The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัคซีนโควิดไฟเซอร์คืออะไร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nontiyaj, 2021-08-03 03:40:10

วัคซีนโควิดไฟเซอร์คืออะไร

วัคซีนโควิดไฟเซอร์คืออะไร

วคั ซีนโควดิ ไฟเซอร์
คืออะไร?

ข้อมูลจาก : HTTPS://HDMALL.CO.TH/C/COVID -
VACCINE-PFIZER

วคั ซีนโควดิ ไฟเซอร์ (Pfizer) มีชื่อทางการวา่ BNT162b2 เป็นวคั ซีนป้องกนั โรคโควดิ 19 ชนิด
mRNA ท่ีคิดคน้ โดยบริษทั ไฟเซอร์ (Pfizer) ร่วมกบั บริษทั สญั ชาติเยอรมนั ชื่อไอโบเอน็ เทค็ (BioNTech)
วคั ซีนชนิด mRNA เป็นการสังเคราะหส์ ารพนั ธุกรรมเลียนแบบเช้ือไวรัสข้ึนมา ดงั น้นั ในวคั ซีนจึงไม่ไดม้ ีอนุภาค
ของเช้ือไวรัส หรือแบคทีเรียท่ีตายแลว้ อยภู่ ายในเลย เมื่อ mRNA ถูกฉีดเขา้ ไปในร่างกาย จะกระตุน้ ใหเ้ กิดการ
สร้างโปรตีนส่วนหนาม (Spike protein) เหมือนกบั โคโรนาไวรัส ซ่ึงเป็นส่วนที่ทาใหเ้ กิดการติดเช้ือจนเป็น
โควดิ 19 เมื่อร่างกายเห็นโปรตีนส่วนหนามของไวรัสแลว้ จึงสามารถสร้างภูมิคุม้ กนั ไวส้ าหรับป้องกนั ไวรัสจริง

ท่ีจะเขา้ มาได้ วคั ซีนไฟเซอร์ไดร้ ับการอนุมตั ิใหใ้ ชใ้ นกรณีฉุกเฉินจากองคก์ ารอาหารและยาสหรัฐ (Food and
Drug Administration: FDA) เพอ่ื ป้องกนั โรคโควดิ 19 สาหรับผทู้ ี่อายุ 12 ปี ข้ึนไป ลา่ สุด 24 มิถุนายน
2564 สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) อนุมตั ิทะเบียนวคั ซีนวคั ซีนโควดิ ไฟเซอร์ (Pfizer) แลว้
นบั เป็นวคั ซีนโควดิ รายที่ 6 ท่ีผา่ นการอนุมตั ิจาก อย.

วัคซนี ไฟเซอร์ ประสทิ ธิภาพเป็ นอย่างไร?
หลงั จากฉีดวคั ซนี ไฟเซอรเ์ ข็มท่ี 2 แลว้ จะมีประสิทธิภาพในการปอ้ งกนั โรคโควิด 19 สงู ถงึ 91.3% ในชว่ ง 7

วนั ถงึ 6 เดอื นหลงั ฉีด นอกจากนีศ้ นู ยค์ วบคมุ และปอ้ งกนั โรคสหรฐั (Centers for Disease Control and
Prevention: CDC) กาหนดใหว้ คั ซีนไฟเซอรม์ ีประสทิ ธิภาพสงู ถงึ 100% ในการปอ้ งกนั ความรุนแรงของโรคท่ี
เกิดจากโควดิ 19 ในขณะท่อี งคก์ ารอาหารและยาของสหรฐั (Food and Drug Administration: FDA)
กาหนดใหป้ ระสทิ ธิภาพในการปอ้ งกนั อาการรุนแรงท่เี กิดจากโรคโควิด 19 ไวท้ ่ี 95.3% แตป่ ัจจบุ นั ยงั ไม่มีขอ้ มลู เพียง
พอท่จี ะยืนยนั วา่ หลงั จากรบั วคั ซนี ไฟเซอรแ์ ลว้ จะมีโอกาสแพรก่ ระจายเชือ้ สคู่ นอ่นื ไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด เพราะภายใน
10 วนั หลงั ฉีดวคั ซนี ไฟเซอรเ์ ข็มแรก อาจยงั สามารถแพรก่ ระจายเชือ้ ได้ เน่ืองจากรา่ งกายยงั ไมส่ ามารถสรา้ งแอนติ

