The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nontiyaj, 2021-10-07 03:22:48

แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง.1

พระราชดำรัสเศรษฐกิจพอเพยี ง หลักการ แนวคิด ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

“ขอให้ทุกคนมีความปรารถนา ที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกินมีความสงบ และ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี ๙ ทรงมพี ระราชดำรสั เรอ่ื ง "เศรษฐกิจ
ทำงาน ตั้งอธิษฐาน ตั้งปณิธานในทางนี้ ที่จะให้เมืองไทยอยู่แบบพอกนิ ไม่ใช่ พอเพียง" เมอื่ วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ ซงึ่ ตอ่ มาไดม้ ีการนำแนวความคิดไปปฏิบัติ
ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่มีความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับ กันหลายหน่วยงาน แต่คนส่วนมากมักเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของ
ประเทศอ่นื ๆ ถ้าเรารักษาความพออย่พู อกนิ น้ไี ด้ เรากจ็ ะยอดยิ่งยวดได้ ฉะน้ัน เกษตรกรเท่านั้น ซึ่งแท้จริงผู้ประกอบอาชีพอื่น ก็สามารถน้อมนำแนวพระราช
ถ้าทุกท่าน ซึ่งถือว่าเป็นผู้มีความคดิ และมีอิทธิพล มีพลังที่จะทำให้ผู้อ่ืน ซึ่งมี ดำรสั ไปประยุกต์ใช้ได้ท้งั สน้ิ
ความคิดเหมือนกนั ช่วยกนั รักษาส่วนรวม ให้อยดู่ ีกินดพี อสมควร ขอยำ้ พอควร
พออยู่ พอกิน มีความสงบไม่ให้คนอ่ืนมาแย่งคุณสมบัตินีจ้ ากเราไปได้ก็จะเป็น หลักสำคญั คอื ปรัชญา ๓ ห่วง 2 เง่ือนไข ประกอบด้วย หลกั ๓ ห่วง คือ
ของขวัญวันเกิดที่ถาวรที่จะมีคุณค่า อยู่ตลอดกาล” ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทีไ่ ม่น้อยเกนิ ไปและไมม่ ากเกินไป

พ ร ะ ร า ช ด ำ ร ัส พ ร ะ ร าช ดำ ร ั ส พ ร ะบ าท ส ม เด ็ จ พ ร ะเ จ ้ าอ ย ู่ หั ว ร ั ช ก า ล ที ่ ๙ โดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผู้อื่น
เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา วนั ท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒ ๒.ความมเี หตุผล หมายถงึ การตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั ความพอเพยี งนั้น ๆ จะตอ้ ง

“เพราะความพอเพยี งหมายถงึ การทีม่ ีความพอ คือ มคี วามโลภน้อย เมื่อมี เปน็ ไปอย่างมเี หตผุ ลโดยพิจารณาจากเหตปุ จั จยั ท่ีเกย่ี วข้องตลอดจนคำนงึ ถึงผลท่ี
ความโลภน้อยกเ็ บยี ดเบียนคนอ่ืนนอ้ ย ถ้าประเทศใดมีความคิดนี้ คนเราก็ คาดวา่ จะเกดิ ขึ้นจากการกระทำนั้น อย่างรอบคอบ
อาจจะเป็นสุข พอเพยี งนอ้ี าจจะมีมาก อาจจะมีความหรูหราได้ แต่ว่าตอ้ งไม่
เบียดเบยี นผู้อนื่ ” พระราชดำรสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ๓. การมีภูมคิ มุ้ กนั ทดี่ ใี นตัว หมายถงึ การเตรียมตัวใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและ
การเปลยี่ นแปลงต่างๆ ทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ โดยคำนึงถงึ ความเปน็ ไปได้
วนั ท่ี ๑๗ มกราคม ๒๕๔๔ หลกั ๒ เงอ่ื นไข คือ

๑. ความรู้ ประกอบดว้ ยความรอบร้ตู า่ งๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ งอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบทจ่ี ะนำความร้เู หล่านนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพอ่ื ประกอบการ
วางแผนไปสู่ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ (รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั )

๒. คุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มนุษย์นัน้ ไมม่ ีขีดจำกัด แต่ขณะเดียวกันทรัพยากรมีขีดจำกัด เมื่อไม่ประหยัด สิ่ง
ซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต เหล่านั้นก็จะหมดสิ้นไปในที่สุด การปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงจึงต้อง
(ซ่อื สตั ย์ สจุ ริต ขยนั อดทน แบ่งปนั ) หันมาแข้ไขที่ตนเองก่อน ให้รู้จักพอดี ไม่บริโภคเกินความพอดี หรือตกเป็นทาส
ของวัตถุ เมื่อเราปฏิบัติได้ดังข้อที่กล่าวมาแล้ว ก็จะพบแต่ความสุขใจได้ง่ายข้ึน
วัตถุประสงคห์ รือเปา้ หมายหลกั ของเศรษฐกิจพอเพยี งก็คอื ความสงบ และยังเป็นการลดการแก่งแย่งแข่งขัน การเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน การ
สขุ ของผู้คนในสงั คม ประชาชนมีกนิ มีใช้อย่างเพยี งพอแกค่ วามตอ้ งการ ท่สี ำคญั เบียดเบียนเพื่อนมนุษย์และสัตว์อื่น ตลอดถึงการเบียดเบียนธรรมชาติและ
ตอ้ งไมท่ ำตนและผู้อืน่ เดือนร้อน ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั หลักธรรมคำสอนทาง ส่งิ แวดล้อม ซ่ึงเป็นสาเหตขุ องการเกดิ ภยั ธรรมชาตติ ามมา.
พระพทุ ธศาสนาหลายประการ ดงั น้ี

๑. หลักธรรมการพึ่งพาตนเอง ( อตตฺ า หิ อตฺต โน นาโถ)
๒. หลกั ธรรมความรจู้ กั พอประมาณ (อตตฺ ญฺญุตา)
๓. หลักธรรมเรอ่ื งราวความสนั โดษ ( สนตฺ ุฏฺฐิ ปรมํ ธนํ)
๔. หลกั ธรรมความเป็นผรู้ ู้จักใช้เหตผุ ลในการดำเนินชีวิต (ธมมฺ ญญฺ ตุ า
อตฺถญญฺ ตุ า)
๕. หลักธรรมเร่ืองทางสายกลาง หรอื ความพอดี (มชฺฌมิ ปฏิปทา)
๖. หลักธรรมเรอ่ื งความไมโ่ ลภมาก (อโลภ)

กล่าวโดยสรุปแล้ว หลักเศรษฐศาสตร์ตามแนวพุทธ ที่มุ่งให้มนุษย์จำกดั
ความต้องการของตนเอง แทนการกระตุ้นตัญหาหรือความอยาก เพื่อให้เกิดการ
บริโภคมากขึ้น (บริโภคนิยม) เนื่องจากพระพุทธศาสนาเห็นว่าความต้องการของ


Click to View FlipBook Version