พุทธจติ วทิ ยาการเรียนรู้ สิกขา๓ ปัญญา๓ ธรรม๔
วัตถุประสงค์
๑.พทุ ธจิตวทิ ยาเป็นการศกึ ษา เพ่ือการเรยี นรู้ เพอื่ ความเขา้ ใจความหมายและความสาํ คญั
ตามหลกั พทุ ธศาสนา และตามหลกั จิตวิทยาตะวนั ตก เพ่ือนาํ มาบรู ณาการเป็นพทุ ธจิตวทิ ยา
๒.เพื่อวเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ พฒั นาการเรยี นรูต้ ามหลกั พทุ ธธรรม เพอ่ื นาํ มาใชใ้ หเ้ กิด
ประโยชนส์ ขุ ทงั้ ตอ่ ตนเอง และการดาํ รงชีวิตอยใู่ นสงั คมตามหลกั จิตวทิ ยาแนวพทุ ธ
๓.เพื่อเสนอรูปแบบพทุ ธจิตวทิ ยา และนาํ ไปพฒั นาตอ่ ยอดศกั ยภาพทม่ี ีอยใู่ นมนษุ ย์
ดว้ ยพทุ ธวิธี โดยใชห้ ลกั “ โยนิโสมนสกิ าร ”ตามหลกั พทุ ธธรรมทีส่ าํ คญั มากมายซง่ึ
ในทีน่ ไี้ ดน้ าํ มาเสนอตามบทท่วี า่ ดว้ ย พทุ ธจิตวทิ ยาการเรยี นรู:้ สกิ ขา๓ ปัญญา๓ และธรรม๔
พระราชปณิธาน
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
สถาปนาเม่อื ๑๓ กนั ยายน ปี พ.ศ. 2430
จากมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี 5
๑. เพ่ือศกึ ษาพระไตรปิฎก และวิชาชนั้ สงู (อดุ มศกึ ษา)ใหพ้ ระภิกษุ/สมาเณร/ฝ่ายคฤหสั
๒. เพือ่ จดั การศกึ ษาแบบบรู ณาการกบั ศาตรส์ มยั ใหมเ่ พ่ือพฒั นาจิตใจตนเองและคนใน
สงั คมเพ่อื ประโยชนส์ ขุ สว่ นรวม
บทนาํ
ความเป็ นมาของจติ วิทยาตะวันตก
จิตวิทยาถือกาํ เนิดจากประเทศตะวนั ตกเป็นศาสตรท์ างวชิ าการสมยั ใหมท่ ี่แยกตวั
ออกจากสาขาปรชั ญาเมอื่ 100 กวา่ ปี โดยถือเอาการสรา้ งหอ้ งทดลองใน ปี 1879
เมืองไลป์ ซปิ เยอรมนั ถือเป็นจดุ กาํ เนิดของศาสตรจ์ ิตวิทยาแหง่ แรก จนไดร้ บั
ฉายา “บิดาแหง่ จิตวิทยาการทดลอง”( Psychological Laboratory )วลิ เฮลม์ วนุ้ ด์
จดุ มงุ่ หมายศกึ ษากระบวนการทางจิตของมนษุ ยด์ ว้ ยวิธีทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีจะควบคมุ
เปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรม และพยายามเขา้ ใจเก่ียวกบั ธรรมชาติ
ของจิตใจมนษุ ยท์ ส่ี ง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรม เพื่อเขา้ แกป้ ัญหาตา่ งๆ
เฉพาะดา้ น เฉพาะสว่ น เชน่ การพฒั นาเรอื่ งพฤติกรรม
การฟื้นฟสู ขุ ภาพจิต สรา้ งแรงจงู ใจ การรกั ษาผปู้ ่ วย หรอื บาํ บดั จิต ฯลฯ
บทนาํ
ความเป็ นมาของจติ วทิ ยาตะวันตก
แนวคดิ จิตวิทยาตะวันตกแบ่งแยกเป็ นทฤษฎีต่างๆ
๑.กลมุ่ จิตวิเคราะห์ ( Psychoanalysis ) ซกิ มนั ดฟ์ รอยด์ เชื่อวา่ จิตไรส้ าํ นกึ
( Unconscious Mind ) เป็นตวั กาํ หนดพฤติกรรมของมนษุ ยม์ ีความแตกตา่ งกนั
๒.กลมุ่ พฤตกิ รรมนิยม ( Behaviorism ) ของ เอ็ดเวริ ด์ ลี ธอรน์ ไดท์ เช่ือวา่
พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกใหส้ งั เกตไดเ้ ป็นกระบวนการธรรมชาตขิ องมนษุ ย์
ในทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ชื่อมโยงระหวา่ งสง่ิ เรา้ กบั ปฏิกิรยิ าการตอบสนอง
๓.กลมุ่ ปัญญานยิ ม ( Cognitivism ) ของ เกลสต์ ลั ท์ เช่ือวา่ ปัญญาความคิด
ความรูส้ กึ มผี ลตอ่ ปัจจยั ภายในจิตใจตอ่ พฤตกิ รรมมนษุ ยม์ ากกวา่ จิตใจ
ภายนอกเพยี งอยา่ งดยี ว เช่น การรบั รู้ การหย่งั เหน็ การใชป้ ระสบการณ์
บทนาํ
ความเป็ นมาของจติ วทิ ยาตะวันตก
กลมุ่ จิตวิเคราะห์ ( Psychoanalysis ) ซกิ มนั ดฟ์ รอยด(์ 1856-1939)
จบแพทยศ์ าสตร์ ทก่ี รุงปารสี มชี ่ือเสยี งในนาม “บิดาแหง่ จิตวเิ คราะห”์
ชาวออสเตรยี เชื่อวา่ จิตไรส้ าํ นกึ ( Unconscious Mind )เป็นตวั กาํ หนด
พฤตกิ รรมของมนษุ ย์ เป็นสว่ นสาํ คญั ที่สดุ โดยเฉพาะพลงั ทางเพศจะสง่ ผล
ถงึ สตปิ ัญญา,พฤตกิ รรมความความกา้ วรา้ ว หรอื ความคบั ขอ้ งใจ/เก็บกด
โครงสรา้ งของจิตประกอบดว้ ย 3 สว่ น คอื Ig/ Ego/ Superego
1.จิตสาํ นกึ ภาวะท่จี ติ รูต้ วั เป็นการแสดงพฤตกิ รรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเป็นจรงิ และเป็น
บคุ ลกิ ทย่ี อมรบั ในสงั คม โดยอาศยั กฎทางสงั คม และความเหมาะสมกบั กาละเทศะ
2.จิตกอ่ นสาํ นกึ ภาวะจติ ที่เป็นมโนธรรม มไิ ดแ้ สดงออกเป็นพฤติกรรมแตส่ ามารถดงึ ออก
มาใชไ้ ด้ เม่ือตอ้ งการ ควบคมุ ความคดิ และการแสดงออก เชน่ ยงุ กดั
3.จิตใตส้ าํ นกึ ภาวะทจ่ี ิตระลกึ ไมไ่ ดเ้ ป็นความคดิ ความรูส้ กึ ท่เี ก็บกดเป็นสญั ชาตญิ าณดิบ
ทยี่ งั ไมไ่ ดข้ ดั เกลา เชน่ ความตอ้ งการ/ทางเพศ /อาหาร/เอาตวั รอด/กา้ วรา้ ว
บทนาํ
ความเป็ นมาของจติ วทิ ยาตะวันตก
กลมุ่ พฤตกิ รรมนยิ ม ( Behaviorism )
เอด็ เวิรด์ ลี ธอรน์ ไดท์ ( Thorndikes )เป็นชาวอเมรกิ นั ไดร้ บั
ฉายาวา่ เป็น “บิดาจิตวิทยาการศกึ ษา” โดยไดค้ ิดคน้ สรา้ งกลอ่ ง
เครอ่ื งกลเป็น ทฤษฎสี มั พนั ธเ์ ช่ือมโยง ระหวา่ งสง่ิ เรา้ กบั การ
ตอบสนอง โดยสรุปช่ือทฤษฎวี า่ “การลองผดิ ลองถกู ” ซง่ึ อยภู่ ายใต้ ( ปีค.ศ.1814-1949 )
กฎ การเรยี นรู้ 3 กฎ คือ
1) กฎแหง่ การพรอ้ ม การเรยี นรูจ้ ะเกิดขนึ้ ถา้ บคุ คลมคี วามพรอ้ มทงั้
