The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การนำวัตถุที่มีประจุเข้าใกล้วัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าจะทำให้เกิดประจุชนิดตรงข้ามบนด้านของตัวนำที่ใกล้วัตถุ วิธีทำให้เกิดประจุในลักษณะเช่นนี้ เรียกว่า การเหนี่ยวนำไฟฟ้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Somporn Laothongsarn, 2019-06-25 22:36:51

การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า

การนำวัตถุที่มีประจุเข้าใกล้วัตถุที่เป็นตัวนำไฟฟ้าจะทำให้เกิดประจุชนิดตรงข้ามบนด้านของตัวนำที่ใกล้วัตถุ วิธีทำให้เกิดประจุในลักษณะเช่นนี้ เรียกว่า การเหนี่ยวนำไฟฟ้า

Keywords: การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า

การทาให้วตั ถตุ ัวนาเกดิ ประจุไฟฟ้า

ครูสมพร เหลา่ ทองสาร

โรงเรียนดงบงั พิสยั นวการนสุ รณ์ สพม. เขต 26

1. การขดั ถู คอื การนาวตั ถตุ ่างชนดิ ทีเ่ หมาะสมมาถกู บั
อิเล็กตรอนในวัตถุทั้งสองมพี ลังงานสูงขนึ้ ทาใหเ้ ล็กตรอน จากวตั ถุ
หนง่ึ หลุดออกไปอยู่บนอกี วัตถหุ นง่ึ วตั ถุท่ีไดร้ ับอิเลก็ ตรอนเพ่มิ เขา้
ไปจะมปี ระจุลบ สว่ นวัตถทุ ม่ี เี สียอิเลก็ ตรอนไปจะมีประจุบวก เช่น
การถูแกว้ ด้วยผา้ ไหม พบวา่ แท่งแก้วจะเสียอเิ ล็กตรอนให้กบั ผา้
ไหม ทาให้แท่งแก้วมปี ระจบุ วก ส่วนผ้าไหมจะมีประจลุ บ

การถแู ท่งอาพนั ดว้ ยผา้ ขนสตั ว์ พบว่า ผ้าขนสตั ว์แก้วจะเสยี

อเิ ลก็ ตรอนให้กบั แทง่ อาพนั ทาให้ผา้ ขนสตั วม์ ีประจุบวก ส่วน
แท่งแกว้ จะมปี ระจลุ บ

2. การสัมผัส (แตะ) คือ การนาวตั ถทุ ี่มปี ระจุอิสระอย่แู ล้วมา

สมั ผัสกบั วตั ถุทเ่ี ดิมเปน็ กลาง จะทาให้วตั ถทุ ีเ่ ปน็ กลางน้ีมีประจุ
ไฟฟา้ อิสระ ดงั ขน้ั ตอนในรปู

ก. กอ่ นแตะ -- - - - +- +-
- - +-
A B +
+
--

พื้นฉนวน

2. การสมั ผสั (แตะ)

ข. ขณะแตะ -- - -- - +- +-
- +-
A B +
+
--

พื้นฉนวน

2. การสัมผสั (แตะ) - -- --
ค. หลังแตะ - -
B

พ้นื ฉนวน

เง่ือนไขของการทาให้เกดิ ประจุไฟฟา้ โดยการสัมผัส

1. ประจุไฟฟา้ อสิ ระที่ตวั นาไดร้ ับ จะเป็นประจุไฟฟา้ ชนดิ เดียวกนั
กับชนิดของประจุไฟฟ้าบนตวั นาทีน่ ามาสมั ผัสเสมอ

2. การถา่ ยเทประจเุ ป็นการถ่ายเทอเิ ลก็ ตรอนเท่าน้ัน และการถ่ายเท
จะส้นิ สดุ เม่อื ศักยไ์ ฟฟ้า(ระดบั ไฟฟ้า)บนวัตถทุ ีแ่ ตะกนั มีค่าเทา่ กัน

