The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทความวิชาการ Chem's talkไตรมาส 1 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Book, 2022-04-18 14:21:56

บทความวิชาการ Chem's talkไตรมาส 1 (1)

บทความวิชาการ Chem's talkไตรมาส 1 (1)

ขอกลา่ วสวสั ดที า่ นผอู้ ่านบทความวารสาร Chem’s talk ฉบบั ไตรมาสที่ 1 ประจำปี 2565 ทุกท่าน ยินดที ีไ่ ด้ร้จู กั ครบั ตอ่
จากนี้เราจะไดพ้ บกันทกุ ๆ 3 เดือน เพ่ือ Update บทความและความรู้ดี ๆ ไวอ้ า่ นในยามเหงาชว่ ง Work From Home ในขณะนี้

สำหรับวารสารฉบับนี้มีบทความเพื่อนำไปใช้กับงานในส่วนของการจัดส่งเคมีภัณฑ์ให้กับโรงไฟฟ้า ในหัวข้อ “การติด
เครอ่ื งหมาย ฉลาก และป้าย บนรถขนส่งวตั ถอุ ันตราย” ซึ่งชว่ ยเพิ่มความเข้าใจเก่ยี วกับเครือ่ งหมาย ฉลาก
และป้ายต่างๆ ที่ติดอยบู่ นรถขนส่งวตั ถุอนั ตรายในเบือ้ งต้นเพิ่มมากขึน้ สำหรับนักเคมีโรงไฟฟา้
เรามีบทความทเ่ี ก่ยี วกับ โรงไฟฟ้ชีวมวล และ การStart-up โรงไฟฟา้ ภายใตห้ วั ข้อ
“Biomass Energy / Biogas Energy ต่างกันอยา่ งไร ???” และ
“Cation Conductivity Monitoring for Faster Start-ups –
A NEW APPROACH” ซึง่ ชว่ ยเพม่ิ ความคมุ ค่าทางเศรษฐกจิ
และลดเวลาทใี่ ชใ้ นการ Stat-up ของโรงไฟฟ้าอกี ดว้ ย
และในหัวขอ้ สุทา้ ยน้ันผมข้อนำเสนอ “ภัยเงียบจากไมโครพลาสติก”
ซึ่งเป็นปญั หาทเ่ี ราไดย้ นิ ผ่านหูมาโดยตลอดและมีความรุนแรง
มากขนึ้ ในทกุ ๆ วนั เพราะฉะนัน้ ในบทความนเ้ี ราจะมา
พดู ถึงเกีย่ วกับไมโครพลาสตกิ ว่า สง่ิ นี้คอื อะไร
มีผลกระทบอะไรบ้างกบั มนุษย์ รวมถงึ การหลกี เลีย่ ง
เบอ้ื งต้นจากการเปน็ สว่ นหนง่ึ ของปัญหาดังกลา่ ว

สดุ ท้ายน้ี ในสถานการณ์การระบาดของ
เชือ้ ไวรสั COVID-19 ซึง่ ยังคงมีการระบาดอยา่ งต่อเน่อื ง
แม้จะได้รบั วคั ซีนโควิด 19 แลว้ แตเ่ รากย็ งั ตอ้ งป้องกนั
ตนเองอยู่เสมอ ดว้ ยการสวมหนา้ กากอนามัย
ล้างมือบ่อยครง้ั กนิ รอ้ น ช้อนกลาง ส่ิงเหล่าน้ียังคงเป็น
วธิ ีที่เราทุกคนร่วมกันปฏบิ ัตไิ ด้และจะห่างไกลจากโรค
แล้วพบกันใหม่ในฉบบั หน้าครับ

ณัฏฐค์ เณศ วุฒกิ ลุ กรนันท์

บรรณาธกิ าร

-Contents-
January-March 2022

01 การตดิ เครอ่ื งหมาย ฉลาก และปา้ ย
บนรถขนส่งวตั ถุอนั ตราย

08 Biomass Energy / Biogas Energy
ต่างกนั อย่างไร ???

13 Cation Conductivity Monitoring for
Faster Start-ups – A NEW APPROACH

23 ภยั เงยี บจากไมโครพลาสติก

การติดเครอื่ งหมาย ฉลาก และป้าย บนรถขนส่งวตั ถุอันตราย

โดย วท.จฑุ ามาศ แหลง่ กรด
นกั วิทยาศาสตร์ ระดบั 7 แผนกบรหิ ารเคมภี ณั ฑ์

หลายท่านคงทราบถึงการจำแนกประเภท ตวั เลข ซงึ่ ประกอบกันเปน็ เครื่องหมาย ฉลาก และ
สารเคมีและการติดฉลากตามระบบ GHS รวมทั้ง ป้ายบงชี้ประเภทของวัตถุอันตราย ตามฉลากบงช้ี
กฎหมาย และข้อยกเว้นในการขนส่งวัตถุอันตราย วตั ถุอันตรายท้งั 9 ประเภท ดังน้ี
มาบ้างจากบทความฉบับก่อนหน้านี้ ดังน้ัน
ในบทความฉบับนี้จะกล่าวถึงรายละเอียด ประเภทท่ี 1 วัตถุระเบดิ
ในการตดิ เคร่ืองหมาย (Marking) ฉลาก (Labelling) สญั ลกั ษณ์ : ระเบิดทกี่ าํ ลังแตก สดี ำ
และป้าย (Placarding) บนรถขนส่งวัตถุอันตราย พื้น : สสี ม
ที่เราสามารถพบได้บนท้องถนนทุกวัน เช่น หมายเลข 1 มมุ ขา้ งล่าง
รถขนส่งน้ำมัน หรือรถขนส่งเคมีภัณฑ์ ตาม
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่อง การติดป้าย ประเภทที่ 2 ก๊าซ
อักษร ภาพและเครื่องหมายของรถบรรทุก 2.1 กา๊ ซไวไฟ
วัตถุอันตราย พ.ศ.2555 ซึ่งเป็นการปรับปรุง สญั ลักษณ์ : เปลวไฟ สขี าวหรือสีดำ
การติดป้ายและเครื่องหมายแสดงความเป็น พืน้ : สีแดง
อันตรายตามประเภทของวัตถุอันตรายใหม่ ให้ หมายเลข 2 มุมขา้ งล่าง
ส อ ด ค ล ้ อ ง ก ั บ ค ว า ม ต ก ล ง ว ่ า ด ้ ว ย ก า ร ข น ส่ ง
สินค้าอันตรายระหว่างประเทศทางถนนของ
คณะกรรมาธ ิ การเศรษฐก ิ จของย ุ โรปแห่ง
สหประชาชาติ (European Agreement Concerning
the International Carriage of Dangerous Goods
by Road : ADR)

การตดิ เคร่ืองหมาย ฉลาก และป้าย

ตามประกาศกรมการขนส่งทางบกฯ
กำหนดให้บนบรรจุภณั ฑ์และรถขนสงวัตถอุ ันตราย
จะต องมีข้อมูลแสดงความเป็นอันตรายและ
ป ร ะ เ ภ ท ห ร ื อ ป ร ะ เ ภ ท ย่ อ ย ข อ ง ว ั ต ถ ุ อ ั น ต ร า ย
เหล่านั้นใหชัดเจน โดยใช้สัญลักษณ์ภาพ สี และ

2.2 กา๊ ซอดั หรือกา๊ ซภายใตค้ วามดนั ประเภทท่ี 4 ของแขง็ ไวไฟ
สญั ลกั ษณ์ : หลอดก๊าซ สีขาวหรอื สีดำ 4.1 ของแข็งไวไฟ สารที่ทำปฏิกิริยาได้เอง
พืน้ : สีเขียว และของแข็งท่ถี กู ทำใหค้ วามไวตอ่ การระเบิดลดลง
หมายเลข 2 มมุ ขา้ งล่าง สญั ลักษณ์ : เปลวไฟ สดี ำ
พ้ืน : แถบสีขาวสลบั สีแดงทางยาว
2.3 ก๊าซพิษ แนวตัง้ จำนวน 7 แถบ
สญั ลกั ษณ์ : หวั กะโหลกไขว้ สีขาว หมายเลข 4 มุมขา้ งล่าง
พ้ืน : สีขาว
หมายเลข 2 มมุ ขา้ งล่าง 4.2 สารท่ีเสี่ยงตอ่ การลุกไหมไ้ ด้เอง
สัญลกั ษณ์ : เปลวไฟ สดี ำ
พื้น : คร่งึ บนสีขาว คร่ึงลา่ งสีแดง
หมายเลข 4 มมุ ขา้ งล่าง

ประเภทท่ี 3 ของเหลวไวไฟ 4.3 สารทสี่ ัมผัสกบั น้ำแล้วให้ก๊าซไวไฟ
สญั ลกั ษณ์ : เปลวไฟ สดี ำหรอื สีขาว สญั ลกั ษณ์ : เปลวไฟ สีดำหรือสีขาว
พื้น : สีแดง พื้น : สนี ำ้ เงนิ
หมายเลข 3 มมุ ขา้ งล่าง หมายเลข 4 มุมขา้ งล่าง

