รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 37 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 4. สรุปผลการดำเนินการ 1. จัดทำแผนการเข้าติดตาม แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง เป็นรายแห่ง (12 สหกรณ์) 2. การติดตาม เร่งรัด ผลการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์(มีข้อบกพร่องได้แก้ไขปัญหาตาม คำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์แล้ว ต้องติดตามการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่อง และรายงานผลการแก้ไขจนกว่าจะ แก้ไขแล้วเสร็จ เดือนละ 1 ครั้ง/แห่ง) 3. ติดตามและรายงานผลการแก้ไขข้อบกพร่องให้กลุ่มตรวจการสหกรณ์ทราบ ภายในวันที่ 25 ของเดือนถัดไป 4. จัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) ไตรมาสละ 1 ครั้ง จำนวน 4 ครั้ง 5. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขและมีข้อบกพร่องลดลง 6. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ข้อบกพร่องของสหกรณ์ได้รับการแก้ไขหรือมีความเคลื่อนไหว จำนวน 12 สหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขและมีข้อบกพร่องลดลง 7. ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินโครงการ ในกรณีการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องที่อยู่ระหว่างขั้นตอนการดำเนินคดี ยึดทรัพย์ บังคับคดี หรือขายทอดตลาดต้องใช้ระยะเวลานานในการแก้ไขข้อบกพร่อง 8. แนวทางแก้ไข เพื่อป้องกันการเกิดข้อบกพร่องเห็นควรกลุ่มงานวิชาการร่วมกับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดำเนินงานเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์ คำสั่ง คำแนะนำ ประกาศของนายทะเบียนสหกรณ์และกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด 9. ภาพกิจกรรม
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 38 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยได้กำหนดแผนงานการจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไข ปัญหาการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อให้ได้รับทราบข้อมูลที่เกี่ยวกับผลการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ มีแนวทาง วิธีการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องสหกรณ์ 3. เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนินงานเป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณ์ คำสั่ง คำแนะนำ ประกาศของนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เป้าหมาย : 1. คณะทำงานฯ แก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์ฯ 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผู้แทนสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : จังหวัดเลย 2. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 2.1 เพื่อให้ได้รับทราบและติดตามข้อมูลความคืบหน้าเกี่ยวกับการดำเนินการแก้ไข ข้อบกพร่องของสหกรณ์ 2.2 เพื่อให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ มีแนวทาง วิธีการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องสหกรณ์ 2.3 เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนินงานเป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณ์ คำสั่ง คำแนะนำ ประกาศของนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 11,400.00 บาท 11,400.00 บาท 100 4. สรุปผลการดำเนินโครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กลุ่มตรวจการสหกรณ์ได้จัดการประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด แก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 4 ครั้ง ดังนี้ 2.5) การจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.)
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 39 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2565 ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2566 ครั้งที่ 3/2566 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2566 ครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2566 เป็นการจัดประชุมเพื่อให้ทราบข้อมูลที่เกี่ยวกับผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องและ กำหนดแนวทางการแนะนำ ส่งเสริม กำกับดูแล ป้องกันป้องปรามพฤติกรรมความเสี่ยงอันเป็นสาเหตุให้เกิด ข้อบกพร่องหรือทำให้เกิดความเสียหายต่อผลประโยชน์ของมวลสมาชิกได้ในอนาคต 5. ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด 5.1 ได้รับทราบและติดตามข้อมูลความคืบหน้าเกี่ยวกับการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องของ สหกรณ์ 5.2 ให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ มีแนวทาง วิธีการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องสหกรณ์ 5.3 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนินงานเป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณ์ คำสั่ง คำแนะนำประกาศของนายทะเบียนสหกรณ์ และกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 6. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. จัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 4 ครั้ง (ไตรมาสละ 1 ครั้ง) 2. มีผู้เข้าประชุม จำนวน 20 คน/ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. การแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้ดำเนินการให้เป็นไป ตามขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 2. ได้ทราบแนวทางปฏิบัติการแก้ไขปัญหาจากคณะทำงานระดับจังหวัด (จกบ.) 3. ได้รับทราบข้อมูลการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4. สามารถวิเคราะห์และประมวลข้อบกพร่องเพื่อแก้ไขปัญหาของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. สามารถกำหนดแนวทางการป้องกันและป้องปรามข้อบกพร่องของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 40 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 7. ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินโครงการ ในกรณีการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องที่อยู่ระหว่างขั้นตอนการดำเนินคดี ยึดทรัพย์บังคับคดี หรือขายทอดตลาดต้องใช้ระยะเวลานานในการแก้ไขข้อบกพร่อง 8. แนวทางแก้ไข เพื่อป้องกันการเกิดข้อบกพร่องเห็นควรกลุ่มงานวิชาการร่วมกับกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดำเนินงานเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์ คำสั่ง คำแนะนำ ประกาศของนายทะเบียนสหกรณ์และกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด 9. ภาพกิจกรรม ภาพการจัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มี ข้อบกพร่อง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2565 ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2566 ครั้งที่ 3/2566 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2566 ครั้งที่ 4/2566 เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2566
