The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สถาปัตยกรรมอันงดงามในสมัยรัชการที่ 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nontiyaj, 2021-01-20 23:33:37

วัดบวรราชวรวิหาร ep 1

สถาปัตยกรรมอันงดงามในสมัยรัชการที่ 4

วดั บวรนิเวศราชวรวหิ าร
วดั งดงาม กลางกรุง
สมัยรัตนโกสิทร์

PostedonSeptember24,2018byinsidewatthaiinUncategorized

EP.1






เจา้ อาวาส องคท์ ี่ 3

สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

พ.ศ. 2435 - 2464



พระอโุ บสถ วดั บวรนิเวศ ราชวรวหิ าร ศิลปกรรมในเขตพุทธาวาสที่สาคญั เริ่มจากพระอุโบสถซ่ึงสร้างข้ึนต้งั แตส่ มยั รัชกาลที่ 3 แต่ไดร้ ับการบูรณะซ่อมแซม
ต่อมาอีกหลายคร้ัง รูปแบบของพระอุโบสถ ที่สร้างตามแบบ พระราชนิยมในสมยั รัชกาลท่ี 3 มีมุขหนา้ ยน่ื ออกมา เป็นพระอุโบสถและมีปี กยนื่ ออก ซา้ ยขวา เป็น
วิหารมุขหนา้ ที่เป็นพระอุโบสถมีเสาเหลี่ยมมีพาไลรอบซุม้ ประตูหนา้ ต่าง และ หนา้ บนั ประดบั ดว้ ยลายปูนป้ันพระอุโบสถวดั บวรนิเวศ หลงั น้ีไดร้ ับการบูรณะใน
สมยั รัชกาลที่ 4 โดยโปรดฯ ใหม้ ุงกระเบ้ืองเคลือบลูกฟกู ประดบั ลายหนา้ บนั ดว้ ยกระเบ้ืองเคลือบสี และโปรดฯใหข้ รัวอินโขง่ เขียนภาพจิตรกรรมฝาผนงั ภายใน

พระอุโบสถ ส่วนภายนอกไดร้ ับการบูรณะ บุผนงั ดว้ ยหินอ่อนท้งั หมด เสาดา้ นหนา้ เป็นเสาเหลื่ยมมีบวั หวั เสาเป็นลายฝร่ัง ซุม้ ประตูหนา้ ต่างปิ ดทองประดบั
กระจกดา้ นหนา้ มีใบเสมารุ่นเก่าสมยั อู่ทองทาดว้ ยหินทรายแดงนามาจากวดั วงั เก่า เพชรบุรี ส่วนใบเสมาอ่ืนทาแปลกคือติดไวก้ บั ผนงั พระอุโบสถแทน การต้งั ไว้

บนลานรอบพระอุโบสถ หลงั พระอุโบสถเป็นเจดียก์ ลมสมยั รัชกาลที่ 4 ต่อมาไดห้ ุม้ กระเบ้ืองสีทอง ในรัชกาลปัจจุบนั

พระพทุ ธชินสีห์(องคห์ นา้ ) – หลวงพ่อโต(องคห์ ลงั ) ~พระสุวรรณเขต หรือเรียกวา่ หลวงพ่อโต หรือ “หลวงพอ่ เพชร” คือพระประธานองคใ์ หญ่ ต้งั อยดู่ า้ นในสุด
ของ วดั บวรนิเวศ เป็นพระประธานองคแ์ รกของพระอุโบสถน้ี สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาศกั ดิพลเสพ อญั เชิญมาจากวดั สระตะพาน จงั หวดั เพชรบุรี เป็น
พระพุทธรูปโลหะ ลงรักปิ ดทอง ปางมารวิชยั ศิลปะอยธุ ยา หนา้ ตกั กวา้ ง 9 ศอก 21 นิ้ว พระยาชานิหตั ถการไดป้ ้ันพอกพระศกใหม้ ีขนาดดงั ท่ีเห็นในปัจจุบนั แลว้
ลงรักปิ ดทอง ดา้ นขา้ งพระพุทธรูปองคน์ ้ีมีพระอคั รสาวกปูนป้ันหนา้ ตกั 2 ศอก ขา้ งละ 1 องค์ พระพทุ ธชินสีห์ ประดิษฐานอยขู่ า้ งหนา้ พระพทุ ธสุวรรณเขต เป็น
พระพทุ ธรูปสาริดปางมารวิชยั ศิลปะสุโขทยั หนา้ ตกั กวา้ ง 5 ศอก 4 นิ้ว สองขา้ งพระพทุ ธชินสีห์มีรูปพระอคั รสาวกคู่หน่ึง สนั นิษฐานวา่ สมเดจ็ พระธรรมราชาลิ
ไทแห่งกรุงสุโขทยั โปรดใหส้ ร้างข้ึนในเวลาใกลเ้ คียงกนั กบั พระพทุ ธชินราช และพระศรีศาสดา เดิมประดิษฐานอยทู่ ี่พระวหิ ารดา้ นทิศเหนือของวดั พระศรีรัตนม
หาธาตุ จงั หวดั พิษณุโลก ต่อมาวหิ ารชารุดทรุดโทรมลง สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาศกั ดิพลเสพ จึงโปรดใหอ้ ญั เชิญมาประดิษฐานที่มุขหลงั ของพระอุโบสถ