ประเภทที่ 5 สารออกซิไดส์และสารเปอร์ 6.2 สารตดิ เชอ้ื
ออกไซดอ์ นิ ทรีย์ สัญลักษณ์ : รปู จันทรเสี้ยว 3 อัน วางบน
วงกลม สีดำ
5.1 สารออกซไิ ดส์ พน้ื : สีขาว
สญั ลกั ษณ์ : เปลวไฟอย่เู หนอื วงกลม สดี ำ หมายเลข 6 มมุ ขา้ งล่าง
พ้ืน : สีเหลอื ง
หมายเลข 5.1 มมุ ขา้ งล่าง

5.2 สารเปอรอ์ อกไซด์อนิ ทรีย์ ประเภทท่ี 7 วสั ดกุ ัมมนั ตรงั สี
สัญลักษณ์ : เปลวไฟ สดี ำหรือสีขาว สญั ลกั ษณ์ : ใบพดั 3 แฉก สดี ำ
พืน้ : ครึ่งบนสีแดง ครึ่งล่างสเี หลอื ง พืน้ : ครึ่งบนสีเหลือง คร่งึ ลา่ งสีขาว
หมายเลข 5.2 มมุ ขา้ งล่าง หมายเลข 7 มุมขา้ งล่าง

ประเภทที่ 6 สารพิษและสารตดิ เชื้อ ประเภทท่ี 8 สารกดั กร่อน
6.1 สารพษิ สัญลกั ษณ์ : ของเหลวหยดจากหลอดแกว 2
สญั ลักษณ์ : หัวกะโหลกและกระดูกไขว้ สีดำ หลอด และกาํ ลงั กัดมอื และโลหะ สีดำ
พ้ืน : สีขาว พื้น : ครง่ึ บนสีขาว ครึ่งล่างสดี ำ
หมายเลข 6 มมุ ขา้ งล่าง หมายเลข 8 มุมขา้ งล่าง

ประเภทที่ 9 สารและส่งิ ของอันตราย สหประชาชาติ (UN number) ที่ด้านข้างและ
เบ็ดเตล็ด ด้านหน้าของหน่วยการขนส่งสินค้าอันตราย หรือ
รถขนสง่ วัตถุอนั ตราย ซง่ึ ประกอบดว้ ย
สัญลักษณ์ : แถบแนวตั้ง 7 แถบในครึ่งบน
สดี ำ 1. ป้ายแสดงความเป็นอันตรายของวัตถุ
อันตรายทบี่ รรทุก
พนื้ : สีขาว
หมายเลข 9 มุมขา้ งล่าง เป็นป้ายสี่เหลี่ยมจัตุรัส วางทำมุม
45 องศา กับแนวระนาบ มีความยาวด้านละ
ข้อความแสดงประเภทความเป็นอันตราย ไม่น้อยกว่า 250 มม. และมีเส้นขอบห่างจาก
บนป้ายแสดงความเป็นอันตรายจะมีหรือไม่ก็ได้ ขอบฉลาก 12.5 มม. ขนานกับขอบป้ายทั้ง 4 ด้าน
แต่หากมีต้องมีข้อความและตำแหน่งเป็นไปตาม โดยเส้นขอบครึ่งบนต้องมีสีเดียวกับสัญลักษณ์
ตัวอย่างที่แสดงไว้ข้างต้น และข้อความนั้นต้อง แสดงความเป็นอันตราย และเส้นขอบล่างต้องมี
มีขนาดเหมาะสมกับขนาดของป้าย ทั้งนี้เว้นแต่ สีเดียวกับข้อความและตัวเลขแสดงประเภท
ป้ายแสดงประเภทความเป็นอันตรายของ ความเป็นอันตราย ทั้งนี้ เว้นแต่ป้ายแสดงความ
วัตถุอันตรายประเภทที่ 7 ต้องมีข้อความแสดง เป็นอันตรายของวัตถุอันตรายประเภทที่ 7 (วัสดุ
ประเภทความเป็นอันตรายเป็นภาษาอังกฤษ หรือ กัมมันตรังสี) ให้มีเส้นขอบสีดำห่างจากขอบป้าย
อาจแทนข้อความแสดงประเภทความเปน็ อันตราย 5 มิลลิเมตร ขนานไปกับขอบป้ายทั้ง 4 ด้าน
ทีเ่ ป็นภาษาอังกฤษนัน้ ด้วยหมายเลขสหประชาชาติ สัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายมีขนาด
ของวัตถอุ ันตรายท่ีทำการขนส่งก็ได้ เหมาะสมกับขนาดของป้าย และตัวเลขแสดง
ประเภทความเป็นอันตรายที่มุมด้านล่างของแผ่น
การติดเครื่องหมายและป้ายบนรถขนส ง ป้าย มีความสงู ไม่น้อยกวา่ 25 มม.
วัตถอุ นั ตราย (Marking and Placarding)
จ า ก ต ั ว อ ย ่ า ง เ ป ็ น ป ้ า ย แ ส ด ง ค ว า ม เ ป็ น
สาระสำคัญของประกาศกรมกรมการขนส่ง อันตรายของวัตถุอันตราย (Placards) ประเภทที่
ทางบกฉบับน้ี กำหนดให้รถบรรทุกวัตถุอันตราย 3 (ของเหลวไวไฟ) และประเภทท่ี 8 (สารกัดกรอ่ น)
ที่มีปริมาตรหรือน้ำหนักของวัตถุอันตรายตามที่ เ ป ็ น ต ั ว อ ย ่ า ง ร ู ป ส ั ญ ล ั ก ษ ณ ์ ท ี ่ จ ะ ถ ู ก ต ิ ด ไ ว ้ กั บ
กำหนดในภาคผนวก ก ท้ายประกาศ ต้องติดป้าย รถบรรทุกวัตถุอันตราย โดยมีลักษณะเป็นป้าย
อักษร ภาพและเครื่องหมายให้เป็นไปตามที่กำหนด สเี่ หลี่ยมจัตรุ ัสวางทำมมุ 45 องศา กบั แนวระนาบ
ไว้โดยการตรวจสอบประเภทความเป็นอันตราย
และหมายเลขแสดงความเป็นอันตรายจากบัญชี
รายชื่อวัตถุอันตราย และป้ายแสดงความเสี่ยง
หมายเลขแสดงความเปน็ อนั ตราย และหมายเลข

มีความยาวด้านละไม่น้อยกว่า 250 มม. พร้อมกับ 3. เครื่องหมายสำหรับสารที่มีอุณหภูมิสูง
ข้อความและตัวเลขแสดงประเภทความเป็น ในกรณีที่บรรทุกวัตถุอันตรายประเภทที่ 9 (วัตถุ
อันตรายระบุไวด้ ้านใน อนั ตรายเบ็ดเตลด็ ) ทเ่ี ป็นของเหลวมีอุณหภูมิต้ังแต่
100 ºC ขึ้นไป หรือที่เป็นของแข็งมีอุณหภูมิ
2. ปา้ ยสสี ม้ ตั้งแต่ 240 ºC ขึ้นไป เป็นป้ายรูปสามเหลี่ยม
แบ่งเปน็ 2 แบบ ได้แก่ ด้านเท่า มีความยาวด้านละไม่น้อยกว่า 250 มม.
1) ป้ายสีส้มที่ไม่มีข้อความ เป็นป้าย มีสแี ละลักษณะดงั นี้

สี่เหลี่ยมพื้นสีส้มสะท้อนแสง มีความสูง 300 มม.
ความกว้าง 400 มม. มีเส้นขอบสีดำหนา 15 มม.
อาจมีเส้นแนวนอนสีดำหนา 15 มม. คั่นที่กึ่งกลาง
ของป้ายก็ได้ โดยให้ติดที่ด้านหน้าและด้านท้าย
ของรถขนสง

2) ป้ายสีส้มที่มีหมายเลขแสดงความ 4. เครื่องหมายสำหรับสารที่เป็นอันตราย
เป็นอันตราย (Hazard Identification Number ต่อสิ่งแวดล้อม ในกรณีบรรทุกวัตถุอันตราย
หรอื Kemler Code) และหมายเลขสหประชาชาติ ที่มีคุณสมบัติเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม เป็น
ของวัตถุอันตราย (UN Number) ต้องมีลักษณะ ป้ายรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสวางทำมุม 45 องศา กับ
และขนาดตามป้ายสีส้มที่ไม่มีข้อความ และมี แนวระนาบ มีความยาวด้านละไม่น้อยกว่า
เสน้ แนวนอนสดี ำหนา 15 มม. ค่นั ทก่ี ง่ึ กลางของป้าย 250 มม. มีสแี ละลกั ษณะดังน้ี

โดยส่วนบนของป้ายกำหนดเป็นหมายเลข การติดป้ายและเครื่องหมายของรถบรรทุก
แสดงความเป็นอันตราย (Hazard Identification วัตถุอันตราย ต้องติดในตำแหน่งที่ถูกต้องตามท่ี
Number) และส่วนล่างของป้ายกำหนดเป็น กำหนดและสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน และ
หมายเลขสหประชาชาติของวัตถุอันตราย ผู้ประกอบการขนสง่ อาจติดป้าย เครือ่ งหมาย หรือ
(UN Number) ซึ่งหมายเลขทีแ่ สดงตอ้ งเปน็ ตวั เลข ข้อความแสดงรายละเอียดอื่นเกี่ยวกับการบรรทุก
อารบิกสีดำ มีความสูง 100 มม. และมีความหนา วตั ถุอนั ตรายเป็นการเพมิ่ เติมด้วยก็ได้ เชน่ ช่ือท่ี
15 มม.

