The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารความรู้เกี่ยวกับ สมุนไพร
โกฐจุฬาลัมพา (KOT CHULA LUMPA) โดย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by subpayana, 2021-08-07 14:34:08

โกฐจุฬาลัมพา กรมการแพทย์แผนไทยฯ สธ

เอกสารความรู้เกี่ยวกับ สมุนไพร
โกฐจุฬาลัมพา (KOT CHULA LUMPA) โดย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

Keywords: โกฐจุฬาลัมพา (KOT CHULA LUMPA)

โกฐจฬุ าลัมพา

1. ช่อื สมุนไพร โกฐจุฬาลมั พา (KOT CHULA LUMPA)

2. ชอื่ วิทยาศาสตร Artemisia annua L. ชอ่ื วงศ Compositae (Asteraceae)

3. ช่ืออน่ื ชิงฮาว, แชเฮา (ภาษาจีน), Sweet Wormwood Herb

4. ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

ไมลมลุกอายปุ เ ดียว สูง 0.7-1.6 เมตร แตกก่งิ มาก ทั้งตนมีกลน่ิ แรง มีขนประปราย หลดุ รวงงาย

ใบ เปนใบเดี่ยว เรียงเวียน มีตอมโปรงแสง ใบบริเวณโคนตนรูปไขหรือรูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข กวาง 2-6 เซนติเมตร

ยาว 3-7 เซนติเมตร ขอบใบหยักลึกแบบขนนก 3 หรือ 4 ชั้น เปน 5-8 คู แฉกใบจักฟนเลื่อยลึกรูปสามเหลี่ยม เสนกลางใบเดนชัด

ทางดา นบน แกนกลางใบมีปกแคบ อาจจักฟน เลอ่ื ยเลก็ นอ ยหรือเรยี บ ใบบรเิ วณกลางตนหยกั ลึกแบบขนนก 2 หรือ 3 ชนั้ ใบใกลย อด

รวมทงั้ ใบประดบั หยักลกึ แบบขนนก 1 หรือ 2 ชน้ั กา นใบสน้ั มาก

ชอดอก แบบชกอรแมยกกแขานรงแรพูปพทีระยมแิดกผวานงไชทอยยอแยลแบะบกชาอรกรแะพจุกทแนยนท รูปากงลเมลมอื ีจกำนวนมาก เสนผานศูนยกลาง
ป1.ล5า-ย2.จ5ักเมปิลนลซิเมี่ฟตนร2สหีเหรลือือ3ง-ถ4ึงสซีเี่ หยอลดือเงกเขสมรเพกาศนเกมชียรอแยะหอทลยมสรั้นดวอวงกงสยนออายกธตเปรางนกรดลอณากงเเสพปนศขุ เดมอียกสมมี 1บ0ูร-ณ18เพดศอมกี 1โ0ค-น30กลดีบอกเชโื่อคมนตกิดลกีบันเชเปื่อนมตหิดลกอันด

เปน หลอด ปลายจกั ซี่ฟน 5 ซี่ เกสรเพศผูมี 5 อัน อบั เรณเู ช่ือมติดกนั แตล ะอันมรี ยางคดานบน 1 อนั รปู สามเหลีย่ มปลายแหลม และ

มรี ยางคป ลายมนทโี่ คน 2 อนั

ผล แบบผลแหง เมล็ดลอ นรูปไขแกมรี ยาวประมาณ 0.5 มิลลเิ มตร

5. สวนที่ใชท ำยา

ลำตน แหง

6. สรรพคณุ ของแตล ะสวนที่ใชท ำยา

ตำราสรรพคณุ ยาไทยวา โกฐจฬุ าลัมพามสี รรพคณุ แกไขเ จลียง (ไขจ บั วันเวน วนั -เปน ไขจบั สนั่ ประเภทหนึ่ง) แกไ ข ลดเสมหะ

แกหืด แกไอ ใชเปนยาขับเหงื่อ โกฐจุฬาลัมพาจัดเปนโกฐชนิดหนึ่งในพิกัดโกฐทั้ง 5 (เบญจโกฐ) โกฐทั้ง 7 (สัตตโกฐ) และโกฐทั้ง 9