รา่ งกายและจิตใจมคี วามสาํ คญั ตอ่ การเรยี นรู้ ทสี่ งั เกตเหน็ ได้
2) กฎแหง่ การฝึกหดั บคุ คลไดร้ บั การฝึกฝนกระทาํ ซา้ํ ๆอยเู่ สมอเพอื่
สรา้ งสมั พนั ธเ์ ชอื่ มโยงระหวา่ งสง่ิ เรา้ กบั การตอบสนอง เชน่ ผลลพั ธ์
3) กฎแหง่ การตอบสนอง พฤติกรรมใดก็ตามเมอ่ื แสดงการ
ตอบสนองแลว้ ไดร้ บั ความสขุ ความพงึ พอใจ รา่ งกายจะเลือก
พฤติกรรมนนั้ มาตอบสนองอกี ครงั้ เชน่ ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ ม/ไดค้ าํ ชม
บทนาํ
ความเป็ นมาของจติ วทิ ยาตะวันตก
กลมุ่ ปัญญานิยม ( Cognitivism ) เกลสต์ ลั ทโ์ ดย แมกซ์ เวอรไ์ ธเมอร์
เชอ่ื วา่ กระบวนการทางปัญญา ความคิด เขา้ ใจ การเรยี นรู้ การสะสมขอ้ มลู
การจาํ การดงึ มาใช้ การแกป้ ัญหาตา่ งๆ เป็นปัจจยั ภายในที่มีอิทธิพลใหผ้ เู้ รยี น
เกิดประสบการณม์ อง“ภาพรวม”ใหเ้ กิดกระบวนการทางความคิดแลว้ คอ่ ยยอ่ ยความรูใ้ หเ้ กิดการเรยี นรู้
1. การรบั รู้ ( Perception ) การแปลความต่อสง่ิ เรา้ โดยรบั สมั ผสั ทงั้ 5 ตา หู ฯลฯ สง่ สมั ผสั ไปสเู่ ซลล,์ สมองโดยอาศยั
ประสบการณก์ ารรบั รูใ้ นสง่ิ เดียวกนั อาจตา่ งกนั ไดข้ นึ้ อยปู่ ระสบการณผ์ ่านกระบวนการคิด มาสกู่ ารลงมอื ปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง
( learning by doing )เชน่ การคน้ ควา้ ทาํ รายงาน
2.การหย่งั เห็น( Insight ) โดยวลุ แ์ กงค์ โคหเ์ ลอร์ กลา่ วการเรียนรูเ้ ป็นประสบการณ์
เกิดจากการหย่งั เห็นโดยอาศยั ประสบการณเ์ ดิมมาแกป้ ัญหาทาํ ใหเ้ กิดความรูใ้ หม่
บทนาํ
ความเป็ นมาของจติ วิทยาตะวันตก
กลมุ่ ปัญญานยิ ม ( Cognitivism ) หรอื กลมุ่ พทุ ธินิยม อยใู่ นช่วง ค.ศ. (1956)
Bloom, B.J., เป็ นนกั จิตวิทยาการศึกษาชาวอเมริกนั เชื่อวา่ การเรียนการสอนจะประสบ
ความสาํ เร็จมีประสิทธิภาพน้นั ผสู้ อนจะตอ้ งกาํ หนดจุดม่งุ หมายให้ชดั เจน และแบง่ ประเภท
ของพฤติกรรมโดยอาศยั ทฤษฎีการเรียนรู้ของจิตวทิ ยาพ้นื ฐานวา่
มนุษยจ์ ะเกิดการเรียนรู้ใน 3 ดา้ น คือ
ดา้ นสติปัญญา ดา้ นร่างกาย และดา้ นจิตใจ และ
นาํ หลกั การน้ีจาํ แนกเป็ นจดุ มงุ่ หมายทางการศึกษา
เรียกวา่ Taxonomy Of Educational Objectives
เชือ่ มโยงกบั สมองในดา้ นการคิดทาํ ความเขา้ ใจอธิบายเน้ือหาวิชาที่ตอ้ งใชป้ ัญญา ซง่ึ พทุ ธิพิสยั เป็นหลกั การ
เรียนรู้ตอ้ งควบคมุ จาํ แนกหมวดหม่พู ฤติกรรมการเรียนรู้ในตวั ผเู้ รียน และความหมายให้ชดั เจนตรงกนั
บทนาํ
ความเป็ นมาของพทุ ธจติ วทิ ยาตะวันออก
จิตวทิ ยาตะวนั ตกจะวางรากฐานอยบู่ นการศกึ ษาทเ่ี ป็นวทิ ยาศาสตรแ์ ตย่ งั ไมม่ แี นวคดิ ใด
ทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั และสามารถอธิบายเรอ่ื งของจิตใจมนษุ ยไ์ ดล้ ะเอยี ดลกึ ซงึ้ เลย ดว้ ยเหตนุ กี้ าร
เขา้ ใจถงึ สภาวะทางจิต และพฤติกรรมของมนษุ ยจ์ ึงจาํ เป็นตอ้ งศกึ ษาอยา่ งละเอยี ดลกึ ซงึ้
ครอบคลมุ ทงั้ ทฤษฎแี นวคิด สต-ิ ปัญญา และการปฏิบตั ิ ตงั้ แตต่ น้ ทางถึงปลายทางของชีวิตได้
พทุ ธจิตวิทยา“ศกึ ษาแบบองคร์ วม”ท่ีมองเรอื่ งจิตใจ และพฤติกรรมของมนษุ ต์ ลอดจน
พนื้ ฐานความตอ้ งการของมนษุ ย์ มใิ ชเ่ กิดมาจากสาเหตใุ ดสาเหตเุ ดยี ว แตม่ องสงิ่ รอบตวั เป็น
เหตปุ ัจจยั สง่ ผลเกือ้ หนนุ และมีความสมั พนั ธ์ เกี่ยวกบั ธรรมชาตขิ องสภาวะทางจิต และ
พฤติกรรมของมนษุ ยไ์ วอ้ ยา่ งละเอยี ดไวอ้ ยา่ งลกึ ซงึ้ และชดั เจน
จิตวิทยาสจู่ ิตภาวนา โดย สมเดจ็ พระพฒุ โฆศาจารย์ (ป.อ.ปยตุ โต)
บทนาํ
ความเป็ นมาของพุทธจติ วทิ ยาตะวันออก
แกน่ คาํ สอนของพทุ ธศาสนาเป็น “ อกาลโิ ก ” ทมี่ งุ่ เนน้ แกป้ ัญหาตงั้ แตจ่ ิตใจจนถึง
ระดบั ปัญญา ทว่ี า่ ดว้ ยเรอ่ื งทกุ ข์ เหตแุ หง่ ทกุ ข์ แนวทางและวธิ ีการดบั ทกุ ข์ ไวใ้ นพทุ ธธรรม
อยา่ งละเอียด ตามหลกั ฐานใน “พระไตรปิฎก” ๘๔๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์
“ พทุ ธธรรม ” เป็นธรรมทพี่ ระพทุ ธเจา้ ไดท้ รงทาํ ความเพียรวริ ยิ ะอตุ สาหะ
จนได้ “ ตรสั รู้ ” คน้ พบความจรงิ อนั ประเสรฐิ สงู สดุ คอื “อรยิ ะสจั ๔”
ดว้ ยพระสมั มาปัญญา เพื่อชว่ ยเหลอื เวไนยสตั ว์ ใหข้ า้ มพน้ วฏั ฏะสงสารแหง่ นี้
จดุ มงุ่ หมาย ชว่ ยเหลอื เยียวยา และยกระดบั ,พฒั นาจิตใจของมนษุ ย์
จิตวทิ ยา กบั พระพทุ ธศาสนาก็สามารถมาบรรจบกนั กลายเป็น
“พทุ ธจิตวทิ ยา” ( Buddhist Psychology )
บทท๑่ี
ความหมายของพุทธจติ วทิ ยา
พทุ ธ+จิต+วทิ ยา พทุ ธะ แปลวา่ รู้ ตน่ื เบิกบาน คอื รูต้ ามหลกั แห่งพทุ ธธรรม รูใ้ นแก่นแท้
ของพทุ ธศาสนา คอื อรยิ สจั ซงึ่ เนน้ การใชส้ ติปัญญาในการแกท้ กุ ขป์ ัญหาตงั้ แตข่ นั้ ต่าํ
ขนั้ กลาง ขนั้ ละเอยี ด หรอื ขนั้ สงู สดุ
จิต ( Consciousness ) คอื ธรรมชาติที่รบั รูอ้ ารมณ์
วทิ ยา ( Logos ) หมายถึง วิชาวา่ ดว้ ยความรูห้ รอื การศกึ ษา
ปรชั ญามหาวทิ ยาลยั ฯ เป็นศนู ยก์ ลางการศกึ ษาพทุ ธศาสนาระดบั โลก