จตั ุรมุข วดั บวรนิเวศวิหาร เม่ือพุทธศกั ราช 2374

พระวหิ ารพระศาสดา วดั บวรนิเวศ ราชวรวหิ าร ต้งั อยทู่ างทิศใตข้ องเขตพทุ ธาวาส ต่อจากพระเจดียแ์ ละวิหารเก๋ง พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรง
สร้างในพุทธศกั ราช 2402 เดิมท่ีน้ีเป็นคูและท่ีต้งั คณะลงั กา แต่โปรดใหถ้ มและร้ือเพื่อสร้างพระวิหาร พระวิหารหลงั น้ีมีขนาด 5 หอ้ ง มีเฉลียงรอบ ภายใน
แบ่งเป็น 2 ตอน คือทางทิศตะวนั ออก 3 หอ้ ง ประดิษฐานพระศาสดา ทิศตะวนั ตก 2 หอ้ ง ประดิษฐานพระพทุ ธไสยา หลงั คาซอ้ นช้นั 2 ช้นั หนา้ บนั รวยระกาไม่
มีลายอง ลวดลายหนา้ บนั เป็นปูนป้ันรูปดอกพดุ ตาน ตรงกลางเป็นรูปพระมหามงกฎุ ประดิษฐานบนพาน มีฉตั ร 2 ขา้ ง ซ่ึงเป็นพระบรมราชสญั ลกั ษณ์ประจา
รัชกาลที่ 4 หลงั คามุงกระเบ้ืองกาบกลว้ ย ซุม้ ประตูหนา้ ต่างดา้ นนอกเป็นลวดลายปูนป้ันรูปดอกพดุ ตานใบเทศปิ ดทอง ตรงกลางซุม้ ดา้ นบนทาเป็นรูปพระมหา
มงกฎุ มีฉตั รอยู่ 2 ขา้ งเช่นเดียวกบั หนา้ บนั การก่อสร้างวหิ ารพระศาสดาคา้ งมาจนถึงรัชกาลที่ 5 โปรดใหด้ าเนินการต่อ โปรดใหป้ ิ ดทองพระศาสดา พระพุทธ
ไสยาและซุม้ ประตูหนา้ ต่าง เขียนภาพจิตรกรรมท่ีบานประตู หนา้ ต่าง เพดานและผนงั