ถกู ตอ้ งในการขนส่ง หมายเลขโทรศพั ทก์ รณีฉุกเฉิน วัตถุอันตรายที่ทำการบรรทุกและต้องติดบนตัวรถ
ป้ายเตือนการรมยา เป็นตน้ ที่มีสีที่ตัดกันกับป้าย แต่ในกรณีตัวรถมีสีกลมกลืน
กับสีป้ายให้ใช้เส้นประหรือเส้นทึบสีดำรอบ
ส่วนการติดปา้ ยแสดงความเป็นอันตรายนนั้ ขอบป้ายแทนก็ได้ โดยให้ติดที่ด้านข้างทั้งสองข้าง
ต้องเป็นป้ายแสดงความเป็นอันตรายซึ่งตรงกับ และด้านทา้ ยของรถ

และกรณีรถมีส่วนบรรทุกหลายส่วนและมี
การขนส่งวัตถอุ ันตรายมากกวา่ หน่ึงประเภท ใหต้ ิด
ป้ายแสดงความเป็นอันตรายแต่ละประเภทที่
ด้านข้างของรถให้ตรงกับตำแหน่งการบรรทุกและ
ทดี่ ้านท้ายรถ

ตัวอย่างการตดิ ปา้ ยและเครอื่ งหมายบนรถขนสง่ วตั ถุอนั ตราย

สุดท้ายนี้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารอา้ งอิง
บทความวิชาการฉบับนี้ จะช่วยให้ท่านผู้อ่านมี
ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องหมาย ฉลาก 1. ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรอ่ื ง การติดป้ายอกั ษร
และป้ายต่างๆ ที่ติดอยู่บนรถขนส่งวัตถุอันตรายใน ภาพและเครื่องหมายของรถบรรทุกวัตถุอันตราย
เบื้องต้นเพิ่มมากขึ้น แล้วพบกันใหม่ในวารสาร พ.ศ.2555
Chem’s Talk ฉบบั หน้าค่ะ
2. คู่มอื การขนสง่ วตั ถอุ ันตราย โดยกรมควบคมุ มลพิษ

3. http://www.thailandindustry.com/

ผเู้ ขียนบทความ :
นางจุฑามาศ แหลง่ กรด
ตำแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ ระดับ 7
แผนกบรหิ ารเคมีภัณฑ์ กองเคมีภัณฑ์
ฝ่ายเคมี

Biomass Energy / Biogas Energy ต่างกันอย่างไร ???

โดย วท.ธันยบรู ณ์ ธญั ญโชติไพบูลย์
หัวหน้ากองเคมโี รงไฟฟา้ ฝ่ายเคมี

ทีม่ า เปิดรับซื้อไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงาน
ลมจะเริ่มในไตรมาสแรกของปี 2565 นี้ ส่วน
จากหัวข้อข่าว website : Energy News ปรมิ าณเท่าไหร่นน้ั ยังอยูร่ ะหว่างการพิจารณา”
Center วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา
เนื้อความข่าวที่เป็นใจความสำคัญและน่าสนใจไว้ ซึ่งที่ผ่านมานั้น ฝ่ายเคมี ได้มอบหมายให้
ว่า นักวิทยาศาสตร์ทำการศึกษา และรวบรวม
เร่อื งราวของพลงั งานทดแทนอย่างต่อเน่ือง จะเห็น
“กระทรวงพลังงาน กางแผนเปิดรับซื้อ ได้ว่า แนวโน้มของประเทศไทยเริ่มมุ่งสู่การผลิต
ไฟฟ้าพลังงานทดแทนปี 2565 รวมกว่า 1,000 เม ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเร็วกว่าแผนพัฒนาฯ ท่ี
กะวัตต์ ระบุไทม์ไลน์ไตรมาสแรกปี 2565 เปิด ได้กำหนดไว้ ซึ่งจากวารสาร ChemTalks ที่ผ่าน
โครงการรับซื้อไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และลม มา ได้มีการกล่าวถึง พลังงานชีวมวล (Biomass
ส่วนไตรมาส 3 เปิดรับซื้อไฟฟ้าจากขยะชุมชน Energy) และ พลงั งานขยะ เปน็ ท่เี รยี บร้อยแลว้
200 เมกะวัตต์ และโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนฯอีก แต่จากเน้ือข่าวเบ้ืองตน้ ได้มีการกล่าวถงึ
400 เมกะวัตต์ สำหรับโรงไฟฟ้าขยะอุตสาหกรรม
กำหนดเปดิ รับซอ้ื 200 เมกะวัตต์ แตย่ งั อยูร่ ะหว่าง พลังงานจากชวี มวล และ ก๊าซชีวภาพ ซง่ึ
พิจารณาช่วงเวลารับซื้อ เตรียมชง
คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) หลายท่านอาจมีความสงสัยว่า พลังงานจากชวี มวล
พิจารณาอนุมตั ติ ่อไป” และ กา๊ ซ ชวี ภาพ ต่างกันอยา่ งไร โดยในโอกาสนี้
ผเู้ ขยี นไดร้ อ้ ยเรยี งจากขอ้ มูลของหน่วยงานตา่ ง ๆ
“แหล่งข่าวกระทรวงพลังงาน เปิดเผยว่า มาสรุปเบอื้ งต้นดงั ตอ่ ไปน้ี
กระทรวงพลังงานอย่รู ะหว่างปรับแผนพัฒนากำลัง
ผลติ ไฟฟ้าระยะยาวของประเทศ พ.ศ. 2561-2580
หรือ PDP 2018 ฉบับปรบั ปรงุ คร้งั ที่ 1 โดยกำหนด
เปิดรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนมากขึ้น ท้ัง
พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานจากชีว
มวล และ ก๊าซชีวภาพ ทั้งนี้เบื้องต้นจะเปิด
โครงการรับซื้อไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และ
พลังงานลม จำนวน 2,000-3,000 เมกะวัตต์
ระหว่างปี 2565-2573 โดยโครงการแรกที่จะ

พลังงานจากชวี มวล (Biomass Energy) พลงั งานชวี ภาพ (Biogas Energy)

พลังงานชีวมวล (Biomass Energy) คือ พลงั งานชีวภาพ (Biogas Energy) คอื
พลังงานที่ผลิตได้จากการนำวัสดุชีวมวลหรือ พลังงานเช้อื เพลิงชนิดหนึ่งที่ได้จากกระบวนการ
สารอินทรีย์ทุกรูปแบบที่เปน็ แหล่งกักเก็บพลังงาน ยอ่ ยสลายวสั ดุทางชวี ภาพด้วยการอาศัย
จากธรรมชาติ เช่น ขยะอินทรีย์ เศษวัสดุเหลือท้ิง แบคทเี รียภายใต้สภาวะไร้ออกซเิ จน
จากการเกษตร กากจากกระบวนการผลิตทาง (Anaerobic Digestion) จนเกดิ เป็นก๊าซ
อุตสาหกรรม มูลสัตว์ พืชเชื้อเพลิง เช่น แกลบ ชีวภาพ (Biogas) ท่ีสามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้
ฟางขา้ ว ชานอ้อย ใบและยอดอ้อย ไม้ เศษไม้ เส้น 2 แนวทาง คือ เช้ือเพลงิ เพ่ือการผลิตไฟฟ้าและ
ใยและกะลาปาล์ม กากมันสำปะหลัง ซังข้าวโพด ความร้อน และเชอ้ื เพลิงเพ่ือการผลิตก๊าซหุงตม้
กาบและกะลามะพร้าว มาผ่านกระบวนการแปร และก๊าซเช้อื เพลงิ สำหรับเคร่ืองยนต์ เช่น LPG
รูป เช่น การหมัก (Fermentation) การเผา และ CNG
(Combustion) การผลิตก๊าซ (Gasification) หรือ
กรรมวิธีอื่น ๆ จนได้เป็นความร้อนหรือก๊าซเพ่ือ
นำไปใชป้ ระโยชนห์ รอื แปรรูปเปน็ พลังงานไฟฟ้า