พระพรหมบณั ฑิต จดั การศกึ ษาพทุ ธศาสนาบรู ณาการกบั ศาสตรส์ มยั ใหมเ่ ป็นการศกึ ษา
องคร์ วมอย่างเป็นระบบเชื่อมโยงพทุ ธธรรม เพื่อไปพฒั นาจิตตนเอง และพฒั นาจิตใจคนอื่น
ในสงั คมไมว่ า่ จะเรยี นสาขาไหนตอ้ งมาบรู ณากบั พทุ ธศาสตร์
“ พทุ ธธรรม+จิตวิทยา ” ( Buddhist Psychology )
บทท๑่ี
ความหมายของพุทธจติ วทิ ยา
พทุ ธจิตวทิ ยา คอื ความเขา้ ใจเบอื้ งตน้ ในหลกั ความจรงิ ทีเ่ ป็นกลางตามธรรมชาติ
ท่ีวา่ ดว้ ยชีวติ ความเป็นไปของชีวติ ระบบและการพฒั นามนษุ ยท์ ี่ใชห้ ลกั การศกึ ษา
“ไตรสกิ ขา” คือ ศลี สมาธิ ปัญญา ซง่ึ พทุ ธจิตวทิ ยา เป็นวิธีที่ดีทส่ี ดุ ทต่ี อบโจทยม์ นษุ ยท์ กุ คน
อยา่ งครอบคลมุ ทงั้ ภายใน/ภายนอก/ รูปธรรม/นามธรรม
( มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณร์ าชวิทยาลยั ๒๕๔๐ )
ความหมาย และสาระสาํ คญั ของพทุ ธจิตวทิ ยา วา่ ดว้ ย
เรอื่ งจิต และพฤติกรรม กาย/ ใจ หรอื รูป/นาม ท่ตี อ้ งศกึ ษาตาม
หลกั ธรรม และแนวการปฏิบตั เิ พอ่ื การดาํ รงชีวิตอยา่ งสงบสขุ
ดว้ ยการฝึกฝนพฒั นาตนเอง ตามหลกั “ แนวพทุ ธรรม ”
บทท๒่ี
แนวคดิ สาํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยา
พทุ ธจิตวทิ ยา นาํ แกน่ ของพทุ ธธรรมอนั เป็นแหลง่ ความรู้
อริยสจั ,ปฏิจจสมปุ บาท,ไตรลกั ษณ,์ มาผสมผสานกบั กระบวนการทางจิตวิทยา
เป็นองคค์ วามรู้ วิเคราะหจ์ ิตใจมนษุ ย์ เพอื่ ใหม้ นษุ ยใ์ ชเ้ ป็นหลกั ดาํ เนินชีวติ
พระธรรมปิฎก ไดก้ ลา่ วถึงคณุ คา่ ของอรยิ สจั ไวว้ า่
เป็นคาํ สอนทีค่ รอบคลมุ หลกั ธรรมทงั้ หมดในพระพทุ ธศาสนา
ทงั้ ภาคปรยิ ตั ิ ภาคปฏิบตั ิ และ ปฏเิ วธ ซง่ึ เป็นองคค์ วามรูท้ สี่ าํ คญั หลายประการ
๑. วธิ ีการแหง่ ปัญญา,วิธีแหง่ ปรชั ญา และแกไ้ ขปัญหาตามแหง่ เหตผุ ล/หลกั ดาํ เนินชีวติ
๒. การแกป้ ัญหา โดยนาํ หลกั ความจรงิ ทม่ี ตี ามธรรมชาตมิ าใชป้ ระโยชน์
๓. หลกั ความจรงิ ชีวิตทกุ คนทไ่ี ปเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธก์ บั สง่ิ ทต่ี า่ งๆ
๔. หลกั ความจรงิ กลางๆ ท่ีตดิ เนือ่ งอยกู่ บั ชีวิต ไมว่ า่ มนษุ ยจ์ ะสรา้ งสรรค์
ศลิ ปะ วิทยาการใดๆขนึ้ มาเพ่อื แกป้ ัญหา หรอื พฒั นาทงั้ กาย/ใจ/ปัญญา
บทท๒่ี
แนวคดิ สาํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยา
พระพทุ ธองคท์ รงคาํ นงึ ธรรมที่พระองคต์ รสั รูน้ ีล้ กึ ซงึ้ มาก
ยากทผี่ อู้ นื่ จะรูต้ าม ไดท้ รงพจิ ารณาโดยพระญาณกอ่ นวา่
เวไนยสตั วน์ นั้ ที่จาํ แนกเหลา่ ท่ีจะรองรบั พระสทั ธรรมไดเ้ พียงใด
จาํ นวนเทา่ ใด มีอยู่ ๔ จาํ พวก เปรยี บไดด้ งั ดอกบวั สเ่ี หลา่
อนั หมายถึง ปัญญา วาสนา บารมี และอปุ นสิ ยั ทส่ี รา้ งสมมาแตอ่ ดตี ของบคุ คล
ซง่ึ บวั ๔ เหลา่ คอื
๑.อคุ ฆฏติ ญั �ู บวั ทพี่ น้ นา้ํ เป็นผมู้ ีปัญญามาก ความรูม้ าก มสี มั มาทฐิ ิ/รอแสงพรอ้ มจะบาน
๒.วิปจิตตญั �ู บวั ทป่ี รมิ่ นาํ้ จะบานวนั พรุง่ นี้ เป็นผมู้ ีปัญญาปานกลาง มีสมั มาทิฐิไดฟ้ ังธรรม
๓.เนยยะ บวั ที่อยใู่ ตน้ าํ้ ยงั อกี ๓ วนั จงึ จะบาน มีสตปิ ัญญานอ้ ย ไดฟ้ ังธรรมฝึกฝนเพยี รพฒั นา
๔.ปทปรมะ บวั ทีเ่ พ่ิงงอกใหม่ ขาดศรทั ธา มีมิจฉาทิฐิ ไรค้ วามเพยี รจะยงั ไมพ่ น้ ภยั จากเตา่ /ปลา
บทท๒่ี
หลักการสาํ คัญของพุทธจติ วทิ ยา
หมวดหลกั ความจรงิ อันประเสรฐิ “อริยสัจ ๔”
“ธมั มจกั กปั ปวตั นสตู ร” พระสตู รแหง่ การหมนุ วงลอ้ ธรรม ทีป่ ่ าอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั
เมืองพาราณสี แควน้ มคธ เทศนากณั ฑแ์ รกทีพ่ ระองคท์ รงแสดงจบพระอญั ญาโกณฑญั ญะก็ได้
ดวงตาเหน็ ธรรมสาํ เรจ็ เป็นพระโสดาบนั จึงขออปุ สมบทเป็นพระภกิ ษุใน
พระพทุ ธศาสนา "เอหิภิกขอุ ปุ สมั ปทา" พระโกณฑญั ญะจึงไดเ้ ป็นพระอรยิ สงฆอ์ งคแ์ รก
๑.ทกุ ข์ คาํ วา่ ทกุ ขใ์ นพทุ ธธรรมแบง่ ความทกุ ขเ์ ป็น ๓ ลกั ษณะ คอื
๑.๑. ทกุ ขท์ ีเ่ ป็นความรูส้ กึ ทกุ ข์ คอื ความทกุ ขก์ ายทกุ ขใ์ จ
๑.๒. ทกุ ขเ์ นือ่ งดว้ ยความผนั แปร คอื ความสขุ ทก่ี ลายเป็นความทกุ ข์
๑.๓. ทกุ ขต์ ามสภาพสงั ขาร คือสภาวะของรา่ งกายท่มี ีความเปลยี่ นแปลงมกี ารเสอื่ ม
และดบั ไป กอ่ ใหเ้ กิดทกุ ข์ เกิด/แก/่ เจ็บ/ตาย
บทท๒่ี
หลักการสาํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยา
๒. สมทุ ยั คอื ตน้ เหตแุ หง่ ทกุ ข์ สาเหตขุ องปัญหา คอื ตณั หาไดแ้ ก่ความอยากได้
อยา่ งไมม่ สี นิ้ สดุ เมอื่ รูต้ น้ เหตแุ ลว้ ควรละเหตนุ นั้ เสยี
“ ภิกษุทงั้ หลาย พระขีณาสพทงั้ หลายนนั้ ไมย่ นิ ดีในกามสขุ ไมเ่ สพกาม
เปรยี บเสมอื นหยาดนา้ํ ตกลงบนใบบวั แลว้ ไมต่ ดิ อยยู่ อ่ มกลิง้ ตกไป”
๓. นโิ รธ คือ ความดบั ทกุ ข์ เป็นภาวะทส่ี ขุ สงบ เป็นอสิ ระ ไมท่ กุ ข์
เพราะผลจากการดบั กิเลส ตณั หา อปุ ทานออกไปไดอ้ ยา่ งแจม่ แจง้ ดว้ ยสตริ ะลกึ รูใ้ นทกุ
ขณะดว้ ยปัญญา
๔ . มรรค คือ หนทางไปสคู่ วามดบั ทกุ ข์ เป็นขอ้ ปฏิบตั ิ
ตอ้ งมสี มั มาทฐิ ิเพือ่ แกป้ ัญหา ท่พี ระพทุ ธเจา้ จดั นิโรธไวก้ ่อนมรรคก็เนื่องดว้ ยเหตผุ ลใหผ้ ฟู้ ัง
