ในการดาเนินการจัดซ้ือเคมีภัณฑ์ในปัจจุบัน FLOW CHART งานซ้ือวิธีตกลงราคา
หบค-ธ. จะใช้ 3 วธิ ี คอื วธิ ตี กลงราคา วิธสี อบราคา
และวิธีประกวดราคา ซึ่งเคมีภัณฑ์ท่ีมีวงเงินต้ังแต่ START
2,000,000 ล้านบาทขึ้นไป จะต้องได้รับความ
เ ห็ น ช อ บ ร่ า ง ข อ บ เ ข ต ง า น ( TOR) จ า ก รา่ งขอบเขตงาน
ผู้ช่วยผู้ว่าการบารุงรักษา (ชธธ.) ก่อนท่ีจะ /รับแจง้ ความตอ้ งการจากลูกค้า
ดาเนินการเบิกซ้ือ โดยข้ันตอนการจัดซื้อเคมีภัณฑ์ ขอใบเสนอราคาจากร้านค้า/บริษัท
ที่แผนก หบค-ธ. ดาเนินการมีท้ังหมด 3 ข้ันตอน
ดังนี้ ปรมิ าณสารเคมีคงคลัง
ทาบันทึกเบิกซ้ือเสนอ กคภ-ธ. พรอ้ มรา่ งขอบเขตงาน TOR
ขั้นตอนที่ 1 : จัดทาแผนซื้อเคมีภัณฑ์
ประจาไตรมาส กคภ-ธ. พิจารณา

แผนก หบค-ธ. จะดาเนินการตรวจสอบ ไม่เหน็ ชอบ เห็นชอบ
ปริมาณสารเคมีคงเหลือท่ีมีอยู่ในสัญญา และ
สารวจปริมาณการใช้งานของแต่ละโรงไฟฟ้า ส่ง หบค-ธ. จัดทา PR ใน
จากนั้น หบค-ธ. จะนามาจัดทาแผนซื้อเคมีภัณฑ์ ปรับปรุงแก้ไข ระบบ SAP
ในแต่ละไตรมาส เสนอให้ผบู้ ริหารเห็นชอบ ซ่ึงโดย จดั ส่งหน่วยงาน
ปกติจะจัดส่งแผนให้ก่อนทุกวันที่ 9 ของเดือน ได้ผู้เสนอราคา
สุดทา้ ยในแต่ละไตรมาส สง่ อีเมลล์ ให้ หบค-ธ. จดั ส่งเอกสารให้ หซฟธ-ห.
เป็นกรรมการพจิ ารณา ดาเนนิ การ
ขั้นตอนที่ 2 : ดาเนินการเบิกซื้อ
หบค-ธ. ตรวจสอบเอกสารความถูกตอ้ ง หนว่ ยงานจดั หาออก PO
งานซ้ือท่ีมีวงเงินไม่เกิน 500,000 บาท ตามข้อกาหนด กฟผ. ส่งอเี มล์ให้ หซฟธ-ห. ให้ร้านค้า
จะเป็นแบบวิธีตกลงราคา จะจัดทาบันทึกเบิกซื้อ
ถึง หซฟธ-ห. โดยมีร่างขอบเขตงานลงนามกากับ งานซ้ือวิธีประกวดราคา วงเงินตั้งแต่
โดย กคภ-ธ. พรอ้ มท้งั จดั ทา PR ในระบบ SAP 5 ล้านบาทขึ้นไป ทางแผนก หบค-ธ. จะต้องทา
บันทึกเบิกซื้อพร้อมร่าง TOR เสนอ กคภ-ธ. และ
งานซื้อวิธีสอบราคาที่มีว งเงินต้ังแต่ กคภ-ธ. ทาบันทึกขออนุมัติซ้ือจาก อคม. หลังจาก
500,000 บาท แต่ไม่เกิน 5,000,000 ล้านบาท อคม. อนุมัติ หบค-ธ. จัดทาราคากลาง ขอความ
ทางแผนก หบค-ธ. จะต้องทาบันทึกเบิกซื้อพร้อม เห็นชอบจาก อคม. หาก อคม. เห็นชอบ หบค-ธ.
ร่าง TOR เสนอ กคภ-ธ. และ กคภ-ธ. ทาบันทึก ต้องทาบันทึกขอความเห็นชอบจาก ชธธ. พรอ้ มท้ัง
ขออนุมัติซื้อจาก อคม. หลังจาก อคม. อนุมัติ แนบแผนงานซื้อประกอบ หาก ชธธ.เห็นชอบ จึง
หบค-ธ. จัดทาราคากลาง ขอความเห็นชอบจาก จะทาบันทึกเบิกซ้ือส่ง กจฟธ-ห. พร้อมจัดทา PR
อคม. หาก อคม. เห็นชอบจงึ จะทาบนั ทกึ เบิกซือ้ ส่ง ในระบบ SAP
กจฟธ-ห. พร้อมจัดทา PR ในระบบ ASP (หาก
วงเงินเกิน 2 ล้านบาทข้ึนไป) ต้องทาบันทึก
ขอความเห็นชอบจาก ชธธ. พร้อมท้ังแนบแผนซื้อ
ประกอบดว้ ย