กระบวนการแปรรูปชวี ภาพ กระบวนการแปรรูปอย่างงา่ ย

เริ่มจากการรวบรวมขยะอินทรีย์และ กระบวนการแปรรูปแบบปรับปรุงเพื่อเพ่ิม
มูลสัตว์มารวมกันไว้ในบ่อหมักที่เชื่อมต่อกับ ประสิทธิภาพ (รปู ด้านลา่ ง)
ถังพักกาก จากนั้นนำวัตถุชีวภาพมาย่อย
สลายภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจนด้วยการใช้ สรุปได้ว่า พลังงานชีวภาพถือเป็นรูปแบบหนึ่งของ
แบคทีเรีย ซึ่งถือเป็นกระบวนการที่เกิดข้ึน การผลิตพลังงานชีวมวล แต่พลังงานชีวภาพจะมี
เองตามธรรมชาติ โดยจะได้เป็นผลผลิต 2 การใช้วัตถุดิบและมีกระบวนการซับซ้อน
รูปแบบ คือ พลังงานความร้อนที่นำเข้าสู่ มากกว่าพลังงานชวี มวล
โรงไฟฟ้าเพื่อแปรรูปเป็นพลังงานไฟฟ้า และ
เชื้อเพลิงประเภทก๊าซ เพื่อผลิตก๊าซหุงต้ม
ก๊าซสำหรับรถยนต์ทั้ง CNG และ LPG ส่วน
ของเหลือที่ได้จากการหมัก สามารถนำไปทำ
เป็นปยุ๋ อนิ ทรยี ห์ รอื สารปรับปรงุ ดินได้

ความแตกต่างระหว่างพลังงานชีวภาพ พลงั งานชวี มวล

พลงั งานชีวภาพ พลังงานชีวมวล

รูปแบบของพลังงาน ก๊าซ กา๊ ซ ของเหลว ความร้อน
การผลิตพลังงาน
กระบวนการย่อยสลายแบบไร้อากาศ นำวสั ดุมาแปรรปู ดว้ ยการหมัก การเผา
วัสดุที่นำมาใช้ผลติ
(Anaerobic Digestion) การผลติ ก๊าซ หรือกระบวนการอ่ืน ๆ

การนำพืชเชื้อเพลิงและผลผลิตสินค้า เน้นไปที่การใช้พืชเชื้อเพลิงชนิดมีเส้นใย

เกษตร เช่น ต้นข้าวโพด หญ้าเนเปียร์ เ ช ่ น แ ก ล บ ฟ า ง ข ้ า ว ช า น อ ้ อ ย

และยังสามารถนำขยะอินทรีย์จาก กะลามะพร้าว และไม่นิยมใช้มูลสัตว์

ครัวเรือนและมูลสัตว์มาใช้ในการผลิต และของเสียจากครัวเรือนเหมือนการ

พลังงาน ผลติ พลงั งานชีวภาพ

ข้อดี-ขอ้ เสยี ของพลังงานชีวภาพ/ชวี มวล เทยี บกบั เชือเพลิง Fossil

ข้อดี ขอ้ เสยี

เทคโนโลยีและอปุ กรณท์ ่ใี ช้การผลติ ทมี่ ีคณุ ภาพสูงยงั

ผลิตไดจ้ ากวัตถดุ ิบทหี่ ลากหลายและสามารถนาไปใช้ มีต้นทุนคอ่ นขา้ งสงู ดยเ พาะพลงั งานชีวภาพท่ี

งานไดห้ ลากหลายรูปแบบ ตอ้ งการความถนัดทางด้านการบรหิ ารจัดการวัตถุดบิ

และการดูแลกระบวนการผลิต

เปน็ พลงั งานหมนุ เวยี นที่สามารถผลิตได้อย่างไม่ พลงั งานชีวมวลบางสว่ นยังก่อใหเ้ กิดกา๊ ซ

จากดั และไม่หมดไปเหมอื นพลังงาน Fossil คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละควันในการผลติ

ชว่ ยลดปรมิ าณขยะและขยะชวี ภาพที่เกดิ ขึน้ ใน จาเปน็ ตอ้ งใชพ้ นื้ ทีป่ ริมาณมากในการผลติ พลงั งาน
ครวั เรอื นและอุตสาหกรรม พรอ้ มช่วยลดการฝงกลบ รวมถึงจดั เกบ็ วตั ถดุ ิบจากพืชผลทางการเกษตร
ขยะ

เหมาะสาหรับประเทศเกษตรกรรม เน่อื งจากเป็น วัตถดุ ิบจากพชื ผลทางการเกษตรบางชนดิ มอี ายกุ าร
การเพิม่ มลู คา่ ให้กับของเหลอื ใช้ทางการเกษตรและ เกบ็ รักษาสัน้ และบางส่วนก็มีวงจรการผลติ ตาม
เพิม่ รายไดใ้ ห้กับเกษตรกร เปน็ การชว่ ยพฒั นา ดูกาล จึงอาจมีปริมาณไม่สมา่ เสมอในบางชว่ ง
เศรษ กิจ านราก

ผลผลิตที่เหลอื จากกระบวนการผลิตสามารถนาไป

ทาเปน็ ป๋ยุ และนา้ หมักอินทรยี ์ เพ่ือนากลบั ไปใชใ้ น พลงั งานชวี ภาพมกี ารจัดเก็บพลงั งานทีย่ ่งุ ยาก

เชิงเกษตรกรรมได้

เอกสารอา้ งอิง
1. https://www.energynewscenter.com/
2. https://www.nationalgeographic.org/
encyclopedia/biomass-energy/
3. https://www.uac.co.th/en/knowledge-
sharing/340/biomass-energy
4. https://www.bioexplorer.net/biomass-
energy-pros-cons.html/
5. https://globalinnovationpath.com/en/
biogas-powering-china/

ผเู้ รียงรอ้ ยบทความ

นางธันยบรู ณ์ ธญั ญ ชตไิ พบลู ย์
ตำแหน่ง หวั หนา้ กองเคมี รงไฟฟ้า
ฝ่ายเคมี

Cation Conductivity Monitoring for Faster Start-ups
- A NEW APPROACH

โดย วท.สุธิดา ป่นิ ชยั ศริ ิ
นกั วิทยาศาสตรร์ ะดับ 6 แผนกเคมเี ทคนคิ กองเคมีคณุ ภาพ ฝา่ ยเคมี

เนื่องจากในช่วงปี 1990 ก๊าซธรรมชาติมี ตัวอย่างน้ำ จึงต้องมีการออกแบบระบบเก็บ
ราคาค่อนข้างต่ำ โรงไฟฟ้าประเภท Combined ตัวอยา่ ง และตดิ ตามผลท่อี อกแบบมาอย่างดีควบคู่
cycle จึงถูกออกแบบให้สามารถรองรับ Base ไปกับ จำนว น ข อ ง พ นั กง า นข อ งโ รง ไ ฟ ฟ้ า
loaded ได้สูง และจากความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่ม Combined cycle เพื่อให้มีความคุ้มค่าทาง
มากขึ้น จึงส่งผลให้ราคาก๊าซธรรมชาติเพิ่มสูง เศรษฐกิจได้อยา่ งมาก
ขึ้นอยู่ที่ 15 ดอลลาร์ต่อล้าน BTU แต่ในปัจจุบัน
จากความผันผวนของความต้องการใช้ไฟฟ้า, ความคุ้มค่าของการใชเ้ ครอื่ งมือ Degassed
ฤดูกาล และความต้องการการใช้ไฟฟ้าที่ลดลงจาก Cation Conductivity
ภาวะเศรษฐกิจถดถอย จึงส่งผลให้โรงไฟฟ้า
จำเปน็ ต้องมีการ Start-up บ่อยครง้ั และได้รับแรง ความต้องการการใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
กดดันให้ลดเวลาการ Start-up เพื่อต้องการ จำเป็นต้องสร้างมีการสร้างโรงไฟฟ้า เพื่อ
ประหยัดต้นทุนค่าใช้จ่าย ในบางกรณีมีการ Start- ตอบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลงทรี่ วดเร็ว และความ
up และ Shut-down มากกว่า 250 ครั้งต่อปี ผันผวนจากพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงาน
ดังนั้นในบทความฉบับน้ีจึงได้ออกแบบให้โรงไฟฟา้ แสงอาทิตย์ และพลังงานลม OEM จึงได้ออกแบบ
แบบ Combined cycle สามารถลดเวลาการ โรงไฟฟ้าแบบ Combined cycle ที่สามารถเดิน
Start-up ได้มากถงึ 60% ระบบจ่ายไฟฟ้าได้ full load ในเวลาน้อยกว่า 30
นาที โดยที่จะไม่ทำให้ประสิทธิภาพหรืออายุการ
ด้วยต้นทุนเชื้อเพลิงท่ีเพิ่มสูงขึ้น ปัญหา ใช้งานของอปุ กรณเ์ สียหาย ด้วยเหตนุ ี้ OEM จงึ ได้
สิ่งแวดล้อม และผลกระทบทางเศรษฐกิจ ทำให้ เพิ่มอุปกรณ์ Degassed Conductivity เพื่อให้ได้
การลดเวลา Start-up จนกระท่ังเดินระบบจ่าย ไอน้ำที่มีความบริสุทธ์ิ เนื่องจากระหว่างการ
ไฟฟ้าได้ full load จึงมีความสำคัญมาก ซึ่ง Start-up จะพบคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ท่ีมี
พารามิเตอร์ที่สำคัญในการตรวจวัดสำหรับการ ความเข้มข้นสูง ทำให้ Cation Conductivity เพิ่ม
Start-up กังหันไอน้ำ คือ Cat Conductivity ซึ่ง มากขึ้น ซึ่ง CO2 ไม่ใช่สาเหตุหลักท่ีทำให้เกิดการ
เป็นพารามิเตอร์ที่เชื่อถือได้ มีความเหมาะสมกับ กัดกร่อนของกังหันไอน้ำ ดังนั้นค่า Cation
การใช้งานในพื้นท่ีโรงไฟฟ้า เพื่อให้ได้ค่าการ conductivity ที่พบต้องอยู่ภายในเกณฑ์กำหนด
วิเคราะห์ที่ถูกต้อง และสามารถใช้เป็นตัวแทนของ ของ OEM ซง่ึ เครอ่ื งวเิ คราะห์คา่ Degassed