เงือ่ นไขของการทาให้เกดิ ประจุไฟฟา้ โดยการสัมผัส

3. ประจุไฟฟา้ อิสระบนตัวนาทั้งสองที่นามาแตะกนั ภายหลัง
การแตะจะมจี านวนเท่ากนั หรืออาจไมเ่ ท่ากันก็ได้ ทั้งนีจ้ ะ
ขน้ึ อยกู่ ับความจุไฟฟา้ ของตัวนาทง้ั สอง

4. ประจุไฟฟา้ รวมทั้งหมดบนตัวนาทง้ั สองภายหลงั การแตะ
จะมีจานวนเทา่ กับประจุไฟฟ้าทั้งหมดกอ่ นแตะกนั

3. การเหนีย่ วนาไฟฟา้ (Electric induction)

การนาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเข้าไปใกล้วัตถทุ ี่เป็นตัวนาไฟฟ้าจะทาใหเ้ กิด
ประจุชนดิ ตรงกันขา้ มบนตัวนาดา้ นท่อี ยใู่ กลว้ ัตถุ ดงั รูป เป็นการทาใหเ้ กดิ
ประจใุ นลกั ษณะเชน่ น้ีเรียกวา่ การเหนี่ยวนาไฟฟ้า

B ---B+ ++ --- - --
-
A

--

การสรา้ งประจโุ ดยวิธีเหน่ียวนามขี ้นั ตอนดังนี้

1. นาวตั ถุ A ทีม่ ปี ระจไุ ฟฟ้าอิสระ เช่น ประจุลบมาวางใกลๆ้ วัตถุตัวนา B
ท่ีเปน็ กลาง จะเหนย่ี วนาประจุบนวัตถุ B ดังรูป

B +++-B--

พืน้ ฉนวน

การสร้างประจุโดยวธิ ีเหน่ยี วนามีข้นั ตอนดังนี้

2. ใช้น้วิ (หรอื นาสายไฟที่ปลายหน่งึ ตอ่ กับพนื้ ดินเรยี กวา่ การต่อสายดิน) แตะท่ี
วตั ถุ B ดงั รูป

+++-B-- - ตอ่ สายดิน
--

พื้นฉนวน

การสรา้ งประจุโดยวธิ ีเหนยี่ วนามขี ้นั ตอนดงั นี้

3. จะทาให้ประจลุ บสว่ นท่ีอยู่ตรงข้ามกบั วตั ถทุ ่ีนามาเหนีย่ วนา ไหลลงไปตาม
สายดนิ ทาใหเ้ หลือเฉพาะประจุบวกซ่งี ดงึ ดูดอยูก่ ับวัตถุ A ดังรูป

+++B นาสายดินออก
พ้นื ฉนวน

การสร้างประจุโดยวธิ ีเหนย่ี วนามขี ้นั ตอนดังน้ี

4. ดึงน้ิวหรอื นาสายดินออก แลว้ นาวัตถุ A ออกหา่ ง วตั ถุ B จะมีประจไุ ฟฟ้า
บวก ซง่ึ เปน็ ชนิดตรงกนั ข้ามกบั ประจบุ นวัตถุ A ดังรูป

นาสายดนิ ออก นาวัตถุ A ออกหา่ ง
+++B
+ B+

+

พื้นฉนวน พืน้ ฉนวน

สรุป การสรา้ งประจโุ ดยวธิ เี หนี่ยวนา

1. การเหนีย่ วนาไฟฟา้ ทาใหว้ ัตถุตัวนาท่เี ปน็ กลางทางไฟฟ้า มีประจุไฟฟา้ อิสระ
ชนิดตรงกนั ข้ามกบั ประจไุ ฟฟา้ บนวตั ถุทีใ่ ช้เหนย่ี วนา

2. วตั ถทุ ใ่ี ช้เหนยี่ วนาไมส่ ูญเสียประจุไฟฟ้าเลย

รปู การสรา้ งประจุโดยวธิ เี หน่ยี วนา


Click to View FlipBook Version