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 41 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์: เพื่อให้การดำเนินงานชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในสถานะเลิก สำเร็จเรียบร้อยเป็นไปตามกระบวนการขั้นตอนการชำระบัญชีและตามกฎหมายสหกรณ์รวมทั้งคำสั่ง และ คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ จนสามารถถอนชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชำระบัญชีออกจาก ทะเบียนได้ เป้าหมาย : ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชำระบัญชี จำนวน 82 แห่ง โดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จ ดังนี้ 1) ร้อยละ 100 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างชำระบัญชีขั้นตอนที่ 3-4 ยกระดับสู่ขั้นตอนที่ 5 2) ร้อยละ 25 ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทั้งหมดที่อยู่ระหว่างการชำระบัญชี สามารถถอนชื่อได้ (ไม่รวมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในขั้นตอนที่ 6 (คดี) สามารถถอนชื่อได้ พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 29,000.00 บาท 29,000.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดำเนินการชำระบัญชีตามคู่มือการชำระบัญชีกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และคำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง มีการประชุมติดตามความก้าวหน้า การชำระ บัญชี เพื่อรับทราบประเด็นปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงาน เพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกันในหน่วยงาน รวมถึง ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดในการขับเคลื่อนการชำระบัญชีร่วมกับสำนักงาน ตรวจบัญชีสหกรณ์เลย และ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยได้ดำเนินการจัดประชุมเพื่อกำหนดเป้าหมายร่วมกัน รวมถึงติดตามความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคในการชำระบัญชีทั้งในส่วนของผู้ชำระบัญชีและผู้สอบบัญชี ตลอดจนเพื่อพัฒนาศักยภาพการ ชำระบัญชีของผู้ชำระบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้สามารถดำเนินการชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรจนสามารถถอนชื่อออกจากทะเบียนได้โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สามารถดำเนินการถอนชื่อ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรที่ชำระบัญชีออกจากทะเบียน จำนวนทั้งสิ้น 20 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 24.39 2.6) การชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 42 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยมีผลการปฏิบัติงานชำระ บัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่สามารถดำเนินการถึงขั้นตอนที่ 10 ซึ่งได้รับการถอนชื่อจากทะเบียนจำนวน 20 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 24.39 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สามารถดำเนินการชำระบัญชีตามขั้นตอนที่ กำหนดตามคู่มือการชำระบัญชี กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และคำแนะนำของนายทะเบียนสหกรณ์ 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค : ปัญหาอุปสรรคในการชำระบัญชีโดยส่วนใหญ่จะเป็นการดำเนินการใน ขั้นตอนการจัดทำงบการเงิน ณ วันเลิก ตามมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม เนื่องจากสหกรณ์ที่เลิกไม่สามารถปิดบัญชีได้เป็นระยะเวลานานเมื่อเลิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจึงทำให้ เอกสารการบันทึกบัญชีที่ผู้ชำระบัญชีได้รับมอบไม่ครบถ้วน เอกสารสูญหาย หรือไม่มีเอกสารในการจัดทำงบ การเงิน แนวทางแก้ไข : สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยจัดประชุมเพื่อร่วมหารือกับสำนักงานตรวจ บัญชีสหกรณ์เลย เพื่อร่วมกันหาแนวทาง กรณีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ไม่มีเอกสาร หรือไม่เอกสารไม่ ครบถ้วน ให้ผู้ชำระบัญชีตรวจสอบ ค้นหาเอกสารที่มีอยู่เสียก่อน ว่ามีเอกสารใด หากได้ดำเนินการค้นหาจนถึงที่สุด แล้ว ให้ผู้ชำระบัญชีทำหนังสือถึงสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เลย เพื่อขอเอกสารมาใช้ประกอบการชำระบัญชี (งบการเงิน พร้อมเอกสารประกอบ) หรือหากไม่สามารถค้นหาเอกสารต่าง ๆ ได้ ให้ดำเนินการตามกรณีตัวอย่าง ของร้านสหกรณ์ห้วยขวาง จำกัด อยู่ในคู่มือการชำระบัญชี และให้ผู้ชำระบัญชีประสานกับผู้สอบบัญชีที่ รับผิดชอบอย่างต่อเนื่องจนสามารถถอนชื่อออกจากทะเบียน และในปีงบประมาณ 2566 สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดเลยจัดประชุมร่วมกับสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ เพื่อหารือถึงปัญหาอุปสรรค และติดตาม ความก้าวหน้าการชำระบัญชีจากทั้งผู้ชำระบัญชีและผู้สอบบัญชี จำนวน 5 ครั้ง รูปภาพกิจกรรมการดำเนินการ
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 43 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อวัดความเป็นสถาบันสหกรณ์ อันเป็นองค์กรของมวลสมาชิก 2. เพื่อประเมินศักยภาพในการดำเนินงานของสหกรณ์ ผลจากการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ จะสะท้อนให้เห็นว่าสหกรณ์มีจุดอ่อนจุดแข็งอย่างไร มีศักยภาพที่จะอำนวยบริการอันเป็นประโยชน์แก่สมาชิก ซึ่งเป็นเจ้าของสหกรณ์ได้ดีเพียงใด มีความสามารถในการบริหารจัดการมากน้อยเพียงใด 3. เพื่อแบ่งระดับสหกรณ์ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์เป็นข้อมูลเบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์ในการใช้แบ่งระดับสหกรณ์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพข้อเท็จจริงและ สอดคล้องกับความต้องการของสหกรณ์เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งก้าวหน้าแก่สหกรณ์ต่อไป เป้าหมาย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐานผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ 1. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - สหกรณ์ที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 55 แห่ง 2. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 - กลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 42 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย 2. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ สหกรณ์แล่ะกลุ่มเกษตรกรผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งประกอบด้วย 1) เกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์7 ข้อ ข้อที่ 1 ผลการดำเนินงานในรอบสองปีบัญชีย้อนหลัง สหกรณ์มีผลการดำเนินงานไม่ขาดทุน เว้นแต่ปีใดมีอุทกภัยหรือภัยธรรมชาติ จนเกิดความเสียหายต่อสมาชิกและสหกรณ์โดยรวมให้ตัดปีนั้นออก ข้อที่ 2 ผลการดำเนินงานในรอบสองปีบัญชีย้อนหลัง ไม่มีการกระทำอันถือว่าทุจริตต่อ สหกรณ์ ข้อที่ 3 การดำเนินงานในรอบสองปีบัญชี สหกรณ์จัดทำงบการเงินแล้วเสร็จและส่งให้ผู้สอบ บัญชีตรวจสอบนำเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ของสหกรณ์ภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับจากวันสิ้นปีทาง บัญชี ข้อที่ 4 ผลการดำเนินงานในรอบปีสุดท้าย สหกรณ์ต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของ สมาชิกทั้งหมดทำธุรกิจกับสหกรณ์ 2.7) งานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 44 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” ข้อที่ 5 ต้องจัดจ้างเจ้าหน้าที่สหกรณ์ปฏิบัติงานประจำรับผิดชอบการดำเนินการและธุรกิจของ สหกรณ์หากไม่มีการจัดจ้างต้องมีกรรมการดำเนินการหรือสมาชิกได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ประจำ ข้อที่ 6 ผลการดำเนินงานในรอบสองปีย้อนหลัง สหกรณ์ต้องมีการจัดสรรกำไรสิทธิ และจ่าย ทุนสวัสดิการสมาชิกหรือทุนสาธารณประโยชน์อย่างน้อยหนึ่งครั้ง ข้อที่ 7 ผลการดำเนินงานในรอบปีสุดท้าย สหกรณ์ต้องไม่กระทำการอันเป็นการฝ่าฝืน กฎหมายระเบียบหรือคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ 2) เกณฑ์การจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร (1) คณะกรรมการดำเนินการจัดให้มีการจัดทำงบดุลรอบสิบสองเดือนแล้วเสร็จ และจัด ให้มีผู้สอบบัญชีตรวจสอบได้ภายใน 150 วัน ตามกฎหมาย (2) ไม่มีข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับรายการข้อบกพร่องทางการเงินและบัญชีอย่าง ร้ายแรง (3) มีการทำธุรกิจหรือบริการอย่างน้อย 1 ชนิด (4) มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปีภายในกำหนดเวลา 150 วัน ตามกฎหมาย (5) มีกำไรสุทธิประจำปีและมีการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีตามกฎหมาย ทั้งนี้ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจะต้องผ่านหลักเกณฑ์ประเมินมาตรฐานผลการ ดำเนินงานตามรายละเอียดเกณฑ์ข้างต้น หากไม่ผ่านข้อใดข้อหนึ่ง ถือว่า ไม่ผ่านมาตรฐาน และมีตัวชี้วัด โครงการ ดังนี้ 1) สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2) กลุ่มเกษตรกรที่นำมาจัดมาตรฐาน ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 3. กระบวนงาน/การดำเนินงาน 1.ศึกษาแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและแนวทาง การดำเนินการประเมินและจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ 3. ข้าราชการผู้ดูแลสหกรณ์ทำการประเมินสถานะสหกรณ์ทุกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและ บันทึกข้อมูลเข้าระบบประเมินมาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้ครบทุกแห่ง ภายใน 15 ธันวาคม 2565 4. ข้าราชการผู้ดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการประเมินมาตรฐาน สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามแบบประเมินเมื่อสหกรณ์ประชุมใหญ่แล้วเสร็จ ภายใน 2 วันทำการ 5. จัดประชุมรับทราบผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ดำเนินจัดทำข้อมูลการประเมินและจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพื่อเสนอในที่ ประชุมประจำเดือน