Cation Conductivity ที่ออกแบบอย่างดี พร้อม ระบบเก็บตัวอย่างต้องสามารถรองรับ
ควบคุมจุดเดือดที่แม่นยำ สามารถกำจัด CO2 ได้ อุณหภูมิ และแรงดันของตัวอย่างได้หลากหลาย
มากถึง 90 – 95% และสามารถเดินระบบ full สำหรับท้งั น้ำและไอน้ำ ตวั แปรสำคญั ทต่ี ้องควบคุม
load ได้ คือ อุณหภูมิ ความดัน และความเร็วของตัวอย่าง
เช่น ตัวอย่างน้ำ Blowdown ท่ีมีอุณหภูมิสูง เพ่ือ
หากระบบมีการผลิต 500 เมกะวัตต์ ใน กำจัดออกไซด์ และสารแขวนลอยอื่นๆ ดังนั้นจึง
1 ชั่วโมง จะสร้างรายได้เพิ่ม 60,000 ดอลลาร์ อิง ควรทำให้น้ำตัวอย่างเย็นลงก่อนที่จะลดแรงดันลง
ตามราคาเฉล่ีย 120 ดอลาร์ตอ่ เมกะวัตต์ จากเวลา ดังน้ันจึงควรใชว้ าล์วควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติ เพื่อ
การ Start-up โดยเฉลี่ยของ OEM ในการลดค่า ป้องกันระบบ โดยทั่วไปจะใช้ตัวกรองเพื่อขจัด
Conductivity ดว้ ย Degassed Cat conductivity ออกไซด์ก่อนเข้าสู่เครื่องวิเคราะห์ หนึ่งใน
(DGCC) คือ 3 ชั่วโมง 22 นาที ส่งผลให้มีรายได้ ข้อกำหนดที่สำคัญของการออกแบบระบบเก็บ
เพิ่มเติม 202,000 ดอลลาร์ นอกจากน้ี DGCC ยัง ตัวอยา่ ง คือ การควบคุมอตั ราการไหลของตัวอย่าง
เป็นเครื่องมือที่ดีในการพิจารณา Cation Back Pressure Regulator ซึ่งจะช่วยควบคุม
Conductivity ที่สูงขึ้นเกิดจาก CO2 หรือตัวกัด อัตราการไหลของตัวอย่างในระดับคงท่ีไปยัง
กรอ่ นอ่ืนๆ เช่น Chloride ทำใหส้ ามารถลดโอกาส เคร่อื งมือวเิ คราะห์
เกดิ ปัญหา Corrosion ได้

ระบบ Sampling ตวั อย่างนำ้ และไอน้ำ
เพื่อให้แน่ใจว่าผลการวิเคราะห์รวดเร็ว

และถูกต้อง ระบบเก็บตัวอย่างต้องได้รับการ
ออกแบบอย่างเหมาะสม สามารถวัดค่าต่างๆ ได้
อย่างแม่นยำทั้งทางเคมี และกายภาพ กล่าวอีก
นัยหนึ่งคือ ระบบเก็บตัวอย่างน้ำ และไอน้ำที่
ออกแบบมาอย่างเหมาะสม จะช่วยรกั ษาคุณสมบตั ิ
ของตวั อย่าง เพอ่ื ใหเ้ ครื่องวิเคราะห์ (ออนไลน์หรือ
ห้องปฏิบัติการ) ได้อย่างถูกต้องและมีความ
นา่ เชอื่ ถือ

รปู ที่ 1 แสดงตวั อยา่ งระบบการเกบ็ ตวั อยา่ งท่ีออกแบบอย่างเหมาะสม

Start-up activity ตารางท่ี 2 แนวทางการควบคุมความบรสิ ุทธขิ์ อง
Cation conductivity หรือที่เรียกว่าค่า ไอน้ำของ Siemens
การนำไฟฟ้าของกรด ยังคงเป็นพารามิเตอร์สำคัญ
สำหรบั การ Start-up กังหนั ไอนำ้ โดยที่ AL1 ระดับการดำเนินการระดับ 1, AL2
ตารางที่ 1 แนวทางการควบคุมความบริสุทธิ์ของ ระดับการดำเนินการระดับ 2, AL3 ระดับการ
ไอน้ำสำหรับการบำบัดด้วยไอน้ำแบบ AVT ใน ดำเนินการระดับ 3, AL4 ระดับการดำเนินการ
อตุ สาหกรรม ระดับ 4
(1) เพือ่ หลกี เลยี่ งการลดประสิทธภิ าพและอายุการ
เป็นเรื่องปกติที่ OEM จะกำหนดแนวทาง ใช้งานของเครื่องจกั ร การ Start-up กังหันควรคุม
ปฏิบัติ เมื่อพารามิเตอร์เคมีที่ตรวจวัดมีค่าเกิน ให้ความบริสุทธิ์ของไอน้ำอยู่ภายใน AL2 หรือต่ำ
เกณฑ์ควบคุมในระหว่างการ Start-up หรือ กว่า
Commissioning (2) AL4: คุณภาพของไอน้ำไม่ดี อาจส่งผลให้เกิด
ความเสยี หายกังหันอยา่ งรุนแรง
(3) ระบบท่ีไม่ใช้ทองแดง ไม่จำเป็นต้องตรวจสอบ
ปริมาณทองแดง

(4) ไมจ่ ำเป็นต้องตรวจวัดปริมาณโซเดียมไม่จำเป็น การเตรยี ม Cation Resin
ถ้าไม่ใช้สารทำให้เป็นด่างที่เป็นของแข็ง (โซดาไฟ จากผลการทดลอง พบว่าซินใหม่ที่ได้รับ
หรอื ไตรโซเดยี มฟอสเฟต)
การล้างก่อนนำมาใช้งาน ให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่า
เคร่อื งมอื วดั สำหรบั การ Start-up ใชเ้ รซนิ ที่ไมไ่ ดล้ ้าง ในการลดค่า Conductivity ดัง
อาจต้องใช้เวลานานในการเตรียม รูปที่ 2

เครอื่ งมอื สำหรับการวิเคราะห์ตวั อยา่ งทถี่ ูกตอ้ ง ทำ รูปท่ี 2 แสดงให้เห็นประโยชน์ของการล้างเรซิ
ให้ระยะเวลาการ Start-up ค่อนข้างนานและ นล้างใหม่เทยี บกบั เรซินใหม่ที่ไมไ่ ด้ล้าง
ยืดเยอื้ ดังนั้นเพอ่ื ใหก้ าร Start-up ทำได้เรว็ ข้ึน จงึ Air Venting of Cation Exchanger
ควรทำการสอบเทียบเครื่องมือวิเคราะห์ด้วยน้ำ
ปราศจากแร่ธาตุ หรือน้ำคอนเดนเสทก่อนทุกคร้ัง นอกจากนี้อีกคุณสมบัติของการออกแบบ
เพอ่ื ให้แน่ใจ ท่ีจะช่วยให้การ Start-up รวดเร็วขึ้น คือ การเอา
ว่าเครื่องวิเคราะห์พร้อมสำหรับการใช้งาน ซึ่ง อากาศออกจาก Cation Exchanger เพื่อลด
ส่งผลต่อการลดเวลาการ Start-up เป็นอย่างมาก อิทธิพลของ CO2 ต่อ Cation Conductivity ซ่ึง
การออกแบบอุปกรณป์ ระกอบด้วย : การระบายอากาศแบบแมนนวลนั้นจำเป็นต้องใช้
แรงงานจำนวนมาก โดยพิจารณาจากจำนวนจุด
• Sample Availability ตรวจติดตาม พร้อมช่องระบายอากาศอตั โนมัติ รูป
- การออกแบบ sample line ทีเ่ หมาะสม ที่ 3 แสดงประโยชน์ของการระบายอากาศ
- อปุ กรณ์สามารถรองรับ high อัตโนมตั ขิ อง Cation Exchanger เพ่อื ขจัดอิทธพิ ล
temperature และ high pressure blowdown ของ CO2 ทม่ี ีต่อ Cation Conductivity
- ใช้เคร่ืองปรบั แรงดันย้อนกลับที่
เหมาะสม
• การออกแบบเคร่ืองมือวิเคราะห์
- ขนาดของตัวแลกเปลีย่ นไอออนบวก
- การใช้เรซินใหม่ ท่มี ีการล้างก่อน
- ติดตั้งช่องระบายอากาศอัตโนมัติ
• การหาค่าการนำไฟฟ้าจาก Anion ท่ีมี
ฤทธก์ิ ัดกรอ่ น
- ลดการมีส่วนร่วมของ CO2 ตอ่ Cation
Conductivity