เหน็ คณุ คา่ หรอื ประโยชนข์ องสง่ิ ทเ่ี ป็นจดุ หมาย( พระธรรมปิฎก ๒๕๔๖/๙๐๔-๙๐๕ )
บทท๒่ี
ทฤษฎสี าํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยา
ปฏจิ จสมุปบาท:เหตุแหง่ ทุกข์ /หมวดของทฤษฎี
คาํ วา่ “ปฏิจฺจ” หมายถึง“อาศยั ”คาํ วา่ “สมปุ บฺ าท”หมายถึง“เกิดขนึ้ พรอ้ ม”
แปลความไดว้ า่ สง่ิ ทอ่ี าศยั ซงึ่ กนั และกนั แลว้ เกิดขนึ้ พรอ้ ม ซงึ่ ตวั บทที่แสดงหลกั
ปฏิจจสมปุ บาทนนั้ แบง่ เป็น ๒ ประเภท ( ทา่ นพทุ ธทาสภกิ ขุ ๒๕๔๐/๙ )
๑.หลกั ท่วั ไปหรอื ที่เรยี กวา่ “อทิ ปั ปัจจยตา”
เมื่อสงิ่ นมี้ ี สง่ิ นีจ้ งึ มี
เพราะสง่ิ นเี้ กิดขนึ้ สง่ิ นจี้ ึงเกิด( พระธรรมปิฎก ๒๕๔๖/๘๑-๘๒ )
๒. หลกั ประยกุ ต์ หลกั แจงหวั ขอ้ เพราะอวิชชาเป็นปัจจยั จึงมีสงั ขารๆเป็นปัจจยั จึงมี
วิญญาณๆเป็นปัจจยั จึงมีนามรูปๆจึงมีสฬายตนะๆจึงมีผสั สะๆ จึงมีเวทนา ๆ ตญั หาๆ
อปุ ทาน ๆภพ ๆชาติ ๆชรา มรณะ ความเกิดแหง่ กองทกุ ข์
บทท๒่ี
ทฤษฎสี าํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยา
- อวชิ ชา ( Ignorance, Lack Of Knowledge ) คอื ความไมร่ ูเ้ ทา่ ทนั ตามสภาวะความเป็น
จรงิ เชน่ หลงผดิ คิดวา่ มตี วั ตน ก็ยอ่ มมีความอยากเพื่อตวั ตน
- สงั ขาร ( Volitional Activities ) คือ ความคดิ ปรุงแตง่ ทเ่ี กิดขนึ้ เน่อื งจากความ ไมร่ ูไ้ ม่
เขา้ ใจในเหตปุ ัจจยั ทเ่ี ป็นจรงิ ( อวชิ ชา ) จงึ คิดปรุงแตง่ ไปตามความเช่ือ ตามปัญญาของตน
- วญิ ญาณ ( Consciousness ) คือ อารมณท์ ี่เกิดขนึ้ ในใจในขณะนนั้ ๆ ตามสภาพของจิต
อนั เป็นผลเนอ่ื งมาจากความคดิ ท่ีปรุงแตง่ ของอายตนะ ๖
- ผสั สะ ( Contact ) คอื การรบั รูอ้ ารมณต์ า่ งๆอนั เป็นผลสบื เนื่อง
บทท๒่ี
ทฤษฎสี าํ คัญของพทุ ธจติ วทิ ยา
- เวทนา ( Feeling ) คอื ความรูส้ กึ ทเี่ รยี กวา่ การเสวยอารมณ์ เกิดขนึ้ ในภาวะใดภาวะหนง่ึ
คือ สขุ สบาย หรอื ทกุ ขไ์ มส่ บายเจ็บปวด หรอื เฉยๆ
- ตณั หา ( Craving ) คอื ความอยาก โดยเมือ่ แยกใหช้ ดั มีอาการ ๓ อยา่ ง คือ
๑ กามตณั หา ( Craving for Sense Pleasure )คอื ความอยากอนั เกิดจากความตอ้ งการ
ของประสาทสมั ผสั ทงั้ ๕ คอื ( รูป รส กลนิ่ เสยี ง สมั ผสั )
๒ ภวตัณหา ( Craving for Self-existence ) คอื ความอยากมี อยากเป็น
๓ วภิ วตณั หา ( Craving for Non-existence ) คือ ความไมอ่ ยากมี ไมอ่ ยากเป็น
บทท๒่ี
ทฤษฎสี าํ คัญของพทุ ธจติ วทิ ยา
- อุปาทาน ( Attachment, Clinging ) คอื ความยดึ ม่นั ถือม่นั เกาะเกี่ยว ยดึ เหนยี่ ว
ม่นั ในเวทนาทีช่ อบ หรอื ไมช่ อบมาตอบสนองใจ ตามปรารถนา
- ภพ ( Process Of Becoming ) คอื พฤตกิ รรมที่สนองตอบของอปุ ทาน
- ชาติ ( Birth ) การเกิดความตระหนกั ถึงความมตี วั ตนวา่ มี “ตวั เรา”
เช่น กระแสเหตปุ ัจจยั ของความจรงิ จงึ วนเวยี นเป็นวงั วน เกิดววิ ฏั ฏะในสงั สารวฏั
- ชรามรณะ ( Decay And Death ) เมื่อมีตวั ตนเกิดข้ึน และปรารถนาใหด้ าํ รงอยู่
ตลอดไป ตวั ตนก็ยอ่ มเกิดความเสื่อม ความพรอ่ ง ความขาดสญู เสยี จากการพลดั พราก
บทท๒่ี
วธิ ีการสาํ คัญของพุทธจติ วทิ ยา
มรรค:หมวดข้อปฏบิ ัต/ิ เพอ่ื การดบั ทุกข์
๑. สมั มาทิฏฐิ ( ความเหน็ ชอบ )มีความรูด้ ว้ ยปัญญาในอรยิ สจั
๒. สมั มาสงั กปั ปะ ( ความดาํ รชิ อบ )ใชส้ มองพนิ จิ /ในทางกศุ ล
๓. สมั มาวาจา ( วาจาชอบ )เวน้ การพดู เท็จ/สอ่ เสยี ด/พดู ดีงาม
๔. สมั มากมั มนั ตะ ( การกระทาํ ชอบ )มีความประพฤตปิ ฏิบตั ดิ /ี งาม
๕. สมั มาอาชีวะ ( การเลยี้ งชีพชอบ ) หาเลยี้ งชอบดว้ ยสจุ รติ /ไมท่ จุ รติ
๖. สมั มาวายามะ ( ความเพียรชอบ )มคี วามอสุ าหะ มีความเพยี รทาํ กศุ ล
๗. สมั มาสติ ( ความระลกึ ชอบ ) ดาํ รงความรูต้ วั ไมพ่ ลงั้ เผลอ/สตปิ ัฏฐาน
๘. สมั มาสมาธิ ( ความตงั้ ใจชอบ ) ฝึกจิตต่งั ม่นั สงบจากกิเลส/ฌาน
บทท๒่ี
ลักษณะสาํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยา
ไตรลักษณ์ หมวดสามัญลักษณะของส่งิ ทั้งหลาย
๑. อนจิ จตา ( Impermanence ) ความไมเ่ ท่ยี งความไมค่ งท่คี วามไมย่ ่งั ยืน ภาวะ
ทีเกิดขนึ้ แลว้ เสอ่ื มและสลายไป/ มคี วามเกิด/ดบั เป็นธรรมดา
๒. ทกุ ขตา ( Stress and Conflict ) ความเป็นทกุ ขภ์ าวะที่ถกู บบี คนั้ ดว้ ยการเกิดขึน้
และสลายตวั ภาวะท่ีกดดนั ฝืน และขดั แยง้ อยใู่ นตวั เพราะปัจจยั
ทป่ี รุงแตง่
๓. อนตั ตา( SoullessnessหรือNon-Self )
ความเป็นอนตั ตา ความไมใ่ ช่ตวั ตน( พระธรรมปิฎก๒๕๔๖/๖๘ )
บทท๒่ี
ลักษณะสาํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยา
พุทธพจนต์ รสั ว่า
“สง่ิ ใดไมเ่ ท่ียง สงิ่ นนั้ เป็นทกุ ข,์ สงิ่ ใดเป็นทกุ ข์ สง่ิ นนั้ เป็นอนตั ตา,
สงิ่ ใดเป็นอนตั ตา สงิ่ นนั้ พงึ เหน็ ดว้ ย สมั มาปัญญา
ตามท่ีมนั เป็นอยา่ งนีว้ า่ น่นั ไมใ่ ชข่ องเรา นนั้ มใิ ชเ่ รา น่นั ไมใ่ ช่ตวั ของเรา”
( พระธรรมปิฎก ๒๕๔๖/๗๐/๒๗ )
ขนั ธ์ ๕
บทท๒่ี
ลักษณะสาํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยา
๑.ปัจจัยภายนอก วิธีการแห่งศรัทธา เป็นวิธีการเบือ้ งตน้ แห่งปัญญาซ่ึงในทาง
พระพทุ ธศาสนาเรยี กวา่ “ปรโตโฆสะ” คอื เสยี งจากผอู้ ่ืน คาํ แนะนาํ ทดี่ -ี งาม
การกระตนุ้ หรอื ชกั ชวนในสว่ นทเ่ี ป็นกศุ ลฯลฯ
“ปัตจัตตงั ”
๒. ปัจจยั ภายใน หรอื วิธีการแหง่ ปัญญาซง่ึ เรยี ก “โยนิโสมนสกิ าร” คือ
การทาํ ในใจใหล้ ะเอียดถี่ถว้ นดว้ ยการคดิ พิจารณา แยกแยะสง่ิ ตา่ งๆตามสภาวะความ
เป็นจรงิ ตามเหตปุ ัจจยั ทแี่ ทด้ ว้ ยความไมป่ ระมาท
บทท๓่ี
ความหมายพุทธจติ วทิ ยาการเรียนรู้
พทุ ธจิตวิทยาการเรยี นรู้ หมายถึง กระบวนการเรียนรูท้ ่ีเป็นไปเพื่อความเจรญิ แห่ง
ปัญญา เป็นไปเพอ่ื การพฒั นาตนเองใหม้ ีความเจรญิ งอกงาม
( Buddhist Psychology and self-development in order to live
with prosperity and comply well with the social norm )
“ภกิ ษุทงั้ หลายธรรม ๔ ประการเหลา่ นี”้
“การเสวนาสตั บรุ ุษ การฟังสทั ธรรม
โยนโิ สมนสกิ าร ธรรมานธุ รรมปฏิบตั ิ”
๑. การรบั รู้ ไดแ้ กก่ ารเสวนาสตั บรุ ุษ และการฟังสทั ธรรม
๒. การคดิ ไดแ้ ก่ โยนิโสมนสกิ าร
๓. การปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ ธรรมานธุ รรมปฏบิ ตั ิ
บทท๓่ี
ความสาํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยาการเรียนรู้
การรบั รู้
การรบั รูเ้ ป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ของกระบวนการเรยี นรูแ้ บบพทุ ธศาสนาความสาํ คญั แกก่ าร
รบั รูส้ ง่ิ ที่ดีงามถกู ตอ้ ง( สทั ธรรม ) ซงึ่ รวมถงึ การเรยี นรูจ้ ากบคุ คลท่ีเป็นกลั ยาณมติ ร( สตั บรุ ุษ )
กระบวนการรบั รูน้ นั้ ประกอบดว้ ยขอ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้ คาํ ชีแ้ นะ อนั เป็นองคป์ ระกอบ
ภายนอก/ภายใน เชน่ อายตนะ๖ เช่น ตา หู จมกู ฯลฯ ประกอบการรูค้ ดิ เขา้ ใจ เลอื กสงิ่ ที่ดี/
ถกู ตอ้ ง /คณุ /โทษ/สาํ รวมระวงั อินทรยี ก์ ารรบั รู้
บทท๓่ี
ความสาํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยาการเรียนรู้
องคลุ มี าลฉกุ คดิ ขนึ้ มา เลกิ ไลล่ า่ พระพทุ ธองค์ และสนใจสดบั ฟังธรรมจากพระองค์
คาํ ถามนนั้ ก็คอื “
“ เราหยดุ แลว้ แตเ่ หตใุ ดทา่ นจึงยงั ไมห่ ยดุ ” ?
อนิ ทรยี สงั วร หมายถงึ การระวงั ไมใ่ หอ้ กศุ ลธรรมครอบงาํ ใจ
หมายถงึ การระวงั หรู ะวงั ตาไมไ่ ปรบั รูร้ บั เหน็ สงิ่ ทไ่ี มด่ ไี มง่ ามตอ้ งอาศยั
ปัญญา และสติ คอยกาํ กบั สาํ รวมกาย/ใจ
บทท๓่ี
ความสาํ คัญของพุทธจติ วทิ ยาการเรียนรู้
การคิด
หรือ การนาํ ขอ้ มูลข่าวสารท่ีรบั รูม้ าย่อยจดั ระเบียบ เสริมต่อใหเ้ กิดปัญญา
เพ่ิมพนู ขนึ้ เชน่ การยอ่ ยอาหาร ใหเ้ กิดพลงั งานเพ่ือความเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกาย
-แบบปลกุ ปัญญาใหเ้ กิดสมั มาทฏิ ฐิหลีกเล่ียงส่งิ ไมด่ ี
-แบบเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพจติ ท่ีดี ตอ้ งคดิ ถกู คดิ เป็น
เพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์ เกิดกศุ ลธรรม เป็นอบุ ายลด โทสะฯลฯ
โดยใชธ้ รรมฝ่ายดีมากดขม่ ส่งิ ไมด่ ี เป็นโทษเป็นภยั
บทท๓่ี
ความสาํ คญั ของพุทธจติ วทิ ยาการเรียนรู้
เจา้ ชายสทิ ธตั ถะ มีความตงั้ ม่นั ในพระหฤทยั ในการตงั้ คาํ ถามกบั ตนเองว่า
ทาํ อยา่ งไรถึงจะพน้ ทกุ ขไ์ ด้ คาํ ถามนีท้ าํ ใหท้ รงสละวงั ออกบวช ละทงิ้ ฯลฯ
อาฬารดาบส อทุ ทกดาบส เลิกละการบาํ เพ็ญทกุ ขก์ รกิรยิ า
ใชห้ ลกั “มชั ฌมิ าปฏิปทา” หลกั การปฏิบตั ทิ างสายกลาง
อตั ตกิลมถานโุ ยค คอื การประกอบตนเองใหล้ าํ บาก
กามสขุ ลั ลกิ านโุ ยค คือ การพวั พนั ในกามคณุ ๕ในความสบาย
พระพทุ ธองคท์ รงกาํ หนดชดั เจน คือ อรยิ มรรคมอี งค์ 8 เม่ือยน่ ยอ่ แลว้ เรยี ก "ไตรสกิ ขา"
บทท๓่ี
แนวคดิ สาํ คญั พุทธจติ วทิ ยาการเรียนรู้
ปฏิปทา สมเด็จพระญาณวชิโรดม ( พระอาจารยห์ ลวงพ่อวิริยงั ค์ สิรินฺธโร )ให้
ความสาํ คญั ตอ่ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาสง่ เสรมิ การทาํ สมาธิ เขียนหลกั สตู รมากมาย ฯลฯ
สมเด็จพระพฒุ โฆศาจารย์ ( ป.อ.ปยตุ โต )
การสาํ รวมอินทรยี ์ โดยอาศยั ปัญญา
หลกั โยนโิ สมนสกิ าร มคี วามหมายดี
มีความสาํ คญั มากในฝึกฝนอบรมส่งั สอนตอ้ งวางใจใหเ้ ป็น
ความสาํ คญั ของการศกึ ษาโดยเฉพาะเยาวชนตอ้ งใชค้ วามรูค้ คู่ ณุ ธรรม และการรบั รู้ หรอื
การสาํ รวมอินทรยี ์ ไว้ คือ ระวงั ไมอ่ กศุ ลครอบงาํ ปัจจบุ นั สอื่ ( Social )ตา่ งๆ
บทท๓่ี
แนวคดิ สาํ คญั พุทธจติ วทิ ยาการเรยี นรู้
การปฏิบตั ิ เป็นสว่ นหนง่ึ ของกระบวนการเรยี นรูๆ้ ท่ีครบถว้ นสมบรู ณจ์ ดุ สาํ คญั
การเรยี นรูท้ างพทุ ธศาสนาท่ีตา่ งกบั ตะวนั ตก คอื เนน้ ใชค้ วามคดิ ลว้ นๆพทุ ธิปัญญา
( Intellect ) เนน้ การปฏิบตั ติ อ้ งมีจดุ หมายของปฏิบตั เิ พ่ือขดั เกลากิเลสในใจตน
ดงั นนั้ การเรยี นรูป้ รยิ ตั คิ วบคกู่ ารปฏิบตั เิ พ่ือบรรลผุ ลสปู่ ฏิเวธ