(เนาวโกฐ) ตำรายาของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน มีมอโนกราฟโกฐจฬุ าลมั พา โดยระบุขอบง ใชว า ใชแกไ ขอนั เกดิ จากความรอ น

ในฤดูรอน แกไ ขตำ่ ๆ ท่ไี มม เี หงื่อ แกไขอันเนื่องจากวณั โรค และแกไขจ บั ส่นั

68

7. รายงานการวจิ ัยในปจ จุบนั

ขอมูลจากการศึกษาวิจัยพบวาสารชิงฮาวซู (อารเทแอนนูอินหรืออารเทมิซินิน) แสดงฤทธิ์ตานเชื้อไขจับสั่นชนิด

ฟลซิพารุม (Plasmodium falciparum) และชนิดไวแวกซ (Plasmodium vivax) โดยเฉพาะสายพันธุที่ดื้อยา ปจจุบันสาร

ชนดิ นก้ี บั อนุพนั ธกุ ง่ึ เคมีสงั เคราะหของสารชนดิ นถี้ กู นำมาใชเปน ยาแกไขจ ับส่นั ในหลายประเทศ รวมท้ังประเทศไทย

8. สารสำคัญ

โกฐจุฬาลัมพามีสารอนุพันธเซสควิเทอรพีนแลกโทน (sesquiterpene lactones) หลายชนิด แตที่สำคัญคือ

ชิงฮาวซู (qinghaosu) หรือ อารเทแอนนูอิน (arteannuin) หรืออารเทมิซินิน (artemisinin) และพบสารกลุมฟลาโวนอยด

(flavonoids) อีกหลายชนิด เชน คาสทิซิน (casticin) เซอรซิลินีออล (cirsilineol) คริโซพลีนอลดี (chrysoplenol-D)

คริโซพลเี นทนิ (chrysoplenetin)

9. แหลงกำเนดิ และการกระจายพนั ธุ

พืชชนิดนี้มีเขตการกระจายพันธุในทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปยุโรป ภาคเหนือของทวีปแอฟริกา และในทวีปเอเชีย

ในจีนมักพบขึน้ ท่วั ไปตามเนินเขา ขางทาง ท่รี กราง หรอื ตามชายปา ทส่ี งู จากระดบั น้ำทะเลต้ังแต 200-3,650 เมตร มผี นู ำมา

ทดลองปลูกในประเทศไทยและพบวาขึ้นไดดี ออกดอกและเปนผลไดตั้งแตเดือนสิงหาคมถึงพฤศจิกายน โกฐจุฬาลัมพาที่มี

ขายในทองตลาดไดจากพืชปลูกในมณฑลเหอเปย ชานตง เจียงซู หูเปย  และฝเู จย้ี น ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

10. พื้นท่ีเหมาะสมในการปลกู ในประเทศไทย

- ลักษณะพนื้ ท่ี พ้นื ท่ดี อน

- ภาค ท่ัวทุกภาคของประเทศไทย

- จังหวดั ทวั่ ทกุ จงั หวัดของประเทศไทย

11. การคดั เลอื กพนั ธุ (พนั ธุท่นี ยิ มปลกู ในประเทศไทย)

- พนั ธุท ่ใี ชเปน ยา พันธุพ นื้ บานทว่ั ไป (ใบฝอย)

- พนั ธุทใ่ี ชเ ปนอาหาร พันธพุ ้ืนบา นทัว่ ไป (ใบฝอย)

12. การขยายพนั ธุ

ขยายพันธุดวยการปกชำ โกฐจุฬาลัมพาจะปกชำโดยการตัดตนยาว 8 – 10 นิ้ว แลวปกในถุงเพาะชำที่ผสมดินกับ

ขีเ้ ถา แกลบ เอาไวในเรอื นเพาะชำ รดน้ำใหชมุ ช้นื อยเู สมอประมาณ 10 – 20 วนั จะงอกรากเปน ตนใหมตอ ไป