บอดี้ (Antibodies) ไดเ้ ตม็ ท่ี ดงั นนั้ จงึ ควรปฎิบตั ิตามมาตรการดา้ นสาธารณสขุ ตอ่ ไป เช่น สวมหนา้ กากอนามยั
เม่ือออกไปท่สี าธารณะ เวน้ ระยะหา่ งจากบคุ คลอ่นื ลา้ งมือหลงั หยิบจบั ส่งิ ของ หลีกเล่ียงสถานท่ีท่มี ีคนเยอะ
หากจาเป็นตอ้ งเขา้ สถานท่ที ่มี ีผอู้ ่นื ควรเปิดหนา้ ตา่ งระบายอากาศเพ่ือลดการแพรก่ ระจายของเชือ้ อยา่ งไรก็ตาม
ประสิทธิภาพของวคั ซนี วดั จากการทดลองทางคลินิก ซง่ึ อาจมีการควบคมุ กลมุ่ ทดลอง แตใ่ นการนามาใชก้ บั ประชากร
จรงิ ประสทิ ธิภาพมีโอกาสท่จี ะต่ากวา่ ผลท่สี รุปในการทดลองเน่ืองจากหลายปัจจยั เช่น การกลายพนั ธขุ์ องไวรสั ใหม่ๆ
ท่ยี งั ไมไ่ ดใ้ ชใ้ นการทดลอง

วัคซนี โควดิ ไฟเซอรเ์ หมาะกับใคร?
วคั ซนี ไฟเซอร์ เหมาะกบั ผอู้ ยใู่ นเง่ือนไขดงั ตอ่ ไปนี้
•ผทู้ ่อี ายุ 16 ปีขนึ้ ไป
•ผทู้ ่อี ายเุ กิน 65 ปีขนึ้ ไป ควรปรกึ ษาแพทยก์ อ่ นรบั วคั ซีน
•ผทู้ ่ที างานดา้ นสาธารณสขุ และมีโอกาสสมั ผสั รบั เชอื้ มากกวา่ คนอ่นื
•ผทู้ ่มี ีโรคประจาตวั ท่ีอาจสง่ ผลใหอ้ าการรุนแรงหากตดิ เชอื้ โควิด 19 เชน่ ความดนั โลหิตสงู เบาหวาน โรค
หอบหดื โรคปอด โรคตบั โรคไต และโรคตดิ เชอื้ เรอื้ รงั อ่นื ๆ
•ผทู้ ่มี ีปัญหาเก่ียวกบั ระบบภมู ิคมุ้ กนั ควรไดร้ บั วคั ซีนหลงั จากปรกึ ษาแพทยผ์ ดู้ ูแลแลว้ เทา่ นน้ั

•ผปู้ ่วยติดเชอื้ HIV เพราะมีโอกาสเส่ยี งสงู แตค่ วรปรกึ ษาแพทยก์ ่อนรบั วคั ซีน
•ผทู้ ่เี คยติดโควิด 19 มาแลว้ อาจรบั วคั ซนี ไฟเซอรห์ ลงั จากติดโควิด 19 มาแลว้ อยา่ งนอ้ ย 6 เดือน
•สตรที ่กี าลงั อยรู่ ะหว่างใหน้ มบตุ ร โดยเฉพาะหากเป็นเจา้ หนา้ ท่ีหน่วยงานดา้ นสาธารณสุข ควรปรกึ ษา
แพทยก์ ่อนรบั วคั ซีน
•สตรมี ีครรภ์ อาจควรรบั วคั ซีนหากแพทยพ์ ิจารณาแลว้ ว่าประโยชนท์ ่จี ะไดร้ บั มีมากกว่าความเส่ียง เชน่
สตรมี ีครรภม์ ีโรคประจาตวั อ่ืนๆ ท่อี าจทาใหเ้ กิดอาการรุนแรงเม่ือติดโควิด

วัคซนี โควดิ ไฟเซอรไ์ ม่เหมาะกบั ใคร?