“ พระพทุ ธองคเ์ คยตรสั กบั พระสารบี ตุ รวา่
ผทู้ ี่ยนิ ดใี น ธรรมานธุ รรมปฏบิ ตั ิ นบั วา่ หาไดย้ าก
แมว้ า่ ในท่นี ี้ พระองคจ์ ะทรงหมายถึงผปู้ ฏิบตั เิ พ่อื อรหตั ผล
แตใ่ นระดบั โลกียธรรม ธรรมานธุ รรมปฏบิ ตั ิ ก็ยงั เป็นเรอื่ งยากอยดู่ ี ”
บทท๓่ี
แนวคดิ สาํ คัญพุทธจติ วทิ ยาการเรยี นรู้
การปฏบิ ตั คือ การเรยี นรูใ้ นพทุ ธศาสนาเป็นการศกึ ษาระดบั พทุ ธิปัญญา
“ ปฏิบตั ธิ รรมโดยสมควรแกธ่ รรม ปฏบิ ตั ิธรรมนอ้ ยคลอ้ ยแก่ธรรมใหญ่ ”
“ ปฏบิ ตั ิธรรมตอ้ งรูข้ อ้ ธรรม ปฏบิ ตั ธิ รรมตอ้ งรูจ้ ดุ มงุ่ หมายของธรรม ”
“ ปฏิบตั ิธรรมเพ่ือลดละขดั เกลากิเลส นอ้ มจิตสคู่ วามสงบเป็นฐานสมาธิปัญญา”
ภาวนา 4 คือ การเจรญิ การฝึกอบรม การพฒั นา การทาํ ใหม้ ี/เป็น ( พระธรรมปิฎก ป.อ.ปยตุ ฺโต , 2540 )
๑.กายภาวนา หมายถงึ การเจรญิ กาย การฝึกอบรมกาย มใิ หเ้ กิดโทษใหก้ ศุ ลกรรมงอกงาม
๒.ศีลภาวนา หมายถึง การเจรญิ ศีล พฒั นาความประพฤติ การฝึกอบรมศีล ใหต้ งั้ อยู่ ในระเบียบวนิ ยั ไม่
เบียดเบยี น หรอื กอ่ ความเดอื ดรอ้ นเสียหาย
๓.จติ ภาวนา, การฝึกอบรมจิตใจ ใหเ้ ขม้ แข็งม่นั คงเจรญิ งอกงามดว้ ยคณุ ธรรม
เชน่ มีเมตตากรุณา ขยนั หม่นั เพียร อดทนมสี มาธิ และสดชนื่ เบกิ บาน เป็นสขุ ผ่องใส
๔.ปัญญาภาวนา, การฝึกอบรมปัญญา ใหร้ ูเ้ ขา้ ใจสิง่ ทงั้ หลายตามเป็นจรงิ
รูเ้ ทา่ ทนั เห็นโลกและชวี ิตตามสภาวะ สามารถทาํ จติ ใจใหเ้ ป็นอิสระบรสิ ทุ ธจ์ ากกิเลส
บทท่ี ๔ สิกขา๓
ความหมาย
พระพทุ ธศาสนามรี ะบบการศกึ ษาพฒั นาปัญญา
“ไตรสกิ ขา” มาเป็นเครอ่ื งมือในการพฒั นาปัญญาโดยมหี ลกั ปฏบิ ตั ทิ ีส่ าํ คญั ไดแ้ ก่
สกิ ขา๓ หมายถึงขอ้ ทจ่ี ะตอ้ งศกึ ษาขอ้ ที่จะตอ้ งปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ฝึกหดั อบรมกาย วาจา จิตใจ และ
สติปัญญาใหส้ งู ขนึ้ จนสามารถ “บรรลนุ พิ พาน”
๑. อธิสลี สกิ ขา สกิ ขาคือศลี หมายถึง การศกึ ษาเรอ่ื งศลี ฝึกฝนและปฏิบตั ติ นใหเ้ รยี บรอ้ ยดี
งาม ทางกาย วาจา ใจ
๒. อธิจิตตสกขา สกิ ขาคอื จิตยิ่ง หมายถึง การศกึ ษาเรอ่ื งจิตอบรมจิตใหม้ ่นั คงเป็นสมาธิ
ไดแ้ กบ่ าํ เพ็ญสมถกรรมฐานสมบรูณด์ ว้ ยศีลจนบรรลฌุ าน
๓. อธิปัญญาสกิ ขา สกิ ขาคือปัญญายิ่ง หมายถึง การศกึ ษาเรอ่ื งปัญญา อบรมตนให้
เกิดปัญญาอยา่ งแจม่ แจง้ ไดแ้ กก่ ารบาํ เพญ็ วปิ ัสสนากรรมฐานของผไู้ ดฌ้ านแลว้
จนบรรลวุ ชิ ชา ๘
บทท่ี ๔ สกิ ขา๓
ความหมาย
สิกขาทงั้ ๓ คอื การศกึ ษาเรยี นรู้ การศกึ ษาขอ้ ปฏิบตั ิท่ีพงึ ศกึ ษา การ
ฝึกฝนอบรมตนในเร่ือง ศีล สมาธิ ปัญญา น่นั เอง จากพระคาถาพยากรณท์ ่ี
เป็นบทตงั้ ของวสิ ทุ ธิมรรค กลา่ วถึงการตงั้ อยใู่ นศีลดว้ ยบทวา่
สเี ล ปตฏิ ฺฐาย หมายถงึ ภิกษุผทู้ าํ ศีลใหบ้ รบิ รู ณช์ ื่อวา่ ผตู้ งั้ อยใู่ นศีล
นโร สป�ฺโญ หมายถึง ผมู้ ีปัญญาซงึ่ เป็นปัญญาทม่ี ีมาพรอ้ มกบั ปฏสิ นธิ
จิตตํ ปั�ฺ�ฺจ ภาวยํ หมายถงึ การยงั สมาธิ และวิปัสสนาใหเ้ จรญิ อยู่
ทรงแสดงถึงสมาธิ ดว้ ยหัวขอ้ ว่าจิต ส่วนวิปัสสนาทรงแสดงโดยช่ือว่า ปัญญา หรือ
ป�ฺญ�ฺจ หรอื
บทท่ี ๔ สกิ ขา๓
ความหมาย
“ อาตาปี หมายถึง ผมู้ ีความเพียร เป็นเหตเุ ผากิเลสใหเ้ รา่ รอ้ น
นิปโก หมายถึง ปัญญาอีกชนิดหนง่ึ ทรงแสดงถงึ ปารหิ ารกิ ปัญญา
ภิกฺขุ หมายถึง ผใู้ ดเห็นภยั ในสงสาร เหตนุ นั้ ผนู้ นั้ ช่ือวา่ ภิกษุ ”
ในบททา้ ย คอื โส อมิ ํ วชิ ฏฺเย ชฏํ เป็นการสรุปสภาวธรรมขา้ งตน้ วา่
“ภกิ ษุผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๖ ประการ คอื ดว้ ยศลี สมาธิ ปัญญา ๓ ลกั ษณะ
( ไตรเหตปุ ฏิสนธิ วปิ ัสสนาปัญญา และปารหิ ารกิ ปัญญา ) และดว้ ยความเพยี รเผากิเลสนี้
เมื่อยนื อยบู่ นแผน่ ดนิ คือศีลยกศสั ตราดว้ ยวปิ ัสสนาปัญญาสมาธิคอยประคองใหม้ ่นั คงปัญญา
คอยพิสจู นค์ วามจรงิ ”
บทท่ี ๔ สกิ ขา๓
ความสาํ คัญ
วปิ ัสสนาปัญญา ท่ลี บั ดว้ ยศลิ าคือสมาธิ อยใู่ นมือคอื ปารหิ ารกิ ปัญญา
ที่มีกาํ ลงั วิริยะ พึงถาง ตดั ทาํ ลาย ซึ่งชฏั คือ ตณั หา อนั ตกอยู่ในสนั ดานของตนทัง้ หมดได้
เปรียบเหมือนบรุ ุษยืนบนแผ่นดิน ยกศสั ตราที่ลบั ดีแลว้ ถางกอไผ่ใหญ่ฉะนนั้ ก็ในขณะแห่ง
มรรค ภิกษุนชี้ ่ือวา่ กาํ ลงั ถางชฏั นนั้ อยู่
ในขณะแหง่ ผลช่ือวา่ ถางชฏั เสรจ็ แลว้
ยอ่ มเป็นอคั รทกั ขไิ ณยของ( มนษุ ย์ )โลกกบั ทงั้ เทวโลกทงั้ หลาย
การเจรญิ ไตรสกิ ขาทน่ี ี้ ศีล สมาธิ และวปิ ัสสนาปัญญา ทีก่ าํ ลงั เกิดพรอ้ มใน
อารมณอ์ นั เดยี วกนั เทา่ นนั้ มิใชเ่ จรญิ ไปคนละขณะ ทีเ่ กิดในอารมณเ์ ป็น อนสุ ยั กิเลส ๒ ตอ้ ง
อาศยั มรรคจิตท่เี ป็นอรหตั ตมรรคเทา่ นนั้ จึงจะละสนั ตานานสุ ยั ไดเ้ ดด็ ขาด
บทท่ี ๕ ปัญญา๓
ความหมาย
ปัญญา แปลวา่ ความรูท้ ่วั คือรูท้ ่วั ถึงเหตถุ งึ ผล รูอ้ ยา่ งชดั เจน,
รูเ้ รอ่ื งบาปบญุ คณุ โทษ, รูส้ ง่ิ ท่คี วรทาํ ควรเวน้ เป็นตน้
เป็นธรรมท่ีคอยกาํ กบั ศรทั ธา เพ่อื ใหเ้ ชื่อประกอบดว้ ยเหตผุ ล
ไมใ่ หห้ ลงเช่ืออยา่ งงมงาย