รปู ที่ 3 อทิ ธพิ ลของการระบายอากาศของ Cation ซึ่งภายหลังได้มีการออกแบบใหม่ เพื่อให้
Exchanger มีประสิทธิภาพมากขึ้น คือ มีลักษณะเป็นขวดทรง
สั้น ตัวอย่างจะไหลขึ้นด้านบนด้วยการระบาย
Cation Exchanger Design Criteria or อากาศอัตโนมัติ
Dimensioning
เกณฑก์ ารออกแบบทีส่ ำคญั คอื
ก า ร อ อ ก แ บ บ Cation Exchanger มี • ตวั อย่างตอ้ งอยใู่ นเรซินท่ใี ช้งานไดน้ าน 24 วนิ าที
ความสำคัญต่อประสิทธิภาพของการแลกเปลี่ยน • ตัวอย่างไหลจากดา้ นบนลงส่ดู า้ นล่าง
ไอออน โดยแบบเดมิ มลี กั ษณะเป็นทอ่ ทรงกระบอก • มชี ่องระบายอากาศอัตโนมัติ
ยาว และแคบ ตัวอย่างเข้าสู่ท่อทางด้านบน และ • เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง/ ความสูง
ไหลลงด้านล่าง โดยไม่มอี ากาศเขา้ มารบกวน • การเชอ่ื มต่อ
• ช่วงการบำรุงรกั ษา
• สิ่งรบกวน เชน่ ความล่าชา้ และ/หรือการ
ปนเปอ้ื นของอากาศ
• ง่ายต่อการบำรุงรักษา

รูปท่ี 4 แสดงลักษณะท่วั ไปของตวั อยา่ งทไี่ หลผา่ นชัน้ ของเรซนิ

รปู ท่ี 5 แสดงเส้นทางการไหลของ Cation รูปที่ 6 แสดง Cation Exchanger ที่ได้รับการลา้ ง
Exchanger ก่อนใช้

เวลาเก็บรักษาใน Cation Exchanger ขอ้ มูลการ Start-up
ควรอยู่ในชั้นของเรซินเป็นเวลา 24 วินาทีหรือ OEM แต่ละรายมีข้อกำหนดเกี่ยวกับ
มากกว่านั้น ขวด Cation Exchanger มีปริมาตร
300 มล. ดังนั้นเวลาพักในชั้นเรซิน ที่อัตราไหล ความบริสุทธิ์ของไอน้ำ รวมถึงค่าเผื่อสำหรับการ
100 มล./นาที จะอยู่ที่ประมาณ 3 นาที ซึ่งเป็น เบี่ยงเบนจากเกณฑ์ควบคุม ในการทำงานปกติ
เวลาที่เพียงพอสำหรับการแลกเปลี่ยนไอออนท่ี สำหรับการ Start-up และ Commissioning คา่ ท่ี
เหมาะสม ดังรูปที่ 6 แสดงการหน่วงเวลาเมื่อฉีด สูงจากค่าปกติ อาจยอมรับได้ในช่วงเวลาสั้นๆ แต่
0.01M KCl 4 มล. เม่อื คา่ เบีย่ งเบนเพ่ิมมากข้ึน ระยะเวลาที่ยอมรับได้
อาจจะสั้นลง ซึ่งค่าเผื่อเหล่านี้จะขึ้นอยู่กับค่า
Cation Conductivity ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของค่า
Conductivity นั้นแท้จริงแล้วเกิดจาก CO2 หรือ
แร่ธาตุที่มีฤทธิ์กัดกร่อนอื่น เช่น Chloride,
Sulfate หรือกรดอินทรีย์ ค่า Conductivity ของ
ตัวอย่างจึงถูกกำหนดโดย algorithm ต่อไปนี้ ซึ่ง
เป็นคา่ การนำไฟฟา้ ทีเ่ ท่ากันของแตล่ ะชนิดคูณด้วย
ความเขม้ ขน้ ของแตล่ ะสายพันธุ์

รปู ท่ี 7 Lag time cation exchanger

ตารางที่ 3 แสดงชนิดของหมู่ฟังก์ช่ันท่เี อ้ือตอ่ การ อยู่ในเกณฑ์ควบคุมของ OEM ส่งผลให้ไอน้ำเข้าสู่
นำไฟฟ้า กังหันไอน้ำได้เร็วกว่า ระบบท่ีไม่มีการใช้
Degassed รูปที่ 8 แสดงเวลาตอบสนองของ
Degassed Cation Conductivity Degassed ก ั บ non-degassed ข อ ง Cation
OEM ส่วนใหญ่เน้นติดตามค่า Degassed Conductivity ในการทดสอบให้ของปฏิบัติการ
ค่า Cation Conductivity ของ Degassedลดลง
Conductivity ส ำ ห ร ั บ ก า ร Start-up แ ล ะ ถึงระดับที่ OEM กำหนดได้รวดเร็วกว่า Non-
Commissioning และได้ระบุค่าดังกล่าวให้เป็น Degassed
แนวทางการทำงานปกตดิ ้วย ดังนัน้ Conductivity
ท่ีเกิดขึ้นอาจเป็นผลมาจาก Anion ที่มีฤทธิ์กัด รูปที่ 8 แสดงผลของ Degassed conductivity
กร่อนมากกว่า เช่น Chloride หรือ Sulfate เทยี บกับ Cation Conductivity เมอ่ื มกี ารเติม
ซึ่งกระบวนการ Degassing ไม่สามารถกำจัด กรดอะซติ ิกในความเขม้ ขน้ สองระดับ
Anion หรือกรดอินทรีย์ได้ สำหรับวิธีทั่วไปในการ
กำจดั แกส๊ ในชว่ งการ Start-up ประกอบด้วย 3 วธิ ี ระบบตรวจสอบ Degassed
ดังน้ี Conductivity ที่ออกแบบมาอย่างดมี ีคุณสมบัติ
ดงั น้ี :
1. Nitrogen Sparging สามารถกำจัด
CO2 ได้ 70% 1. การวัดตาม ASTM D4519-94
2. Reboiler unit พร้อมระบบทำความ
2. Re-boiling สามารถกำจดั CO2 ได้ 28 รอ้ นและความเย็นทำจากสแตนเลส
– 58% และอาจกำจัดได้ถึง 90 - 95% หากใช้ 3. ตวั ควบคมุ อิเล็กทรอนิกส์ Degasser
ระบบที่ออกแบบมาอยา่ งดีในการควบคุมอณุ หภมู ิ สำหรับหมอ้ ต้มนำ้ ใหมท่ ี่มกี ารควบคุมแรงดนั ไอ
จดุ เดอื ดที่แมน่ ยำ 4. การวดั ความดันบรรยากาศสำหรับการ
ชดเชยจดุ เดอื ด หากอุณหภูมิ 0.3oC ตำ่ กวา่ จุด
3. Membrane สามารถกำจัด CO2 ได้ เดอื ดจรงิ ของการกำจัด CO2 ประสทิ ธิภาพลดลง
40 – 63% จาก 90% เปน็ 60%

การใช้ Degassed conductivity สำหรับ
การ Start-up สง่ ผลให้ค่า Conductivity ลดลง

5. การวดั และการแสดงคา่
Conductivity pH และแอมโมเนีย

6. ความเข้มข้น อุณหภูมติ วั อย่าง และ
การตดิ ตามการไหลของตวั อย่าง

7. การคำนวณปริมาณการใช้เรซนิ
8. การปิดอัตโนมตั ิของ reboiler
9. กำจัด CO2 ได้ 90-95% ได้อยา่ ง
สม่ำเสมอ

รปู ที่ 9 แสดงเวลาตอบสนองการทดสอบของ ประโยชน์ของ Degassed Cation
Degassed กบั Non-degassed ของ Cation Conductivity
Conductivity
ประโยชน์ของ Degassed Cation
รูปท่ี 10 เครอ่ื ง Degassed Conductivity Conductivity เมื่อเทียบกบั ค่า Cation
Monitor Conductivity ประกอบด้วย
1. กำจดั CO2
2. ลดเวลาการ Start-up
3. มรี ายไดท้ เี่ พม่ิ ขึ้น
4. ลดคา่ ใช้จา่ ยในการ Start-up