พระพทุ ธไสยา วดั บวรนิเวศ ราชวรวหิ าร เป็นพระพทุ ธรูปสาริดลงรักปิ ดทองปางไสยาสน์ สมยั สุโขทยั ยาวต้งั แต่พระบาทถึงพระจุฬา 6 ศอก 1 คืบ 5 นิ้ว สร้างข้ึน
ราว พทุ ธศกั ราช 1800 – 1893 เดิมประดิษฐาน ณ วดั พระพายหลวง จงั หวดั สุโขทยั ต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เม่ือคร้ังยงั ทรงผนวชอยู่ ไดเ้ สดจ็
ประพาสเมืองสุโขทยั เมื่อพุทธศกั ราช 2376 ทอดพระเนตรวา่ มีลกั ษณะงามกวา่ พระไสยาองคอ์ ่ืนๆ คร้ันเมื่อเสดจ็ ประทบั จาพรรษา ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร จึงได้
โปรดใหอ้ ญั เชิญมาประดิษฐานไวท้ ่ีมุขหลงั ของพระอุโบสถ เมื่อพทุ ธศกั ราช 2390 คร้ันสร้างวิหารพระศาสดาแลว้ จึงไดอ้ ญั เชิญมาประดิษฐานท่ีวหิ ารพระศาสดา
หอ้ งทิศตะวนั ตก ที่ฐานพระพทุ ธไสยาบรรจุพระอฐั ิของสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

จติ รกรรมฝาผนังวหิ ารพระศาสดา เป็นจิตรกรรมที่เขียนข้ึนในสมยั รัชกาลท่ี 5 จากรูปแบบของภาพจิตรกรรม
อาจกล่าวไดว้ า่ เป็นฝีมือลูกศิษยข์ องขรัวอินโข่ง เร่ืองราวในภาพจิตรกรรมฝาผนงั ภายในวหิ ารพระศาสดาแบง่
ออกเป็น 2 ส่วน คือ ภาพจิตรกรรมในหอ้ งพระศรีศาสดา และจิตกรรมใหห้ อ้ งพระไสยา

~จติ รกรรมฝาผนังนห้องพระไสยา วดั บวรนิเวศ ราชวรวหิ าร~เรื่องราวท่ีปรากฏในงานจิตรกรรมฝาผนงั ช่วงรัชกาลท่ี 4-5 ในสกลุ ช่างขรัวอินโข่งนิยมเขียนเรื่องที่
เป็นพงศาวดาร หรือปริศนาธรรม เป็นส่วนใหญ่ ในวิหารพระศาสดาน้ีกเ็ ป็นเร่ืองธุดงควตั ร 13 เป็นเร่ืองเก่ียวกบั ขอ้ ที่พระสงฆป์ วารณาตวั เพ่ือประพฤติปฏิบตั ิ
เพื่อกาจดั กิเลส เรื่องตานานการสร้างพระพุทธรูปที่สาคญั คือ พระพุทธชินสีห์ พระศรีศาสดา กเ็ ป็นเรื่องแสดงความยดึ มนั่ นบั ถือและศรัทธาใน
พระพทุ ธศาสนา ส่วนภาพจิตรกรรมในหอ้ งพระไสยาแมจ้ ะเป็นภาพเร่ือพทุ ธประวตั ิตอนปรินิพพาน แต่กม็ ีรูปแบบต่างไปจากภาพเขียนในอดีตท่ีมกั เขียนเป็น

ภาพเร่ืองราวต้งั แต่ทรงปรารภเรื่องปรินิพพานกบั พระอานนท์ การเดินทางไปเมืองกสุ ินารา การรับบิณฑบาตและฉนั อาหารม้ือสุดทา้ ยจากนายจุนนะ ทรง
อาพาธ สุภทั ธะปริพาชกบวชเป็นเอหิภิกขอุ ุปสมั ปทาเป็นรูปสุดทา้ ย และภาพตอนมหาปรินิพพานใตต้ น้ สาละ ส่วนจิตรกรรมในหอ้ งพระไสยาน้นั ใชพ้ ระไสยา

เป็นองคป์ ระกอบภาพแทนพระพทุ ธเจา้ ทรงปรินิพพานและเขียนภาพไมส้ าละคู่ และเหล่าพระสาวกซ่ึงเป็นรูปแบบการเขียนท่ีแปลกออกไปจากเดิม