13. การปลูก/สภาพแวดลอมที่เหมาะสมในการปลูก

- ฤดูกาลเพาะปลกู ปลูกไดทุกฤดู นิยมปลกู ฤดูหนาว และตองรดนำ้ ใหชุมช้ืนอยเู สมอ

- การเตรียมดกินรจมะตกอ งาขรดุ เแปพนแทปลยงกแวา ผงปนระไมทาณย1แเลมตะรกคาวรามแยพาวแทลวยแทตล าะพงืน้ เทลี่ เอื วนกทางเดนิ 50 เซนตเิ มตร
เปนรอ งระบ-าวยิธนีก้ำาผรสปมลคูกลุกเเมคื่อลเาตดรวียยมปแุยปคลองกปหลกูรกอืแรปละยุวทหนมรำักตวนงกลสาาอาธยาุ 3ร–ณ4สเดขุ ือน ลงปลูกหางกันประมาณ 30 เซนติเมตร

ระหวา งตน 30 เซนติเมตร กลบดนิ แลว นำไปผูกเชอื ก รดน้ำใหชุมชน้ื อยูเ สมอ

69

14. การปฏิบัตดิ ูแลรกั ษา
- การใหปยุ เมอ่ื ปลูกได 30 วนั ก็ควรพรวนดินและใสป ยุ สตู ร 15-15-15 ประมาณ 1 ชอนโตะ ตอ 1 ตน พรอมกำจัด

วัชพืช ควรใสปุยคอก หรือปยุ วิทยาศาสตรส ลบั กันไป เดอื นละ 1 – 2 ครัง้
- การใหน ้ำ ควรรดน้ำใหช ุมชื้นอยเู สมอ แตถ า มฝี นกค็ วรงดบาง
- การกำจดั วัชพชื ควรทำพรอ มกบั การพรวนดนิ และใสปุย
- การปองกันกำจดั โรคและแมลงศตั รู โกฐจฬุ าลัมพาไมคอยมีแมลงศตั รูเทาไหร ควรฉีดพนดวยสารสะเดา หรอื สารชีวภาพ

กไ็ ด
15. การเก็บเก่ยี วและการปฏิบตั ิหลงั เก็บเก่ียว

- ฤดูกาลการเกบ็ เก่ียว เมอื่ โกฐจฬุ าลัมพาออกดอก เรมิ่ บานไดเ กนิ คร่งึ ของชอดอก กเ็ รมิ่ เกบ็ เกย่ี วได และจะเกบ็ เกี่ยวได
ทกุ ฤดูกาล

- วธิ กี ารเก็บเกีย่ ว จะตองใหตนสงู จากดินประมาณ 10 เซนตเิ มตร จะใชมดี หรอื เคียวเกย่ี วก็ได และสง แปรรปู ตอ ไป
- การแปรรูปหลงั การเกบ็ เกยี่ ว เมอื่ ไดต นโกฐจฬุ าลัมพามาแลว กน็ ำมาลางนำ้ ใหส ะอาดและตากแดดใหแ หง หรือจะตดั
เปนทอน ๆ กไ็ ด ตากแดดประมาณ 4 – 5 วัน กจ็ ะแหง แลวนำไปอบอกี ครัง้ จนแหง สนทิ
- การบรรจุและการเกบ็ รักษา เม่อื ไดโกฐจุฬาลัมพาแหงมาแลว กบ็ รรจุถงุ พลาสตกิ มัดปากใหแ นน นำสงจำหนา ยตอไป
หรือจะเก็บก็ควรเก็บใสถ ุงพลาสตกิ มดั ปากใหแนน ไมใ หโ ดนนำ้ แลวเกบ็ ไวในหอ งทมี่ ีอณุ หภูมิปกติ
16. การจำหนา ย
ตนแหง ราคากโิ ลกรมั ละ 100-200 บาท

กรมการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลอื ก
กระทรวงสาธารณสขุ

70


Click to View FlipBook Version