ตารางท่ี 4 แสดงการประหยดั เวลาระหวา่ ง Cold
Start-up และ Warm Start-up เมอื่ ใช้
Degassed Cation Conductivity เทยี บกบั
Cation หรอื Acid Conductivity

รูปที่ 11 เปรยี บเทียบค่า Degassed Cation การประหยัดเวลาสำหรับ Start-up และ
Conductivity และ Cation Conductivity ของ มรี ายได้เพ่ิมมากขึ้นจากการสง่ Steam เขา้ สูก่ ังหัน
HRSG แรงดันสามเท่า ท่ีควบคุม Cycle ดว้ ย ไอน้ำได้รวดเร็ว นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือที่ช่วย
แอมโมเนยี และคารโ์ บไฮดราไซด์ท่ีถกู เติมเฉพาะ แก้ปัญหาที่ดีในการพิจารณาว่าค่า Cation
ในระหวา่ งการ Start-up เทา่ นั้น Conductivity ที่เกิดขึ้นมาจาก CO2 หรือ Anion
ทีม่ ฤี ทธก์ิ ัดกร่อน เชน่ Chloride หรอื Sulfate
รปู ท่ี 12 เปรียบเทยี บข้อมูลการ Start-up HRSG
ของพารามเิ ตอร์ Degassed Cat Conductivity สรปุ
และ Cation Conductivity ก า ร ใ ช ้ ม า ต ร ก า ร ต ่ า ง ๆ เ พ ื ่ อ เ พ่ิ ม

ประสิทธิภาพของอุปกรณ์ รวมถึงการตรวจสอบ
คุณภาพน้ำอย่างต่อเนื่อง และการใช้เครื่อง
วิเคราะห์ที่ได้รับการออกแบบอย่างเหมาะสม
รวมถึงการติดตามเครื่องมือ Online จะช่วยส่ง
ผลตอบแทนที่คุ้มค่า ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำนวนการ
Start-up ในแต่ละปี ซง่ึ คา่ ใชจ้ ่ายในการบำรุงรกั ษา
ของอุปกรณ์เหล่าน้ีมีปริมาณน้อยมาก เมื่อเทียบ
กับประโยชน์จากการลดเวลาการ Start-up

เอกสารอ้างองิ 7. Siemens Steam Purity Guidelines,
1.Guidelines for Feed Water, Boiler Water Siemens STIM 11.002 Rev. 3 4-23-2008.
and Steam Quality for Power Plants, 2004. 8. Sentry Equipment Co., photo of
VGB PowerTech Service GmbH, Essen, reboiler.
Germany, VGB-R 450 Le. 9. Waters Equipment Co., photo of
2. Comprehensive Chemistry Guidelines nitrogen sparger.
for Fossil Plants, EPRI, December 2011. 10. Martek Instruments, photo of reboiler.
3. Volatile Treatments for the Steam- 11. Dr. Thiedig, photo of reboiler.
Water Circuits of Fossil and Combined 12. Swan Analytical Co., photo of
Cycle/HRSG degassed conductivity unit.
Power Plants, IAPWS, July 2010.
4. Steam Purity Requirements for Turbine
Operation, Alstom.
5. Toshiba Corporation, Toshiba Steam
Purity Specifications, Toshiba PCD-GMH-
XUSN4-0001 Rev. 6, 2008.
6. General Electric Co., GE Steam Purity
Recommendations for Utility Steam
Turbines, GEK72281E, 2011.

ผูเ้ ขยี นบทความ :
นางสาวสุธดิ า ปิน่ ชัยศิริ
ตำแหน่ง นักวทิ ยาศาสตร์ ระดับ 6
แผนกเคมเี ทคนิค
กองเคมีคณุ ภาพ ฝา่ ยเคมี

ภยั เงียบจากไมโครพลาสตกิ ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดผิวหน้า เครื่องสาอาง
หรอื ยาสฟี ัน
ขยะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมระดับชาติที่สาคัญ
และมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ในปี 2562 ภาพท่ี 1 ปริมาณขยะของประเทศไทยในปี 2562
ประเทศไทยมีปริมาณขยะที่เกิดขึ้นอยู่ประมาณ
28.7 ล้านตันต่อปี ถ้าเทียบปริมาณขยะต่อวันก็ ทีม่ า : https://www.tei.or.th/en/blog_detail.php?blog_id=77
ประมาณ 1.1 กก./คน โดยเฉพาะขยะประเภท
พลาสติกซึ่งมีสงู ถงึ กวา่ 2 ลา้ นตนั ตอ่ ปี มีเพียง 44% (Plastic scrub) ซึ่งมักเรียกกันว่า ไมโครบีดส์
ที่สามารถ Recycle ได้ 34% สามารถจัดการได้ (Microbeads) หรือเม็ดสครับ ไมโครพลาสติก
อย่างเหมาะสม และอีกถึง 22% ที่ยังไม่ได้ถูก ประเภทนี้สามารถแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อม
จัดการอย่างเหมาะสม จากปัญหาเหล่านี้นามาซ่ึง ทางทะเลจากการทิ้งของเสียโดยตรงจาก
ปัญหาใหม่คือพิษร้ายจากไมโครพลาสติก ที่กาลัง บา้ นเรอื นสู่แหลง่ น้าและไหลลงสทู่ ะเล
คุกคามต่อสุขภาพ ในบทความนี้จะเล่ารายละเอียด
จดุ กาเนดิ และผลกระทบจากไมโครพลาสติก ภาพท่ี 2 Primary microplastics เมด็ พลาสติกท่อี ยใู่ น
ผลิตภณั ฑย์ าสฟี ัน (Plastic scrub)
ไมโครพลาสติก คอื อะไร?
ไมโครพลาสติก (Microplastics) คือ อนุภาค ทมี่ า : https://www.thebangkokinsight.com/16056/

พลาสติกที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่า 5
มิลลิเมตร มักเกิดจากการย่อยสลายหรือแตกหัก
ของขยะพลาสติกขนาดใหญ่ หรือเกิดจากพลาสติก
ที่มีการสร้างให้มีขนาดเล็ก เพื่อให้เหมาะกับ
วัตถุประสงค์การใช้งาน ส่วนใหญ่มีรูปร่างทรงกลม
ทรงรี หรือบางครั้งมีรูปร่างไม่แน่นอน ไมโคร
พลาสติกสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดงั นี้
1. Primary microplastics เป็นพลาสติกที่ถูก

ผลิตให้มีขนาดเล็กมาตั้งแต่ต้น เพื่อการใช้
ประโยชน์เฉพาะด้าน เช่น เม็ดพลาสติกที่
นามาใช้เป็นวัสดุตั้งต้นของการผลิตผลิตภัณฑ์
พลาสติก (Plastic pellet) เม็ดพลาสติกที่อยู่ใน

ภาพที่ 3 การย่อยสลายของอนภุ าคพลาสตกิ (UV degradation) ซง่ึ กระบวนการเหล่าน้ีจะทา
ให้สารแต่งเติมในพลาสติกหลุดออก สง่ ผลให้
ทีม่ า :https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S0 โครงสรา้ งของพลาสตกิ เกิดการแตกตวั จนมี
025326X19302036 ขนาดเลก็ กลายเปน็ สารแขวนลอยปะปนอยู่ใน
แม่น้าและทะเล พลาสตกิ แตล่ ะชนดิ มปี จั จยั ใน
2. Secondary microplastics เปน็ พลาสตกิ ที่ การยอ่ ยสลายแตกตา่ งกนั เชน่ oxo-
เกดิ จากพลาสติกทมี่ ีขนาดใหญ่ หรอื มาโครพลา biodegradable plastic คอื พลาสติกท่ีแตกตัว
สติก (Macroplastic) ซ่งึ สะสมอยใู่ นสง่ิ แวดล้อม โดยอาศยั ปฏิกริ ิยาออกซิเดชันในอากาศ photo-
เป็นเวลานานเกดิ การย่อยสลายหรือแตกหัก โดย biodegradable plastic คอื พลาสตกิ ทแี่ ตกตวั
กระบวนการย่อยสลายพลาสตกิ ขนาดใหญใ่ ห้ เมื่อเจอแสง ultraviolate (UV) แตก่ ารย่อย
กลายเปน็ พลาสติกขนาดเล็กนสี้ ามารถเกดิ ไดท้ ้ัง สลายน้จี ะไม่เกิดขึ้นภายในบ่อฝังกลบขยะ หรือ
กระบวนการย่อยสลายทางกล (Mechanical ในพ้นื ที่มดื เนื่องจากไม่ไดร้ บั แสง UV ท่ที าให้
degradation) กระบวนการย่อยสลายทางเคมี เกดิ ปฏิกรยิ าการแตกตวั และ hydro-
(Chemical degradation) กระบวนการย่อย biodegradable plastic คอื พลาสติกทอี่ าศัย
สลายทางชีวภาพ (Biological degradation) ความช้ืนเปน็ ตัวแปรในการย่อยสลาย จากปจั จยั
และกระบวนการย่อยสลายดว้ ยแสงอาทิตย์ ดังกลา่ วที่กลา่ วมาทัง้ หมด ทาให้พลาสตกิ ที่มี
ขนาดใหญ่สามารถถูกย่อยสลายกลายเปน็ ไมโคร
พลาสติกและนาโนพลาสตกิ