พระเจดยี ์ใหญ่ วดั บวรนิเวศวหิ ารก่อพระฤกษเ์ มื่อเดือน 10 ข้ึน 11 ค่า ปี เถาะ ตรีศก จ.ศ.1193 (วนั เสาร์ที่ 17 กนั ยายน พทุ ธศกั ราช 2374)
ในสมยั รัชกาลท่ี 3 และใชเ้ วลาก่อสร้างต่อมาจนถึงสมยั รัชกาลที่ 4 องคพ์ ระเจดียม์ ีสณั ฐานกลม มีคูหาภายในเป็นที่ประดิษฐานพระบรม
สารีริกธาตุ มีทกั ษิณ 2 ช้นั เป็นสี่เหลี่ยม ท่ีองคพ์ ระเจดียม์ ีซุม้ เป็นทางเขา้ สู่คูหา 4 ซุม้ กลางคูหาพระเจดียป์ ระดิษฐานพระเจดียก์ าไหล่
ทองบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และมีพระเจดียอ์ งคป์ ระดิษฐานอยโู่ ดยรอบพระเจดียก์ าไหล่ทองอีก 4 องค์ คือ ดา้ นตะวนั ตก พระไพรี
พนิ าศเจดีย์ ดา้ นใต้ พระเจดียบ์ รมราชานุสรณ์พระชนมพรรษา 5 รอบ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช ดา้ นตะวนั ออก
เป็นพระเจดียไ์ มป้ ิ ดทอง ดา้ นตะวนั ตก พระเจดียโ์ ลหะปิ ดทอง

ตาหนักป้ันหยา เป็นตึกฝรั่ง 3 ช้นั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสร้างพระราชทานพระภิกษเุ จา้
ฟ้ามงกฏุ เม่ือทรง อาราธนาใหเ้ สดจ็ มาประทบั ท่ีวดั น้ี และประทบั อยทู่ ี่ตาหนกั ป้ันหยาตลอดเวลาผนวช ต่อมา
ตาหนกั น้ีไดเ้ ป็นที่ประทบั ของเจา้ นายหลายพระองคท์ ี่ผนวชและประทบั อยทู่ ่ีวดั น้ี รูปทรงของ ตาหนกั เป็นตึก
ก่ออิฐถือปูนหนา้ จวั่ ประดบั ดว้ ยกระเบ้ืองเคลือบอยซู่ า้ ยมือของกลมุ่ ตาหนกั ต่างๆ

ตาหนักจนั ทร์ เป็นตาหนกั ที่พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงสร้างดว้ ยทรัพยข์ องสมเดจ็ พระเจา้
ลกู เธอเจา้ ฟ้าจนั ทราสรัทธาวาส กรมขนุ พิจิตเจษฐฃฏาจนั ทร์ถวายเป็นท่ีประทบั ของสมเดจ็ พระมหาสมณ

เจา้ กรมพระวชิรญาณวโรรส ในบริเวณตาหนกั จนั ทร์ดา้ น ทิศตะวนั ออกติดกบั ร้ัวเหลก็ มีศาลาเลก็ ๆ มีพาไล 2
ดา้ น ฝาล่องถุนก่ออิฐถือปูนโถงเป็นเคร่ืองไม้ หลงั คามุงกระเบ้ือง ศาลาหลงั น้ีเดิมเป็นพลบั พลา ท่ี ประทบั ของ
สมเดจ็ พระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรง สร้างไวใ้ นสวนพระราชวงั

เดิม โปรดใหย้ า้ ยมาปลูกไว้ เมื่อ พ.ศ.2452ในกลุ่มพระตาหนกั น้ี

พระตาหนักเพช็ ร พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างพระ
ตาหนกั เพช็ ร ถวายเป็นทอ้ งพระโรงแด่สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เม่ือปี พทุ ธศกั ราช

2457 ที่ต้งั พระตาหนกั น้ี เคยเป็นท่ีต้งั โรงพมิ พท์ ่ีพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดใหส้ ร้างข้ึนเม่ือ
คร้ังทรงครองวดั น้ี สาหรับพมิ พบ์ ทสวดมนต์ และหนงั สือพทุ ธศาสนาอ่ืนๆแทนหนงั สือใบลาน โดยใชต้ วั พมิ พ์
เป็นอกั ษรอริยกะท่ีทรงประดิษฐข์ ้ึนใหม่

ที่มา
https://www.google.com/search?q=พระพทุ ธไสยา%C2%A0วดั
บวรนิเวศ+ราชวรวิหาร
https://insidewatthai.com/วดั บวร-นิเวศ-wat-bowon/

เรียบเรียงโดย หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอแม่ใจ


Click to View FlipBook Version