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 45 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 6. ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกข้อมูล 7. ทำหนังสือรับรองและยืนยันการปฏิบัติงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย จัดทำหนังสือ รับรองและยืนยันผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประจำปี2566ส่งให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ ภายในวันที่ 8 กันยายน 2566 8. จัดพิมพ์ประกาศผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจากเว็บไซต์ของกรม ส่งเสริมสหกรณ์และติดประกาศที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยพร้อมทั้งแจ้งผลการจัดมาตรฐานให้ผู้อำนวยการ กลุ่มทุกกลุ่มทราบ 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2566 (ตารางที่ 1.1) 2. ผลการจัดระดับมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรประจำปี 2566 (ตารางที่ 1.2) ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์สามารถสะท้อนถึงผลการดำเนินงาน 2.สามารถใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนามาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีมาตรฐานในระดับที่ดีขึ้น ตารางที่ 1.1 ผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ประจำปี 2566 ที่ ประเภท จำนวน สหกรณ์ที่ สำรวจ (แห่ง) ไม่นำมาจัดมาตรฐาน (แห่ง) นำมาจัด มาตรฐาน (แห่ง) ผลการจัดมาตรฐาน (แห่ง) ไม่ครบ 2 ปี หยุด ชำระ บัญชี ผ่าน ไม่ผ่าน 1 สหกรณ์การเกษตร 80 1 2 41 36 21 15 2 สหกรณ์ออมทรัพย์ 12 - - 3 9 7 2 3 สหกรณ์ร้านค้า 2 - - 2 - - - 4 สหกรณ์บริการ 12 - - 2 10 3 7 5 สหกรณ์เครดิตยู เนี่ยน 2 - - 2 - - - รวม 108 1 2 50 55 31 24
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 46 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” ตางรางที่ 1.2 ผลการจัดระดับมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรประจำปี2566 ที่ ประเภท จำนวน กลุ่ม เกษตรกร ที่สำรวจ (แห่ง) ไม่นำมาจัดมาตรฐาน (แห่ง) นำมาจัด มาตรฐาน (แห่ง) ผลการจัดมาตรฐาน (แห่ง) ไม่ครบ 2 ปี หยุด ชำระ บัญชี ผ่าน ไม่ผ่าน 1 กลุ่มเกษตรกรทำนา 10 - - 3 7 6 1 2 กลุ่มเกษตรกรทำสวน 26 - 5 3 18 13 5 3 กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 30 - 5 9 16 12 4 4 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 - - 1 1 1 - 5 กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ 1 - 1 - - - - รวม 69 - 11 16 42 32 10 5. ปัญหาอุปสรรคของการดำเนินงาน 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจน้อยละ ปริมาณธุรกิจของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรลดลง ทำให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประสบปัญหาการขาดทุนและไม่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐาน 2) การเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิตของสินค้าและบริการ ทำให้ราคาสินค้าและบริการเพิ่ม สูงขึ้น แต่ในขณะที่ผลผลิตด้านการเกษตรของสมาชิกสหกรณ์มีการขยายตัวน้อยกว่าต้นทุนที่เกิดขึ้น ทำให้ สมาชิกประสบปัญหาการขาดทุน ส่งผลกระทบโดยตรงกับธุรกิจสินเชื่อของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับ การชำระหนี้จากลูกหนี้สมาชิกน้อยลง ทำให้เกิดการขาดทุนเพิ่มมากขึ้น 6. แนวทางแก้ไข หรือข้อเสนอแนะ 1) หน่วยงานภาครัฐต้องมีการบูรณาการเข้าช่วยเหลือสหกรณ์ทั้งในด้านเงินทุนเพื่อช่วยเหลือ สมาชิกและองค์ความรู้ การบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดต้นทุนค่าใช้จ่าย เพื่อให้เกิดกำไรมากขึ้น 2) เพิ่มองค์ความรู้ใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาแนวคิดการดำเนินงานของบุคลากรสหกรณ์ เพื่อให้เกิด การแก้ไขหรือปรับปรุงการดำเนนิงาน หรือสร้างสรรค์แนวทางการดำเนินธุรกิจใหม่ ๆ เน้นการให้ความช่วย เหลือสมาชิกเป็นหลักตามแนวทางสหกรณ์ ภาพกิจกรรม
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 47 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น 2. คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลการดำเนินงานดีเด่นตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด เป้าหมาย สหกรณ์นอกภาคการเกษตรกร จำนวน 2 แห่ง สหกรณ์ภาคการเกษตรกร จำนวน 2 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จำนวน 2 แห่ง รวม 6 แห่ง ประกอบด้วย 1. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จำกัด 2. สหกรณ์ออมทรัพย์องค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรเอราวัณ จำกัด 4. สหกรณ์กองทุนสวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด 5. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.ตำบลโคกใหญ่ 6. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.บ้านกำพี้ พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : จังหวัดเลย 2. ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน 2) ควบคุมค่าใช้จ่ายงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด 3. กระบวนงาน 1. จัดทำแผนปฏิบัติงาน และแต่งตั้งคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สู่ดีเด่นและคณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด 2. กำหนดจำนวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป้าหมายเพื่อเสนอเข้ารับการคัดเลือกเป็นสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรดีเด่น โดยเลือกจาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานสหกรณ์ ชั้นความ เข้มแข็งในระดับ และมีเสถียรภาพทางการเงินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป 3. ร่วมประชุมคณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพื่อชี้แจง และทำความเข้าใจหลักเกณฑ์ การประเมิน 2.8) งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่นแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 48 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 4. ส่งเสริม แนะนำสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อพัฒนาสู่ดีเด่น 5. จัดประชุมคณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด ส่งเข้า ประกวดระดับภาค และระดับชาติ ต่อไป 6. รายงานผลการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นถึงส่งเสริมสหกรณ์ ภายในเวลาที่กำหนด ซึ่งผลการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด มีจำนวน 3 แห่ง ดังนี้ 1) สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จำกัด 2) สหกรณ์กองทุนสวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด 3) กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท. บ้านกำพี้ 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ปี 2565/2566 ผลการพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น สหกรณ์ กองทุน สวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด ได้รับรางวัลสหกรณ์ดีเด่นระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเภท สหกรณ์ผู้ผลิตยางพารา และกลุ่มเกษตรกรทำสวนยาง กยท.ตำบลโคกใหญ่ ได้รับการคัดเลือกเป็นกลุ่ม เกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ลำดับที่ 3 ได้รับรางวัลเป็นเงินอุดหนุน จำนวน 30,000 บาท 2. ปี2566/2567 ดำเนินโครงการฯ เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มี ผลงานดีเด่นระดับจังหวัดเพื่อเสนอคณะกรรมการดำเนินการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับภาค จำนวน 3 แห่ง คือ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลเลย จำกัด 2. สหกรณ์กองทุนสวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด 3. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.บ้านกำพี้ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานสู่ดีเด่น จำนวน 6 แห่ง 2. ดำเนินการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค : เอกสารประกอบการพิจารณามีรายละเอียดค่อนข้างมากกลุ่มเป้าหมายที่ คัดเลือกเข้าร่วมโครงการฯมีน้อย แนวทางแก้ไข : ดำเนินการแนะนำ ส่งเสริมสนับสนุนสหกรณ์ให้เข้าใจหลักเกณฑ์ แนว ทางการดำเนินกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง มีบูรณาการร่วมกันทั้งสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริม และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการฯ เกิดผลลัพธ์ทั้ง เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 49 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” รูปภาพกิจกรรมการดำเนินการ ภาพกิจกรรมผู้ว่าราชการจังหวัดเลย มอบรางวัล ให้แก่ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่น สหกรณ์กองทุน สวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด ได้รับรางวัลสหกรณ์ดีเด่น ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเภท สหกรณ์ผู้ผลิตยางพารา และกลุ่มเกษตรกรทำสวนยาง กยท.ตำบลโคกใหญ่ ได้รับการคัดเลือกเป็นกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ลำดับที่ 3 ได้รับรางวัลเป็นเงินอุดหนุน จำนวน 30,000 บาท ภาพกิจกรรมจัดประชุมคณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด ส่งเข้าประกวด ระดับภาค และระดับชาติ
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 50 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการเกษตร ➢ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า 1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรนำเทคโนโลยีและ นวัตกรรมนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมการแปรรูปสินค้าเกษตรมาใช้ในการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรสร้าง ความหลากหลายของสินค้า รวมทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะการผลิตการรวบรวมการแปรรูปรวมทั้งการบริหาร จัดการผลิตการตลาดแก่สหกรณ์ภาคการเกษตรและเกษตรกรให้เป็นที่พึ่งในการแก้ไขปัญหาการตลาดสินค้า เกษตรในชุมชนและเชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจการผลิต การตลาด 2. เป้าหมาย : 1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านห้วยผักกูด (สังกัดสหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.เลย จำกัด) 2. กลุ่มเกษตรกร กยท.ทำสวนยางบ้านสูบ 3. ผลงานดำเนินงาน 1. ติดตาม แนะนำ ส่งเสริม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านห้วยผักกูด สังกัด สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค.เลย จำกัด อำเภอปากชม จังหวัดเลย ที่ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์แปรรูป ปี 2563 เครื่องอบลมร้อน 6 ถาด และเครื่องอัดกระป๋อง ให้มีการใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ และ ดำเนินการตามแผนการผลิตที่ได้กำหนดไว้โดยมีการรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร จากสมาชิกสหกรณ์และ เครือข่ายโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร อำเภอปากชม มาแปรรูปเพื่อเพิ่ม มูลค่าสินค้า ต่อยอดผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ตรงตามความต้องการของลูกค้าอีกด้วย 2. ติดตาม แนะนำ ส่งเสริม กลุ่มเกษตรกร กยท.ทำสวนยางบ้านสูบ อำเภอเมือง จังหวัดเลย ที่ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์แปรรูปยางพารา เครื่องเครปยางขนาด 1.5 ตัน/ชั่วโมง ให้มีการวางแผนการใช้งาน และแผนการบำรุงรักษา เพื่อให้สามารถใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพตลอดอายุการใช้งาน 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกรบ้านห้วยผักกูด มีอัตราการขยายตัวของข้อมูลสินค้า เกษตรแปรรูปขยายตัวมากขึ้นถึง 58 % เป้าหมายที่ตั้งไว้ 3% ยอดจำหน่ายปี 2565 ยอดจำหน่าย 154,600 1) โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 51 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” บาท เปรียบเทียบกับยอดจำหน่าย ปี 2566 ยอดจำหน่าย 204,100 บาท การขยายตัวขึ้นจากปีก่อนเนื่องจาก ปัจจุบันการตลาดมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการเพิ่มช่องทางการจำหน่าย ทั้งออนไลน์ และออฟไลน์ จำหน่ายหน้าร้าน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่คลายลงทำให้การขนส่งสินค้าสะดวกขึ้น และยอดจำหน่ายสินค้าเพิ่มสูงขึ้น 2. กลุ่มเกษตรกร กยท.ทำสวนยางบ้านสูบ มีผลการรวบรวมและขายยางเครป ดังนี้ ผลการจำหน่ายยางเครป ปีงบประมาณ ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) 2562 413.90 11.40 2563 516.84 6.79 2564 317.04 8.03 2565 321.21 9.42 2566 349.47 11.33 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : 1. พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์เพิ่มขีด ความสามารถในการดำเนินธุรกิจแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ยกระดับการพัฒนาคุณภาพผลผลิต การเพิ่ม ผลผลิต และการลดต้นทุนของกลุ่มเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ทำให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น 2. เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้หลากหลายมากขึ้น ทำให้สมาชิกมีรายได้ เพิ่มขึ้น 3. เพิ่มช่องทางการจำหน่ายและเพิ่มมูลค่าสินค้ายางพาราด้วยการนำยางก้อนถ้วยมาแปรรูป เป็นยางเครปที่มีมูลค่าสูงกว่า 5. ปัญหา อุปสรรค : การปรับตัวสูงขึ้นของราคาน้ำมันทำให้การแปรรูปยางก้อนถ้วยเป็นยางเครปมีต้นทุน สูงขึ้นในอนาคตการผลิตยางเครปอาจไม่คุ้มทุน 6.แนวทางการแก้ไข/ข้อเสนอแนะ:กลุ่มเกษตรกรฯ ต้องมีการคำนวณต้นทุนการผลิตอยู่เสมอ และเพิ่มการ ดำเนินธุรกิจการรวบรวมยางก้อนถ้วย การรวบรวมน้ำยางสด เพื่อบริการแก่เกษตรกรสมาชิก ภาพกิจกรรมการดำเนินการโครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 52 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการสินค้า เกษตรจากแหล่งผลิตเข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูปที่มีประสิทธิภาพ เป้าหมาย ทั้งสิ้น 20 คน ประกอบด้วย คณะกรรมการสหกรณ์การเกษตรเมืองเลย จำกัด จำนวน 5 คน เจ้าหน้าที่สหกรณ์การเกษตรเมืองเลย จำกัด จำนวน 3 คน สมาชิกผู้เลี้ยงโคนมสหกรณ์การเกษตรเมืองเลย จำกัด จำนวน 12 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการ สหกรณ์การเกษตรเมืองเลย จำกัด 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,100.00 บาท 9,100.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน 1. สหกรณ์บุคลากร และสมาชิกสหกรณ์ มีชุดข้อมูลการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่ง ผลิต เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูปที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 2. สหกรณ์ บุคลากร และสมาชิก มีแผนการส่งเสริมอาชีพเสริมหลังฤดูผลิตเก็บเกี่ยวผลผลิต หลักของสหกรณ์ ส่งผลให้เกษตรกรสมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น 4. ผลลัพธ์ บุคลากร สมาชิกสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย มีองค์ความรู้ความ เข้าใจและมีชุดข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต (แปลงเกษตรกร เกษตรกรสมาชิก สถาบันเกษตรกร) เข้าสู่กระบวนการรวบรวมและแปรรูปที่มีประสิทธิภาพด้วยระยะเวลาที่ น้อยลงและค่าใช้จ่ายที่ลดลง ภาพกิจกรรม การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายผู้ผลิต พร้อมจัดทำแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตรจากแหล่งผลิต 2) โครงการยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการธุรกิจเกษตร
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 53 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. ส่งเสริมแปลงใหญ่ให้มีการบริหารจัดการกลุ่มร่วมกัน การรวมกลุ่มผลิต การ จำหน่ายตลอดห่วงโซ่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตและการแปรรูป เพื่อลดต้นทุนการ ผลิต และเพิ่มผลผลิต 2. สนับสนุนและเชื่อมโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซื้อ ให้มีตลาดรองรับที่ แน่นอนและเพิ่มช่องทางการจำหน่าย เป้าหมาย 1. แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรจำนวน 6 แปลง กิจกรรม จัดประชุมบริการจัดการร่วมกันตลอดห่วงโซ่ ลำดับที่ เดือน/ปี สหกรณ์ 1 20 มกราคม 2566 สหกรณ์กองทุนสวนยางศรีอุบล จำกัด 2 9 กุมภาพันธ์2566 สหกรณ์ กยท. บึงสวรรค์ก้าวหน้า จำกัด 3 21 กุมภาพันธ์ 2566 สหกรณ์กองทุนสวนยางเอราวัณพัฒนา จำกัด 4 23 กุมภาพันธ์ 2566 สหกรณ์กองทุนสวนยางนาวัวพัฒนา จำกัด 5 14 มีนาคม 2566 สหกรณ์กองทุนสวนยางภูเรือ ด่านซ้าย นาแห้ว จำกัด 6 17 มีนาคม 2566 สหกรณ์กองทุนสวนยาง กยท.บ้านน้ำพร จำกัด 2. แปลงใหญ่ทั่วไปที่จัดตั้งปี 2564 จำนวน 7 แปลง (แปลงสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และแปลงใหญ่ทั่วไป) กิจกรรม บูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ ในการสนับสนุนส่งเสริมการดำเนินงานและการเชื่อมโยงตลาด ลำดับ ที่ ชื่อแปลง 1 แปลงใหญ่ขึ้นฉ่าย ซำกกค้อ ม.7 ต.โนนปอแดง อ.ผาขาว จ.เลย 2 แปลงใหญ่ลำไย หมู่ 2 ต.น้ำสวย อ.เมืองเลย จ.เลย 3 แปลงใหญ่ไผ่เลี้ยง หมู่ 11 ต.ศรีฐาน อ.ภูกระดึง จ.เลย 4 แปลงใหญ่ยางพารา กลุ่มเกษตรกร กยท.หัวฝายพัฒนายาง ต.เอราวัณ อ.เอราวัณ จ.เลย 5 แปลงใหญ่ข้าวไร่ ม.2 ต.กกสะทอน อ.ด่านซ้าย จ.เลย 6 แปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์กองทุนสวนยางภูเรือ ด่านซ้าย นาแห้ว จำกัด ต.นาโป่ง อ.ด่านซ้าย จ.เลย 7 แปลงใหญ่กาแฟปากชม ม.3 ต.ห้วยพิชัย อ.ปากชม จ.เลย 3. โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 54 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1. แปลงใหญ่ในสถาบันเกษตรกรในจังหวัดเลย จำนวน 6 แปลง 2. แปลงใหญ่ทั่วไปที่จัดตั้งในปี พ.ศ. 2564 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 13,000.00 บาท 13,000.00 บาท 100 3.ผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ผู้เข้าประชุมได้รับทราบถึงแนวทางการดำเนินโครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน 46 คน 2. สหกรณ์ทั้ง 6 แห่ง สามารถจัดทำแผนการผลิตและแผนการตลาดของตนเองได้ 3. แปลงใหญ่ที่จัดตั้งขึ้นในปี 2564 จำนวน 7 แปลง ได้รับความรู้ในการบริหารการจัดการกลุ่ม ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ทั้ง 6 แห่ง มีแผนการผลิตและแผนการตลาด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อเป็นแนวทาง ในการดำเนินงาน 2. แปลงใหญ่ที่จัดตั้งขึ้นในปี2564 จำนวน 7 แปลงมีแนวทางในการบริหารการจัดการผลผลิตของกลุ่ม 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข มีผู้สนใจเข้าร่วมประชุมมากกว่าที่กำหนดไว้ ควรมีเป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุมจากกลุ่มละ 5 คน เป็น 10 คน 5.ภาพในการดำเนินกิจกรรม กิจกรรม 1. วิเคราะห์การจัดทำแผนรายแปลงและจัดทำแผนธุรกิจ ปรับปรุงข้อมูลและติดตามผล กิจกรรม 2. ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสำคัญและวิธีการดำเนินงานตามโครงการแปลงใหญ่ กิจกรรม 3. อบรมการส่งเสริมการทำเกษตรแปลงใหญ่ตามชนิดพืช 1. แปลงใหญ่ขึ้นฉ่าย ชำกกค้อ ม.2 7 ต.โดนปอแดง อ.ผาขาว จ.จังหวัดเลย วันที่ 8 ธันวาคม 2566 ณ เครือข่าย ศพก.(สวนสานฝัน) ม.4 ต.ผาขาว อ.ผาขาว จ.เลย
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 55 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 2. แปลงใหญ่ลำไย ม. 2 ต.น้ำสวย อ.เมือง จ.เลย วันที่ 6 ธันวาคม 2565 ณ วัดป่าประชาสรรพ์ ม.2 ต.น้ำสวย อ.เมือง จ.เลย 3.แปลงใหญ่ไผ่เลี้ยง หมู่ 11 ต.ศรีฐาน อ.ภูกระดึง จ.เลย วันที่14 ธันวาคม 2566 ณ แปลงใหญ่ไผ่เลี้ยง ม.11 ต.ศรีฐาน อ.ภูกระดึง จ.เลย 4. แปลงใหญ่ยางพารา กลุ่มเกษตรกร กยท.หัวฝายพัฒนายาง ต.เอราวัณ จ.เลย วันที่ 20 ธันวาคม 2566 ณ แปลงใหญ่ยางพารา กลุ่มเกษตรกร กยท.หัวฝายพัฒนายาง ต.เอราวัณ จ.เลย 5. แปลงใหญ่ข้าวไร่ ม.2 ต.กกสะทอน อ.ด่านซ้าย จ.เลย วันที่ 20 – 21 ธันวาคม 2566 ณ แปลงใหญ่ข้าวไร่ ม.2 ต.กกสะทอน อ.ด่านซ้าย จ.เลย
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 56 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 6. แปลงใหญ่ยางพาราสหกรณ์กองทุนสวนยางภูเรือ ด่านซ้าย นาแห้ว จำกัด ต.นาโป่ง อ.ด่านซ้าย จ.เลย วันที่ 22 ธันวาคม 2566 ณ วันศรีพรหม บ.ทุ่งเทิง ต.โป่ง อ.ด่านซ้าย จ.เลย 7. แปลงใหญ่กาแฟปากชม ม.3 ต.ห้วยพิชัย อ.ปากชม จ.เลย วันที่ 28 ธันวาคม 2566 ณ สำนักงานเกษตรอำเภอปากชม อ.ปากชม จ.เลย 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่จำเป็นต่อการยกระดับความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อจัดทำแผนการพัฒนา/ยกระดับความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย กลุ่มเกษตรกรทำไร่ท่าสะอาด จำนวน 20 คน ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนสถาบันเกษตรกร 19 คน เจ้าหน้าที่ 1 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการ ณ วัดมณีชลขันธ์ ตำบลท่าสะอาดอำเภอนาด้วงจังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 12,800.00 บาท 12,800.00 บาท 100 4) โครงการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันเกษตรกร
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 57 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 3. ผลการดำเนินงาน 1.คัดเลือกสถาบันเกษตรกรเป้าหมาย โดยประเมินความพร้อมของสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย และประสานงานเพื่อให้เข้าร่วมโครงการ 2.วิเคราะห์สภาพปัญหา คะแนนการประเมินความเข้มแข็ง แนวโน้มการพัฒนาของสถาบัน เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อนำข้อมูลไปวางแผนส่งเสริมพัฒนายกระดับชั้นความเข้มแข็ง 3. จัดประชุม/อบรม เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ที่จำเป็นและจัดทำแผนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็ง 4. ติดตามผลของการยกระดับชั้นความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วยผู้แทนสถาบันเกษตรกร 19 คน และเจ้าหน้าที่ 1 คน ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้เข้าประชุมได้ทราบถึงเกณฑ์การยกระดับชั้นกลุ่มเกษตรกรและสามารถจัดทำแผนการ พัฒนาความเข้มแข็งของกลุ่มเกษตรกร ภาพกิจกรรม
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 58 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการดำเนินภารกิจยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ ➢ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจให้กรรมการ ฝ่ายจัดการและทีมปฏิบัติการของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในการดำเนินโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ในการบริหารจัดการสินเชื่อที่มีประสิทธิภาพ การแก้ไขปัญหา หนี้ค้างชำระ และการส่งเสริมอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้แก่สมาชิก 3. เพื่อติดตามประเมินผลโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิก สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์ เป้าหมาย คณะกรรมการดำเนินงาน ผู้จัดการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สินเชื่อ และเจ้าหน้าที่สำนักงาน สหกรณ์จังหวัด จำนวน 43 คน ประกอบด้วย 1. กรรมการดำเนินการสหกรณ์ผู้จัดการสหกรณ์หรือเจ้าหน้าที่สินเชื่อสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรเป้าหมาย จำนวน 10 แห่ง ๆ ละ 2 คน รวม 20 คน 2. เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยและทีมงานส่งเสริมการแก้ไขปัญหาหนี้ (ทีมโค้ช) จำนวน 23 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดเลย ที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 10 และเจ้าหน้าที่ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ทีมส่งเสริมการแก้ไขปัญหาหนี้ (ทีมโค้ช) แห่ง 43 ราย รายละเอียด ดังนี้ 1. กลุ่มเกษตรกรทำนาโนนป่าซาง อำเภอผาขาว จังหวัดเลย 2. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ศรีสงคราม อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย 3. สหกรณ์การเกษตรผู้ปลูกไม้ผลภูหลวง จำกัด อำเภอภูหลวง จังหวัดเลย 4. สหกรณ์การเกษตรเชียงกลม จำกัด อำเภอปากชม จังหวัดเลย 5. สหกรณ์การเกษตร กรป. กลาง นพค.เลย จำกัด อำเภอปากชม จังหวัดเลย 1) โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรด้วยระบบสหกรณ์