ผลกระทบของไมโครพลาสตกิ ตอ่ มนุษย์
แม้องค์การอนามัยโลก (WHO) จะประกาศว่า

ไมโครพลาสติกที่รับเข้าสู่ร่างกายมนุษย์จะถูกขับ
ออกผ่านการขับถ่ายได้ ปัจจุบันยังไม่พบอันตราย
แต่ยังต้องการการศึกษาเพิ่มเติม หากไมโครพลาส
ติกถูกขับออกไม่หมดและมีระดับที่เล็กลง ก็อาจจะ
มีการคาดการณ์ไว้ว่าไมโครพลาสติกอาจส่งผลต่อ
มนุษย์ได้หลายประการในระยะยาว เช่น

ภาพที่ 3 พลาสตทิ ่ีผ่านกระบวนการย่อยสลาย

ที่มา :http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/
article/microplastics.pdf

• รบกวนฮอร์โมนในร่างกาย ไมโครพลาสติกมี ซับความเป็นพิษเอาไว้ ส่วนสัตว์เล็กในทะเลท่ี
สารที่เรียกว ่า Bisphenol A (BPA) เป็น กินไมโครพลาสติกเข้าไปก็จะรับสารพิษน้ัน
ส่วนประกอบของพลาสติก BPA อาจเข้าไป เอาไว้ด้วย เมื่อคนนามากินก็จะได้รับสารพิษ
รบกวนการทางานของต่อมไร้ท่อ มีผลกระทบ ตกค้างจากสตั วเ์ หล่านัน้ เช่นกนั
กับฮอร์โมนเอสโตรเจนที่คอยควบคุมการ
เจริญเติบโตของเนื้อเยื่อ และ BPA ยังอาจมี จะหลีกเลี่ยงไมโครพลาสตกิ ไดอ้ ย่างไร?
ส่วนทาให้ฮอร์โมนเพศชายมีการเปลี่ยนแปลง • ลดใช้ผลิตภัณฑ์จากพลาสติก ผลิตภัณฑ์
ได้ มีผลกระทบถึงการเสื่อมสมรรถภาพทาง
เพศชาย พลาสติกที่เป็นอาหารสาเร็จรูปอุ่นร้อน
สามารถทาให้ไมโครพลาสติกปกเปื้อนลงใน
• เด็กมีพัฒนาการลดลง สาร BPA มีผลกระทบ อาหารได้ นอกจากนี้ยังมีการพบไมโครพลา
ต่อพัฒนาการทางสมองของเด็กที่อายุน้อยกว่า สติกจากน้าดื่มที่มีจาหน่ายในไทยบางชนิดอีก
5 ปี ทาให้ความจาและระบบประสาทลดลง ด้วย แมจ้ ะไมใ่ ช่ปริมาณมากกต็ าม
• ลดใช้ผลิตภัณฑ์จากพลาสติก ผลิตภัณฑ์
• ขัดขวางการทางานของเส้นเลือด เนื่องจาก พลาสติกที่เป็นอาหารส าเร็จรูปอุ่นร้อน
หลายคนอาจรับเอาไมโครพลาสติกเข้าไป สามารถทาให้ไมโครพลาสติกปกเปื้อนลงใน
มากกว่า 1 หมื่นชิ้นต่อปี จากการกินอาหาร อาหารได้ นอกจากนี้ยังมีการพบไมโครพลา
ทะเลและดื่มน้าจากขวดพลาสติก ไมโครพลา สติกจากน้าดื่มที่มีจาหน่ายในไทยบางชนิดอีก
สติกซึ่งมีขนาดเล็กเท่าแบคทีเรียอาจเข้าสู่ ดว้ ย แม้จะไมใ่ ช่ปริมาณมากกต็ าม
กระแสเลือด และปิดกั้นทางเดินเลือดได้ใน • ไม่ทิ้งขยะลงในแหล่งน้า การกระทาเหล่าน้ี
ท่ีสุด ส่งผลกระทบทางอ้อมสู่ร่างกายของคนได้
ดังนั้นควรคัดแยกขยะพลาสติกเพื่อนาไปรี
• อาจเกิดโรคมะเร็ง หากไมโครพลาสติกฝังเข้า ไซเคลิ ใหม่อยา่ งถกู วิธี
กับเนือ้ เยอื่ ในร่างกาย อาจเป็นหนึ่งในสาเหตุท่ี
ทาให้เกดิ โรคมะเรง็ เพราะไมโครพลาสติกอาจ ขอ้ กาหนดปริมาณไมโครพลาสติก
ปล่อยพิษหรือโลหะหนักที่ติดจากสิ่งแวดล้อม สาหรับประเทศไทย ยังไม่ได้มีการกาหนด
เข้าสเู่ นอื้ เยอ่ื
มาตรฐานคณุ ภาพของอาหารและบรรจุภัณฑ์รวมถึง
• เป็นตัวกลางนาสารพิษ ซึ่งไมโครพลาสติกมี การกาหนดปริมาณการปนเปื้อนของ plasticizer
คุณสมบัติที่สามารถดูดซับ อุ้มน ้าได้ จึง ยกเว้น ในฟิล์มยืดห่อหุ้มอาหารที่ทาจากพลาสติก
สามารถเก็บเอาสารพิษบางประเภท เช่น PVC ซึ่งได้มีการกาหนดใน มอก. 1136-2536 โดย
สารพษิ ในยาฆา่ แมลง DDT ในน้า กล่าวคือเม่ือ ระบวุ า่ ห้ามใส่สาร Di(2-ethylhexyl) phthalate
ไมโครพลาสติกยิ่งอยู่ในทะเลนานก็จะยิ่งดูด

(DEHP) ลงไปในผลิตภัณฑ์ ในขณะที่กลุ่มประเทศ เราสามารถหลีกเลยี่ งไมโครพลาสติกได้จากการ
ยุโรป ได้มีการกาหนดบังคับใช้กฎหมายด้านวัสดุ หลีกเลี่ยงการใช้พลาสติกสัมผัสอาหาร และควร
และสิ่งของที่สัมผัสอาหาร (Food contact หลีกเลี่ยงการสร้างไมโครพลาสติกในธรรมชาติโดย
materials) เพื่อป้องกันสารอันตรายที่สามารหลุด การทิง้ พลาสตกิ ลงแหลง่ นา้
ลอกออกจากวัสดุสัมผัสอาหารเหล่านี้และสามารถ
เกิดการปนเปื้อนสู่อาหารได้ โดยสหภาพยุโรปได้ มาตรฐานที่ควบคุมสารประเภท Plasticizer
กาหนดค่า tolerable daily intake (TDI) ของสาร สาหรับที่ต้องสัมผัสกับอาหารของประเทศไทยยัง
ก ล ุ ่ ม พ ท า เ ล ท ท ั ้ ง 3 ช น ิ ด ไ ว ้ ด ั ง นี้ Di- ไม่ได้มีการควบคุมอย่างชัดเจนเมื่อเทียบกับกลุ่ม
isonylphthalate (DINP) มีคา่ TDI = 0.15 ประเทศในยุโรป
mg/kg/bw, Di-isodecylphthalate (DIDP) ม ี ค่ า
TDI = 0.15 mg/kg/bw แ ล ะ Di- (2-ethylhexyl) ท่ีมาของข้อมูล
phthalate (DEHP) มีค่า TDI = 0.05 mg/kg/bw 1) http://otop.dss.go.th/index.php/en/kno

บทสรุป wledge/interesting-articles/273-
ไมโครพลาสติกคือพลาสติดที่มีขาดเล็กกว่า 5 microplastics
2) https://marumothai.com/article/อันตราย
มิลลิเมตร ซึ่งอาจเกิดได้จากกระบวนการผลิตใน ของ-ไมโครพลาสติ/#ผลกระทบของไมโครพลา
อุตสาหกรรม หรือเกิดจากการย่อยสลายตัว สติกตอ่ มนุษย์
พลาสติกตามธรรมชาติ ถึงแม้ว่าจะยังไม่ยืนยัน 3) https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/know
ผลกระทบของไมโครพลาสตกิ ต่อมนษุ ย์อยา่ งชัดเจน ledge/article/565/ไมโครพลาสติก-นาโน
แต่ก็อาจมีผลต่อความผิดปกติของระบบต่างๆใน พลาสตกิ /
ร่างกายได้ 4) https://www.tei.or.th/en/blog_detail.php
?blog_id=77

ผเู้ ขยี นบทความ :
นายพรเทพ กฤตยเกษม
หัวหน้ากองเคมีวิเคราะห์
กองเคมีวเิ คราะห์
ฝ่ายเคมี


Click to View FlipBook Version