ในสงั คีตสิ ตู ร พระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ปัญญา ทาํ ใหเ้ กิดได้ ๓ วิธี คอื
-การสดบั ตรบั ฟัง การศกึ ษาเลา่ เรยี น ( สตุ มยปัญญา ปัญญาทเ่ี กิดจากการฟัง )
-การคดิ คน้ การตรกึ ตรอง ( จินตามยปัญญา ปัญญาทเี่ กิดจากการคดิ )
-การอบรมจิต การเจรญิ ภาวนา ( ภาวนามยปัญญา ปัญญาทีเ่ กิดจากการอบรม )
บทท่ี ๕ ปัญญา๓
ความสาํ คัญ
หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาที่เกี่ยวขอ้ งกบั ปัญญา คอื
- กาลามสตู ร ๑๐ จดั เป็นสตุ ามยปัญญา
เชน่ อยา่ พงึ เชื่อจนกวา่ จะไดพ้ สิ จู น์
- โยนโิ สมนสกิ าร จดั เป็นจินตามยปัญญา
เชน่ พินจิ พจิ ารณาในใจโดยแยบคาย
- สมถและวปิ ัสสนา จดั เป็นภาวนามยปัญญา
เช่น การเจรญิ สมาธิ
บทท่ี ๕ ปัญญา๓
ความสาํ คัญ
อรรถาธิบายเพิม่ เตมิ ปัญญา ๓ ประการ
๑. สตุ มยปัญญา
: ปัญญาหรอื ความรูอ้ นั เกิดจากการศกึ ษาเลา่ เรยี น กลา่ วคือ สตุ มยปัญญา ถือเป็นการเขา้ ถึง
ซง่ึ ปัญญาในระดบั เบือ้ งตน้ ดว้ ยการศึกษาเลา่ เรียนดว้ ยตนเองในดา้ นต่างๆ ทงั้ การอ่านตาํ รา
ดว้ ยตนเอง และการสดบั รบั ฟังจากคณาจารย์ รวมถงึ การศกึ ษาเลา่ เรยี นจากสอื่ อ่ืนที่เขา้ ถึงได้
๒. จินตามยปัญญา
: ปัญญาหรอื ความรูอ้ นั เกิดจากการคดิ วเิ คราะห์ กลา่ วคือ จินตามยปัญญา เป็นการไดม้ าซงึ่
ปัญญาขนั้ กลางโดยใชพ้ ืน้ ฐานปัญญาท่ไี ดร้ บั จากการศกึ ษาเลา่ เรยี นในขนั้ สตุ มยปัญญา คือ
การนาํ องคค์ วามรูท้ ี่ไดจ้ ากตาํ ราเรียน หรอื จากคณาจารยผ์ สู้ อนมาคิดวิเคราะห์ หาเหตุ หา
ผล หาขอ้ เท็จจริงอนั ที่จะเป็นไปได้ โดยไรซ้ ึ่งอคติโนม้ เอียงในตาํ รา และผูส้ อน โดยใหย้ ึด
หลกั ธรรมทเี่ รยี กวา่ กาลามสตู ร ๑๐ ประการ
บทท่ี ๕ ปัญญา๓
ความสาํ คญั
๓. ภาวนามยปัญญา
: ปัญญาหรอื ความรูอ้ นั เกดิ จากฝึกฝน หรอื ลงมอื ปฏบิ ตั ิ กลา่ วคอื หมายถึง จินตามย
ปัญญา เป็นการไดม้ าซง่ึ ปัญญาระดบั สดุ ทา้ ย โดยใชอ้ งคค์ วามรูท้ ีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษาเลา่ เรยี น
และคดิ วิเคราะหจ์ นไดข้ อ้ เทจ็ จรงิ ในสงิ่ นนั้ แลว้ นาํ แนวทางเหลา่ นนั้ มาใชใ้ นการปฏบิ ตั จิ รงิ
วรรณกรรมของสนุ ทรภู่ ในเพลงยาวถวายโอวาท
ทแ่ี ตง่ ขนึ้ เพื่อถวายแดเ่ จา้ ฟา้ กลาง และเจา้ ฟา้ ป๋ิว ซง่ึ เป็นเจา้ นายชนั้ ผใู้ หญ่ ประกอบดว้ ย
เนือ้ หาที่มงุ่ เนน้ ปัญญาๆเปรยี บเสมอื นอาวธุ ตอ่ สกู้ บั ศตั รูหมมู่ าร
บทท่ี ๕ ปัญญา๓
ความสาํ คัญ
อาวธุ ทางธรรม ๓ ประการ คือ สตุ าวธุ , ปวิเวกาวธุ และปัญญาวธุ
สรุปลกั ษณะสาํ คญั ของปัญญาทงั้ ๓ ประการ
ปัญญา ๓ ประการ ถือเป็นขั้นตอนหรือกระบวนการที่ใหไ้ ดม้ าซึ่งปัญญา หรือ ความรูอ้ นั เป็นจริง
มิใช่รูเ้ ท็จ เพราะความเขลา หรือ เชื่อในตาํ รา หรือท่ีเขาพดู ปัญญานั้น ถือเป็นสิ่งสาํ คญั ของการดาํ เนิน
ชวี ติ เพราะปัญญาถือเป็นอาวธุ ประเภทหนง่ึ ที่มีทงั้ คณุ และโทษ หากผูม้ ีปัญญาที่ไมแ่ ทจ้ ริง คือ มีปัญญา
ดว้ ยความหลงผิด เช่ือผิด ย่อมที่จะเป็นอาวธุ ทาํ รา้ ยผูใ้ ชป้ ัญญานัน้ ไดเ้ ช่นกัน แตห่ ากเป็นผูม้ ีปัญญาที่รู้
แจง้ ดว้ ยตน มิใช่เพียงเพราะความรูใ้ นตาํ รา หรอื เพราะเขาพดู มา ยอ่ มที่จะก่อประโยชนใ์ หแ้ ก่ผูใ้ ชท้ งั้ ใน
ปัจจบุ นั และภายภาคหนา้
บทท่ี ๖ ธรรม๔
ความหมาย
ความหมายของคาํ วา่ “ธรรม”
พระพทุ ธศาสนาสอนใหม้ งุ่ เนน้ ในสว่ นทโ่ี ลกกาํ ลงั ดาํ เนนิ ธรรม คือ
ธรรมชาตกิ ฎของธรรมชาติมีหนา้ ทต่ี ามกฎของธรรมชาติสง่ิ ทเ่ี กิดดบั
โดยพทุ ธศานาไมม่ งุ่ เนน้ ความสบาย
ศาสนาพทุ ธเรยี กธรรมวา่ พระธรรม คือหลกั ความเป็นไปของโลก เนน้ ความเก่ียวพนั
เก่ียวขอ้ งกบั ระบบทงั้ มวล เราอยใู่ นจกั รวาล ก็ยอ่ มดาํ เนินตามระบบของจกั รวาล เราอยใู่ นโลก
ก็ยอ่ มดาํ เนนิ ตามระบบของโลก ทกุ อยา่ งลว้ นเกี่ยวขอ้ งกบั ธรรมชาติระบบ ทกุ อยา่ งพวั พนั กบั
ระบบ
พระพทุ ธเจา้ สอนใหร้ ูจ้ กั ระบบ และอยบู่ นระบบไดอ้ ยา่ งเป็นสขุ รูท้ นั ระบบ ดาํ เนินอยู่
ในระบบไดอ้ ยา่ งเป็นสขุ ไมร่ ะแวงกบั ระบบ แตส่ ามารถอยใู่ นขณะท่ีระบบกาํ ลงั กล่นั แกลง้ เรา
ได้ อยกู่ บั ธรรมชาติ รูท้ างพน้ ทกุ ข์
บทท่ี ๖ ธรรม๔
ความสาํ คญั
พระพทุ ธเจา้ ตรสั ไวว้ า่ “ศาสนาพทุ ธเรยี กธรรม วา่ พระธรรม
คอื หลกั ความเป็นไปของโลก เนน้ ความ
เกี่ยวพนั เก่ียวขอ้ งกบั ระบบทงั้ มวล เรา
อยใู่ นจกั รวาล ก็ยอ่ มดาํ เนินตามระบบ
ของจกั รวาล เราอยใู่ นโลกก็ยอ่ มดาํ เนิน
ตามระบบของโลก ทกุ อยา่ งลว้ น
เกี่ยวขอ้ งกบั ธรรมชาติ ธรรมชาติก็คือ
ระบบ ทกุ อยา่ งพวั พนั กบั ระบบ”
“อานนท์ ! ธรรมวินยั ใดอนั เราแสดงแลว้ บญั ญัติแลว้ แกเ่ ธอทงั้ หลาย ธรรมและวินัยนัน้ จกั เป็นศาสดา
ของเธอทงั้ หลายโดยกาลลว่ งไปแหง่ เรา”
บทท่ี ๖ ธรรม๔
ความสาํ คญั
ความสาํ คญั ของหลกั ธรรม ๔ ประการ
ความสาํ คญั ของหลกั ธรรม ๔ ประการ
ทม่ี ตี อ่ การสรา้ งนี้ พระพทุ ธองคถ์ ึงกบั ทา้ ใหไ้ ปถามผรู้ ูท้ า่ นอ่ืนๆ