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 59 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 6. สหกรณ์ผู้ใช้น้ำท่าลี่ จำกัด อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย 7. สหกรณ์กองทุนสวนยางท่าลี่จำกัด อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย 8. กลุ่มเกษตรกรปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพหมู่9 อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย 9. สหกรณ์การเกษตรภูเรือ จำกัด อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 10. กลุ่มเกษตรกรบ้านท่าศาลา อำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน (เงินในงบประมาณ) 15,300.00 บาท 15,300.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยได้ดำเนินการ ดังนี้ 2.1 แต่งตั้งคณะทำงานแก้ไขปัญหาหนี้ค้างชำระของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทีมระดับจังหวัดเลย 2.2 แต่งตั้งทีมงานส่งเสริมการแก้ไขปัญหาหนี้ (ทีมโค้ช) 2.3จัดประชุมชี้แจงโครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้วย ระบบสหกรณ์ เพื่อซักซ้อมแนวทางปฏิบัติในการขับเคลื่อนโครงการให้แก่เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยที่ได้รับ มอบหมาย ทีมส่งเสริมการแก้ไขปัญหาหนี้ (ทีมโค้ช) 2.4 ทีมโค้ชลงพื้นที่แนะนำ ส่งเสริม ติดตาม ผลการดำเนินงานตามโครงการฯ 2.3 สรุปผลการดำเนินงาน จำนวน 10 แห่ง ตามรายละเอียดดังนี้
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 60 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สรุปผลการดำเนินงานเป้าหมายสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตามที่เข้าร่วมโครงการแก้ไข ปัญหาหนี้สินและพัฒนาคุณภาพชีวิตสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ด้วยระบบสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 จำนวน 10 แห่ง มีมูลหนี้ค้างทั้งสิ้น 71,867,386.87 บาท หนี้ค้างที่ได้รับการแก้ไขทั้งสิ้น 4,960,504.49 คิดเป็นค่าร้อยละ 24.29 ผ่านตัวชี้วัดที่กรมกำหนด ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีการบริหารจัดการสินเชื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สมาชิกมีความสามารถแก้ไขปัญหาหนี้สินค้างชำระได้ มีการส่งเสริมอาชีพให้ สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นและสามารถจัดการแก้หนี้ของตนเองได้ 3. สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการฯ มีภาระหนี้ค้างลดลงเฉลี่ย ร้อยละ 10 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1. เจ้าหน้าที่สินเชื่อและสมาชิก ยังไม่มีความเข้าใจในการจัดการหนี้ 2. สมาชิกที่เป็นหนี้ค้างบางรายเสียชีวิต สหกรณ์/กลุ่มเกษตร ไม่สามารถหาผู้รับผิดชอบหนี้แทนได้ แนวทางแก้ไข 1. เจ้าหน้าที่สินเชื่อต้องทำความเข้าใจในการจัดการหนี้กับสมาชิกเป็นราย ๆ โดยการนำมาจัด ว่าควรแยกหนี้ให้อยู่ระดับใด เช่น ควรนำไปปรับปรุงโครงสร้างหนี้เพื่อให้โอกาสกับสมาชิกที่มีความผ่อนหนี้ให้ น้อยลง หรือไกล่เกลี่ยเจรจาหนี้ว่าจะหาแนวทางออกที่ดีที่สุดสำหรับสหกรณ์และตัวสมาชิก ฯลฯ 2. เจ้าหน้าที่สินเชื่อควรลงพื้นที่ติดตามหาทายาทผู้รับผิดชอบหนี้แทน หากทายาทไม่มีเงินก้อน ชำระหนี้ควรให้ทายาทสมัครเป็นสมาชิกเพื่อจะได้กู้เพื่อรับสภาพหนี้แทนผู้เสียชีวิต รูปภาพกิจกรรมการดำเนินการ
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 61 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิก สหกรณ์/สหกรณ์ 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีโอกาสนำเงินส่วนที่ได้รับการช่วยเหลือ ไปหมุนเวียนไว้ใช้จ่ายในครอบครัว เป้าหมาย สหกรณและกลุ่มเกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการ 17 แห่ง รวมทั้งสิ้น 11,398 ราย ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยได้รับการจัดสรรงบประมาณทั้งสิ้นจำนวน 6,605,039.68 บาท พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : สหกรณ์15 แห่ง / กลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ เงินอุดหนุน 6,605,039.68 บาท 6,605,039.68 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ ได้ดำเนินการตรวจสอบ คุณสมบัติของสมาชิกตามหลักเกณฑ์และดำเนินการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรรให้กับ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร รวม 2 งวด รวมเป็นเงินทั้งสิ้นจำนวน 6,605,039.68 บาท ดังนี้ ที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เงินอุดหนุน (บาท) จำนวนราย 1 สหกรณ์การเกษตรกรป.กลาง นพค.เลย จำกัด 401,045.25 801 2 สหกรณ์การเกษตรด่านซ้าย จำกัด 241,160.65 531 3 สหกรณ์การเกษตรท่าลี่ จำกัด 197,326.47 537 4 สหกรณ์การเกษตรนาด้วง จำกัด 350,694.41 467 5 สหกรณ์การเกษตรผาขาว จำกัด 109,854.62 413 6 สหกรณ์การเกษตรภูกระดึง จำกัด 142,670.71 394 7 สหกรณ์การเกษตรผู้ปลูกไม้ผลภูหลวง จำกัด 11,970.28 60 8 สหกรณ์การเกษตรภูเรือ จำกัด 251,965.32 451 9 สหกรณ์การเกษตรภูหลวง จำกัด 435,204.05 782 10 สหกรณ์การเกษตรเมืองเลย จำกัด 2,889,454.86 3,590 2)โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 62 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” ที่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เงินอุดหนุน (บาท) จำนวนราย 11 สหกรณ์การเกษตรวังสะพุง จำกัด 1,484,821.96 2,877 12 สหกรณ์การเกษตรเอราวัณ จำกัด 63,754.20 313 13 สหกรณ์ผู้ใช้น้ำท่าลี่ จำกัด 15,214.37 122 14 สหกรณ์ผู้ปลูกสับปะรดจังหวัดเลย จำกัด 2,931.94 17 15 สหกรณ์การเกษตร กยท.กกดู่รุ่งเรือง จำกัด 5,775.91 19 16 กลุ่มเกษตรกรทำสวนยางพาราเสี้ยว 307.05 3 17 กลุ่มเกษตรกรทำสวนหนองผือ 2,701.34 21 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับการอุดหนุนชดเชยดอกเบี้ย จำนวน 11,398 ราย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 6,605,039.68 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย 2. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีรายจ่ายลดลง มีเงินทุนหมุนเวียนในการ ประกอบอาชีพและไว้ใช้จ่ายในครอบครัวเพิ่มขึ้น 3. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการทยอยส่งชำระหนี้ให้แก่สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรบางแห่งจัดทำเอกสารการขอเบิกเงินชดเชยไม่ถูกต้อง ทำให้ การจัดส่งเอกสารล่าช้า ซึ่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยได้ชี้แจง ติดตาม แนะนำ การจัดทำเอกสารประกอบการ ขอเบิกเงินชดเชยให้ถูกต้องตามคู่มือการปฏิบัติงาน ภาพกิจกรรม
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 63 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านพลังทางสังคม ➢ แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม 1.1) โครงการศูนย์พัฒนาปศุสัตว์ตามพระราชดำริ 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กลุ่มชาวบ้านที่เข้าร่วมประชุมมีความรู้หลักการ อุดมการณ์และวิธีการ สหกรณ์ สามารถนำมาใช้ในการบริหารกลุ่มได้อย่างเข้าใจและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้กลุ่มชาวบ้านที่เข้าร่วมประชุมมีแนวทางการดำเนินงานกลุ่ม และสามารถ ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตได้ เพื่อสร้างความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนของชุมชน เป้าหมาย เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการศูนย์พัฒนาปศุสัตว์ตามพระราชดำริ บ้านเลยวังไสย์ ตำบลเลยวังไสย์ อำเภอภูหลวง จังหวัดเลย จำนวน 20 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการอำเภอภูหลวง จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ เงินดำเนินงาน 6,800.00 บาท 6,800.