19

FLOW CHART งานซื้อวิธีสอบราคา/ประกวด ได้จัดทาระบบติดตามการปริมาณเคมีภัณฑ์คงคลังใน
ราคา เว็บไซต์ของ อคม. คือ cd.egat.co.th ในงานบริการ
ด้ ว ย ร ะ บ บ Chemical Consumption System ที่
START สามารถแจ้งเตือนปริมาณเคมีคงคลังให้พร้อมใช้งาน
อยู่เสมอ โดยจะแจ้งทางอีเมลล์และทาง Line
รา่ งขอบเขตงาน Application เมื่อปริมาณเคมีภัณฑ์ถึง Minimum
Stock หรื อ ร ะ ย ะ เ ว ล า ข อ ง สั ญ ญ า เ ดิ น ม า ถึ ง
ขอใบเสนอราคาจากรา้ นค้า/บริษัท คร่งึ ทาง Expired Contract

ทาบนั ทึกเบิกซ้ือเสนอ กคภ-ธ. พรอ้ มร่างขอบเขตงาน TOR ข้ันตอนท่ี 3 การตรวจรบั พสั ดุ
และบันทึกขออนุมัติซือ้ เสนอ อคม. วิธีตกลงราคา จะมีกรรมการตรวจรับพัสดุ
1 ท่าน มีหน้าที่ตรวจรับพัสดุในวันท่ีคู่สัญญา
ไมเ่ หน็ ชอบ อคม. พิจารณา นาเคมีภัณฑ์มาส่งให้ ณ ที่ทาการของ กฟผ. หรือ
สถานที่ตามท่ีกาหนดในสัญญา เช่น โรงไฟฟ้าต่างๆ
สง่ หบค-ธ. เหน็ ชอบ เม่ือกรรมการตรวจรับพัสดุตรวจนับเรียบร้อยแล้วให้
ปรับปรุงแกไ้ ข จดั ทาราคากลาง ขอความ ลงนามรับพัสดุ และส่งให้หน่วยงานพัสดุดาเนินการ
ตอ่ ไป
เหน็ ชอบ จาก อคม.
วิธีสอบราคา และวิธีประกวดราคาจะมี
กจฟธ-ห. ดาเนนิ การ จดั ทาบนั ทึกขอความ กรรมการตรวจรับพัสดุจานวน 3 ท่าน โดยท่านแรก
ตามขั้นตอนจดั หา เห็นชอบจาก ชธธ. พร้อม กาหนดให้เป็นประธาน คือ หัวหน้าแผนกบริหาร
เคมีภัณฑ์ (หบค-ธ.) เม่ือคู่สัญญาจัดส่งเคมีภัณฑ์ถึง
แนบแผนซ้ือประกอบ โรงไฟฟ้า กรรมการตรวจรับพัสดุ 2 ท่าน ที่โรงไฟฟ้า
ประกอบด้วย นักวิทยาศาสตร์จากฝ่ายเคมี และ
ประกาศเปิดซองสอบราคา/ สง่ ตวั อยา่ งวิเคราะห์หอ้ ง ผู้ปฏิบัติงานจาก อจพ. โดยกรรมการตรวจรับงาน
ประกวดราคา LAB จะตอ้ งตรวจนับพัสดุให้ถูกตอ้ งครบถ้วน แล้วจึงลงนาม
วันท่ีรับของในใบส่งของชั่วคราว/ใบกากับภาษีตัวจริง
หพค-ธ. ในกรณีที่ตอ้ งมี และสาเนา และวิเคราะห์หน้างาน หากอยู่ในเงื่อนไข
การวิเคราะห์ตวั อย่าง ของสัญญา และแบบฟอร์มใบกากับการขนส่ง
เคมีภัณฑ์ และส่งเอกสารทั้งหมดคืนให้บริษัท
หน่วยงานจัดหา คณะกรรมการพิจารณาตรวจสอบ เพื่อบรษิ ัทจะจัดทาเอกสารวางบิลมาท่ีหนว่ ยงานพัสดุ
ประกาศผูช้ นะรออทุ ธรณ์ เอกสารและสรปุ คดั เลอื กผู้เสนอราคาท่มี ี จ า ก นั้ น ห น่ ว ย ง า น พั ส ดุ จ ะ ต ร ว จ ส อ บ เ อ ก ส า ร
คุณสมบัติครบถ้วนตามข้อกาหนด กฟผ. ประกอบการวางบิลให้ถูกต้องเพ่ือรับเข้าระบบ ERP
15 วัน 107 และส่งมาให้กรรมการท่านแรก (หบค-ธ.)
ตรวจสอบความถูกต้องและลงนาม และส่งคืน
หนว่ ยงานจดั หา หน่วยงานพัสดุ จากนั้นหน่วยงานพัสดุจึงส่งให้
จัดทาสัญญาซ้ือขาย หน่วยงานบัญชีและเจ้าหนี้ (ตรวจจ่าย) เพื่อจ่ายเงิน
ให้กับคสู่ ญั ญาต่อไป
เคมภี ณั ฑ์

เมื่อแผนก หบค-ธ. ได้รับสัญญาเคมีภัณฑ์แล้ว
จึ ง จั ด ท า แ ฟ้ ม ป ริ ม า ณ ส ต๊ อ ก ข อ ง เ ค มี ภั ณ ฑ์
ในแต่ละรายการ เพื่อใช้ในการติดตามปริมาณคงคลัง
ของเคมีภัณฑ์อย่างต่อเน่ือง และทางแผนก หบค-ธ.

ผ้เู ขียนบทความ :
นางดนติ า ซาฮ์
ตาแหนง่ หวั หน้าแผนกบริหารเคมภี ณั ฑ์
กองเคมีภณั ฑ์ ฝ่ายเคมี




Click to View FlipBook Version