หากอยใู่ นเง่อื นไขดงั ตอ่ ไปนี้ ไมค่ วรรบั วคั ซีนไฟเซอร์ หรอื ควรปรกึ ษาแพทย์
ก่อนเสมอ
•ผทู้ ่มี อี ายนุ อ้ ยกวา่ 16 ปี เน่ืองจากวคั ซีนไฟเซอรท์ าการทดสอบกบั ผทู้ ่อี ายุ 16 ปี
ขนึ้ ไป องคก์ ารอนามยั โลกจงึ ยงั ไมแ่ นะนาใหผ้ ทู้ ่อี ายตุ ่ากว่า 16 ปีฉีดวคั ซีนไฟเซอร์
•ผทู้ ่มี อี าการแพ้ หรอื โรคภมู ิแพท้ งั้ แบบรุนแรง และไมร่ ุนแรง ตอ่ สว่ นผสมของ

mRNA ในวคั ซีนโควดิ -19 ไมค่ วรรบั วคั ซีนชนิดนี้
•ผทู้ ่มี ีอาการแพโ้ พลี เอธิลนี ไกคอล (Polyethylene glycol: PEG) และ
พอลิซอรเ์ บต (Polysorbate) เป็นสารชนิดหนง่ึ ท่ใี ชใ้ นเครอ่ื งสาอาง และยา
บางชนิด

ผลขา้ งเคียงท่วั ไปของวัคซนี ไฟเซอร์
ผลขา้ งเคียงทพ่ี บไดบ้ อ่ ย และไมร่ ุนแรงของวคั ซนี ไฟเซอร์ มดี งั นี้
•มไี ข้ หนาวส่นั
•ปวดศีรษะ
•ปวดกลา้ มเนือ้
•ออ่ นเพลยี
•ปวด บวม หรอื รอยแดงบรเิ วณทฉ่ี ีด
•คลน่ื ไส้
•อาเจียน
โดยผลขา้ งเคยี งเหลา่ นีอ้ าจเรม่ิ ใน 1-2 วนั หลงั จากรบั วคั ซนี จากกลมุ่ ทดลองพบวา่ ผลขา้ งเคียงเกิดขนึ้ หลงั จากฉีดเข็มที่ 2 และควรจะหายไปในไมก่ ่ีวนั

ผลขา้ งเคียงทพี่ บได้ยากของวคั ซนี ไฟเซอร์
ผลขา้ งเคียงที่พบไดย้ าก อาจมีดงั นี้
•เป็นลม
•เวยี นศีรษะ
•การมองเห็นผิดปกติ
•รูส้ กึ ชาตามรา่ งกาย
หากมอี าการดงั ท่กี ลา่ วมานีห้ ลงั จากฉีดวคั ซีนไฟเซอรค์ วรแจง้ เจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ ทนั ที นอกจากนีก้ ารหาทน่ี ่งั พกั หรอื นอนราบอาจชว่ ยใหอ้ าการบรรเทา
ลงได้

อาการแพว้ คั ซนี ไฟเซอร์
อาการแพว้ คั ซนี ไฟเซอร์ ถือเป็นภาวะเรง่ ดว่ นท่ีตอ้ งแจง้ เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ หรอื แพทยท์ นั ที อาจมีดงั นี้
•มีผ่ืนขนึ้ ตามตวั
•มีอาการคนั บวม ตามจดุ ตา่ งๆ โดยเฉพาะใบหนา้ ลิน้ และลาคอ
•เวียนศีรษะมาก
•หายใจลาบาก
อยา่ งไรกต็ าม อาการดงั กลา่ วอาจไมใ่ ชอ่ าการทงั้ หมดท่มี ีโอกาสเกิดได้ หากคณุ มีอาการอ่ืนๆ ท่ี
นอกเหนือจากดา้ นบน ควรตดิ ตอ่ เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ หรอื แพทยท์ นั ที


Click to View FlipBook Version