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน 3.1 ประสานกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการฯ เพื่อศึกษาวิเคราะห์บริบทของกลุ่มชาวบ้าน และ ร่วมหาแนวทางการพัฒนากลุ่มชาวบ้านให้พัฒนาตามศักยภาพ 3.2 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2566 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมขับเคลื่อนกลุ่ม ชาวบ้านในพื้นที่โครงการฯ ให้สามารถพัฒนาศักยภาพ ส่งเสริมการรวมกลุ่มให้เข้มแข็ง และเผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มและนำรูปแบบไปใช้ในการบริหารกลุ่ม โดย วิทยากรจากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 3.3 แนะนำส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มและติดตามประเมินผล 3.4 รายงานผลการดำเนินกิจกรรม 1) โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 64 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่การดูแลของศูนย์ปศุสัตว์ตามพระราชดำริ จังหวัดเลย บ้านเลย วังไสย์ตำบลเลยวังไสย์ อำเภอภูหลวง จังหวัดเลยเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการทั้งหมด 20 คน ตามเป้าหมาย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรบ้านเลยวังไสย์ หมู่ 1 ตำบลเลยวังไสย์ อำเภอภูหลวง จังหวัดเลย ได้รับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ ความรู้เกี่ยวกับการรวมกลุ่ม สามารถนำความรู้ ที่ได้รับมาสร้างแผนการบริหารงานและดำเนินกิจกรรมของกลุ่มในรูปแบบสหกรณ์ต่อไปได้ 5. ปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงานและแนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค เกษตรกรบ้านเลยวังไสย์ หมู่ 1 ตำบลเลยวังไสย์ อำเภอภูหลวง จังหวัดเลย ยังไม่มี ความพร้อมในการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลที่ถูกต้องตามกฎหมาย แนวทางแก้ไข จัดทำแผนการติดตามโครงการฯ เพื่อให้คำแนะนำส่งเสริมแก่เกษตรกร เกี่ยวกับการนำ รูปแบบสหกรณ์ไปใช้ในการบริหารกลุ่มธรรมชาติ ภาพกิจกรรมวันที่ 23 มีนาคม 2566 ได้ดำเนินการจัดประชุมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการศูนย์พัฒนาปศุสัตว์ตามพระราชดำริ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 65 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 1.2) โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้กลุ่มชาวบ้านที่เข้าร่วมประชุมมีความรู้หลักการ อุดมการณ์และวิธีการ สหกรณ์ สามารถนำมาใช้ในการบริหารกลุ่มได้อย่างเข้าใจและมีประสิทธิภาพ 2. เพื่อให้กลุ่มชาวบ้านที่เข้าร่วมประชุมมีแนวทางการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์การสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผลิตภัณฑ์ สามารถพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น เพื่อสร้างความเป็นอยู่ ที่ยั่งยืนของชุมชน เป้าหมาย : เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน บ้านหมากแข้ง ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย จังหวัด เลย จำนวน 20 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการอำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 6,800.00 บาท 6,800.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน 3.1 ประสานกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่โครงการฯ เพื่อศึกษาวิเคราะห์บริบทของกลุ่มชาวบ้าน และ ร่วมหาแนวทางการพัฒนากลุ่มชาวบ้านให้พัฒนาตามศักยภาพ 3.2 เมื่อวันพุธที่ 22 มีนาคม 2566 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อร่วมขับเคลื่อนกลุ่มชาวบ้านใน พื้นที่โครงการฯ ให้สามารถพัฒนาศักยภาพ ส่งเสริมการรวมกลุ่มให้เข้มแข็ง พัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มและนำรูปแบบไปใช้ใน การบริหารกลุ่ม โดยวิทยากรจากสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 3.3 แนะนำส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มและติดตามประเมินผล 3.4 รายงานผลการดำเนินกิจกรรม ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรบ้านหมากแข้ง หมู่ 4 ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ได้เข้า ร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ ฯ จำนวน 20 คน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 66 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” เกษตรกรบ้านหมากแข้ง หมู่ 4 ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย ได้รับความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ ความรู้เกี่ยวกับการรวมกลุ่ม และมีแนวทางในการ พัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นและการตลาด สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาสร้างแผนการบริหารงานและ ดำเนินกิจกรรมของกลุ่มในรูปแบบสหกรณ์ต่อไปได้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค เกษตรกรบ้านหมากแข้ง หมู่4 ตำบลกกสะทอน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ยังไม่มีความพร้อมใน การจดทะเบียนจัดตั้งเป็นนิติบุคคลที่ถูกต้องตามกฎหมาย แนวทางแก้ไข จัดทำแผนการติดตามโครงการฯ เพื่อให้คำแนะนำส่งเสริมแก่เกษตรกร เกี่ยวกับการเตรียมจัดตั้ง เป็นสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร และส่งเสริมการตลาดเพื่อพัฒนาสินค้าต่อไป ภาพกิจกรรม โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วันที่ 22มีนาคม 2566
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 67 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนและการส่งเสริมกลุ่มอาชีพประชาชนตาม พระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรมที่ 3 โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัต นราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ได้ดำเนินการกิจกรรมที่ 2 โครงการส่งเสริมสหกรณ์ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารีและกิจกรรมที่ 3 ได้จัดกิจกรรมทัศนศึกษาให้กับคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนพร้อมคณะครู ผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 โครงการทัศนศึกษาดูงานของนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนและโรงเรียนเพียงหลวงในจังหวัดเลย จำนวน 5 โรงเรียน ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 1 วัน ณ ไร่ธารธรรมศูนย์เรียนรู้การเกษตรจังหวัดเลย อำเภอเมือง จังหวัดเลย 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการศึกษาเพิ่มเติมจากการเรียนการสอนในห้องเรียนโดยศึกษาจากสถานที่ปฏิบัติจริง 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนได้นำความรู้จากประสบการณ์ศึกษาดูงานในครั้งนี้นำไปปรับใช้ในชีวิตจริงได้ เป้าหมาย คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน สมาชิกสหกรณ์ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 4 โรงเรียน และโรงเรียนเพียงหลวง จำนวน 1 โรงเรียน รวม 60 คน ดังนี้ 1 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านวังชมภู อำเภอเอราวัณ จำนวน 12 คน 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหมันขาว อำเภอนาแห้ว จำนวน 12 คน 3 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเฉลิมราษฎร์บำรุง อำเภอด่านซ้าย จำนวน 12 คน 4 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนาปอ อำเภอนาแห้ว จำนวน 12 คน 5 โรงเรียนเพียงหลวง 18 อำเภอเชียงคาน จำนวน 12 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 33,600.00 บาท 33,600.00 บาท 100