มีส่ิงใดในโลกนีท้ ่ีสรา้ งเกียรติยศ และความเคารพจากผู้อ่ืน ใหค้ นเราไดเ้ ท่ากับการมี
"สจั จะ" หรอื ไม่ มีสงิ่ ใดในโลกนีท้ ี่สรา้ งปัญญาใหค้ นเราไดเ้ ทา่ กบั การมี "ทมะ" หรือไม่ มีส่ิง
ใดในโลกนีท้ ี่สรา้ งทรพั ยส์ มบตั ิใหค้ นเราไดเ้ ท่ากับการมี "ขันติ" หรือไม่ มีส่ิงใดในโลกนีท้ ่ี
สรา้ งหมมู่ ิตรใหค้ นเราไดเ้ ทา่ กบั การมี "จาคะ" หรอื ไม่
หมายความวา่ ไมม่ ธี รรมะใดๆ ทีจ่ ะใชส้ รา้ งตวั ใหป้ ระสบ
ความสาํ เรจ็ ไดย้ ง่ิ กวา่ การสรา้ งสจั จะ ทมะ ขนั ติ จาคะ ใหเ้ กิดขนึ้ ในตนอกี แลว้
บทท่ี ๖ ธรรม๔
ความสาํ คัญ
ฆราวาสธรรม ๔
ฆราวาสธรรม ประกอบดว้ ย ๒ คาํ "ฆราวาส" แปลวา่
ผดู้ าํ เนินชวี ิตในทางโลก,ผคู้ รองเรอื น และ "ธรรม" แปลวา่ ความถกู ตอ้ ง,
ความดีงาม, นิสยั ทดี่ งี าม, คณุ สมบตั ,ิ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ
ฆราวาสธรรม แปลว่า คณุ สมบตั ิของผูป้ ระสบความสาํ เร็จในการดาํ เนินชีวิตทางโลก ประกอบดว้ ย
ธรรมะ ๔ ประการ คอื
๑.สจั จะ แปลวา่ จรงิ ตรง แท้ มีความซ่อื สตั ยเ์ ป็นพนื้ ฐาน เป็นคนจรงิ ตอ่ ความเป็นมนษุ ยข์ องตน
๒.ทมะ แปลวา่ ฝึกตน ข่มจติ และรกั ษาใจ บงั คบั ตวั เองเพอื่ ลดและละกิเลส และรกั ษาสจั จะ
๓.ขนั ติ แปลวา่ อดทน ไมใ่ ชแ่ พยี งแตอ่ ดทนกบั คาํ พดู หรอื การกระทาํ ของผอู้ น่ื ที่เราไมพ่ อใจ แตห่ มายถึง
การอดทนอดกลนั้ ตอ่ การบบี บงั คบั ของกิเสส
๔.จาคะ แปลวา่ เสียสละ บรจิ าคสิ่งท่ีไม่ควรมีอย่ใู นตน โดยเฉพาะกิเลสเพราะนนั้ คือสิ่งที่ไมค่ วรมีอยู่
กบั ตน ละนิสยั ไมด่ ีตา่ งๆ
บทท่ี ๖ ธรรม๔
ความสาํ คัญ
โทษของการไมส่ รา้ งตวั ใหม้ ฆี ราวาสธรรม
๑.โทษของการขาดสจั จะ- ปลกู นิสยั ขาดความรบั ผิดชอบใหเ้ กิดขึน้ ในตวั
- พบแตค่ วามตกตา่ํ - มีแตค่ นดถู กู - ไมม่ คี นเช่ือถือ - ไมส่ ามารถรองรบั ความเจรญิ ตา่ งๆ ได้
๒.โทษของการขาดทมะ - ขาดนิสัยรกั การฝึกฝนตนเอง - ทาํ ใหข้ าดความสามารถในการทาํ งาน -
สามารถหลงผิดไปทาํ ความช่วั ไดง้ า่ ย ครอบครวั เดอื ดรอ้ น
๓.โทษของการขาดขนั ติ - ไมส่ ามารถอดทนต่อปัญหาและอปุ สรรคต่างๆ ได้ - เป็นคนจบั จด ทาํ งาน
ค่งั คา้ ง - - หลงผิดไปทาํ ความช่วั ไดง้ า่ ย - เต็มไปดว้ ยศตั รู - ขาดความเจรญิ กา้ วหนา้ ทาํ ใหเ้ สอ่ื มจากทรพั ย์
๔.โทษของการขาดจาคะ - ปลูกฝังความตระหนี่ใหเ้ กิดขึน้ ในใจ - ไม่มีใครอยากเขา้ ใกล้ เมื่อขาด
สัจจะย่อมเกิดปัญหา เมื่อขาดขันติย่อมเกิดความยากจน และเม่ือขาดจาคะย่อมเกิดความเห็นแก่ตัว
เกิดขนึ้ ในสงั คม
บทท่ี ๖ ธรรม๔
ความสาํ คญั
อานิสงสข์ องธรรม ๔ ประการ
ภิกษุทงั้ หลาย ! ธรรม ๔ ประการนีอ้ นั บคุ คลเจรญิ แลว้
กระทาํ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพอ่ื กระทาํ ใหแ้ จง้ ซงึ่ โสดาปัตตผิ ล.
ธรรม ๔ ประการอยา่ งไรเลา่ ? ๔ ประการคือ :-
การคบสัตบุรุษ ๑ การฟังพระสทั ธรรม ๑การกระทาํ ไวใ้ นใจโดยแยบคาย ๑ การปฏิบัติธรรมสมควรแก่
ธรรม ๑
ภิกษุทงั้ หลาย ! ธรรม ๔ ประการนีแ้ ล อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทาํ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพ่ือกระทาํ
ใหแ้ จง้ ซงึ่ โสดาปัตตผิ ล.
ภิกษุทงั้ หลาย ! ธรรม ๔ ประการนี้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทาํ ใหม้ ากแลว้ ยอ่ มเป็นไปเพอ่ื กระทาํ ให้
แจง้ ซง่ึ สกทาคามผิ ล. ยอ่ มเป็นไปเพ่ือกระทาํ ใหแ้ จง้ ซงึ่ อนาคามผิ ล. ยอ่ มเป็นไปเพอ่ื กระทาํ ใหแ้ จง้ ซงึ่ อรหตั ต
ผล. ยอ่ มเป็นไปเพอ่ื ไดป้ ัญญา (ป�ฺญาปฏิลาภาย). ยอ่ มเป็นไปเพ่ือความเจรญิ แหง่ ปัญญา
บทท่ี ๖ ธรรม๔
ความสาํ คญั
ภิกษุทงั้ หลาย ! ธรรม ๔ ประการนี้
อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทาํ ใหม้ ากแลว้
ยอ่ มเป็นไปเพื่อกระทาํ ใหแ้ จง้ ซงึ่ สกทาคามิผล.
ยอ่ มเป็นไปเพื่อกระทาํ ใหแ้ จง้ ซง่ึ อนาคามผิ ล.
ยอ่ มเป็นไปเพอื่ กระทาํ ใหแ้ จง้ ซง่ึ อรหตั ตผล.
ยอ่ มเป็นไปเพ่อื ไดป้ ัญญา
ยอ่ มเป็นไปเพือ่ ความเจรญิ แหง่ ปัญญา
ยอ่ มเป็นไปเพอื่ ความไพบลู ยแ์ หง่ ปัญญา .
ยอ่ มเป็นไปเพื่อความเป็นผมู้ ปี ัญญาใหญ่ ยอ่ มเป็นไปเพอ่ื ความเป็นผมู้ ปี ัญญาแนน่
ยอ่ มเป็นไปเพื่อความเป็นผมู้ ีปัญญาไพบลู ย์ ยอ่ มเป็นไปเพอื่ ความเป็นผมู้ ปี ัญญาลกึ ซงึ้
บทท่ี ๖ ธรรม๔
ความสาํ คญั
ภกิ ษุทงั้ หลาย ! ธรรม ๔ ประการนี้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทาํ ใหม้ ากแลว้
ยอ่ มเป็นไปเพอ่ื ความเป็นผมู้ ปี ัญญาเป็นเครอ่ื งชาํ แรกกิเลส
(นิพเฺ พธิกป�ฺญตาย).
ธรรม ๔ ประการอยา่ งไรเลา่ ? ๔ ประการ คือ ..
การคบสตั บรุ ุษ ๑,
การฟังพระสทั ธรรม ๑,
การกระทาํ ไวใ้ นใจโดยแยบคาย ๑,
การปฏิบตั ธิ รรมสมควรแกธ่ รรม ๑.
ภิกษุทงั้ หลาย ! ธรรม ๔ ประการนีแ้ ล
อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทาํ ใหม้ ากแลว้
ยอ่ มเป็นไปเพอ่ื ความเป็นผมู้ ีปัญญาเป็นเครอื่ งชาํ แรกกิเลส.