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 68 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 3. ผลการดำเนินงาน : นำคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนพร้อมคณะครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์ นักเรียนโรงเรียนสังกัดตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 4 โรงเรียน และโรงเรียนเพียงหลวง จำนวน 1 โรงเรียน เข้าศึกษาดูงานเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพและการเกษตร ณ ไร่ธารธรรม ศูนย์เรียนรู้การเกษตรจังหวัดเลย อำเภอเมือง จังหวัดเลย 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนและสมาชิก สหกรณ์นักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนและโรงเรียนเพียงหลวงในจังหวัดเลย จำนวน 5 โรงเรียน ได้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 60 คน คิดเป็น ร้อยละ 100 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ นักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับการศึกษาเพิ่มเติมจากการเรียนการสอนใน ห้องเรียน โดยได้รับความรู้จากการปฏิบัติจริง และได้นำความรู้จากประสบการณ์ศึกษาดูงานในครั้งนี้ ไปปรับใช้ ในชีวิตจริงได้ 5. ภาพกิจกรรม โครงการทัศนศึกษาดูงานของนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 1 วัน ณ ไร่ธารธรรมศูนย์เรียนรู้การเกษตรจังหวัดเลย อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 69 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” ครั้งที่ 2 โครงการทัศนศึกษาดูงานของนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย จำนวน 4 โรงเรียน ในวันที่ 24 กรกฎาคม 2566 จำนวน 1 วัน ณ ไร่ธารธรรมศูนย์เรียนรู้การเกษตรจังหวัดเลย อำเภอเมือง จังหวัดเลย 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการศึกษาเพิ่มเติมจากการเรียนการสอนในห้องเรียนโดยศึกษาจากสถานที่ปฏิบัติจริง 2. เพื่อให้เด็กนักเรียนได้นำความรู้จากประสบการณ์ศึกษาดูงานในครั้งนี้นำไป ปรับใช้ในชีวิตจริงได้ เป้าหมาย คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียน สมาชิกสหกรณ์ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจำนวน 4 โรงเรียน และโรงเรียนเพียงหลวง จำนวน 4 โรงเรียน รวม 48 คน ดังนี้ 6.1 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองแคน อำเภอนาด้วง จำนวน 12 คน 6.2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนนานกปีด อำเภอปากชม จำนวน 12 คน 6.3 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนฮิลมาร์พาเบิล อำเภอปากชม จำนวน 12 คน 6.4 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านห้วยเป้า อำเภอปากชม จำนวน 12 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 26,880.00 บาท 26,880.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน นำคณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนพร้อมคณะครูผู้รับผิดชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน โรงเรียน สังกัดตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 4 โรงเรียน เข้าศึกษาดูงานเกี่ยวกับการส่งเสริมอาชีพและการเกษตร ณ ไร่ธารธรรม ศูนย์เรียนรู้การเกษตรจังหวัดเลย อำเภอเมือง จังหวัดเลย 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ คณะกรรมการสหกรณ์นักเรียนและสมาชิก สหกรณ์นักเรียนโรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนและโรงเรียนเพียงหลวงในจังหวัดเลย จำนวน 4 โรงเรียน ได้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 48 คน คิดเป็น ร้อยละ 100
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 70 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ นักเรียนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับการศึกษาเพิ่มเติมจากการเรียนการสอนใน ห้องเรียน โดยได้รับความรู้จากการปฏิบัติจริง และได้นำความรู้จากประสบการณ์ศึกษาดูงานในครั้งนี้ ไปปรับใช้ ในชีวิตจริงได้ ภาพกิจกรรม : โครงการทัศนศึกษาดูงานของนักเรียนที่เป็นกรรมการสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 จำนวน 1 วัน ณ ไร่ธารธรรมศูนย์เรียนรู้การเกษตรจังหวัดเลย อำเภอเมือง จังหวัดเลย โครงการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิงอุบล รัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้เด็กนักเรียนได้รับความรู้และทักษะในการปฏิบัติเรื่องการบันทึกรายงานการ ประชุมและการทำบัญชีอย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์สูงสุด 2. เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติ เป็นขวัญและกำลังใจให้กับโรงเรียนที่ดำเนินกิจกรรม สหกรณ์นักเรียนตามพระราชดำริ เป้าหมาย: โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย จำนวน 8 โรงเรียน 1. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหนองแคน อำเภอนาด้วง จังหวัดเลย 2. โรงเรียนตำรวจตระวนชายแดนบ้านวังชมภู อำเภอเอราวัณ จังหวัดเลย 3. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านห้วยเป้า อำเภอปากชม จังหวัดเลย 4. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนานกปีด อำเภอปากชม จังหวัดเลย
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 71 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 5. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนฮิลมาร์พาเบิล อำเภอปากชม จังหวัดเลย 6. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านนาปอ อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย 7. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านหมันขาว อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 8. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเฉลิมราษฎร์บำรุง อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบอุดหนุน 10,000.00 บาท 10,000.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน 3.1 จัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้สหกรณ์ คือ กิจกรรมประกวดบันทึกรายงานการประชุม และการบันทึกบัญชีในสหกรณ์นักเรียน 3.2 ประเมินผลกิจกรรมการประกวดบันทึกรายงานการประชุมและการบันทึกบัญชีใน สหกรณ์นักเรียน 3.3 มอบเงินรางวัลพร้อมใบประกาศนียบัตรให้แก่โรงเรียนที่ผ่านการประเมิน 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ จัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้สหกรณ์คือ กิจกรรมประกวดบันทึกรายงานการประชุม และการบันทึกบัญชีในสหกรณ์นักเรียน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด จำนวน 8 โรงเรียน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เด็กนักเรียนได้ฝึกบันทึกรายงานการประชุมและการบันทักบัญชีจนเกิดทักษะการ เรียนรู้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ และได้รับใบประกาศนียบัตรเงินรางวัลเพื่อเป็นขวัญและกำลังใจใน การดำเนินกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน 5.ภาพกิจกรรม : กิจกรรมการจัดการเรียนรู้สหกรณ์ในสหกรณ์นักเรียนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 72 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุฎราชกุมาร 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการวัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย ได้รับความรู้ด้านการสหกรณ์ สามารถประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวันในการให้ความเป็นอยู่ที่ดีเสริมสร้างความรู้ ทักษะด้านการสหกรณ์ และสร้างลักษณะนิสัยที่ สอดคล้องกับอุดมการณ์สหกรณ์สร้างจิตสำนึกในการทำงานร่วมกันให้ประชาชน จนสามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ เพื่อให้ประชาชนได้มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ครอบครัว สนับสนุนให้เกษตรกรมีความรู้ความ เข้าใจในระบบเกษตรทฤษฎีใหม่สามารถนำไปปรับใช้เพื่อประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน เป้าหมาย จัดกิจกรรมคลินิกเกษตรเคลื่อนที่จำนวน 4 ครั้ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ พื้นที่จัดกิจกรรมคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ตามที่สำนักงานเกษตรจังหวัดกำหนด 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 9,100.00 บาท 9,100.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน 1. ประสานงาน ติดต่อ เข้าร่วมประชุม ร่วมกับสำนักงานเกษตรจังหวัด/สำนักงานเกษตรพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมดำเนินกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ 2 .ดำเนินการประชาสัมพันธ์การจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ทุกช่องทางก่อนการ จัดงานอย่างน้อย 1 สัปดาห์ 3. ดำเนินการกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ทั้งหมด 4 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 23 ธันวาคม 2565 ณ โรงเรียนบ้านนายาง อำเภอภูกระดึง จำนวนผู้ร่วมงาน 67 คน ครั้งที่ 2 วันที่17 มีนาคม 2566 ณ โรงเรียนบ้านนาวัว อำเภอวังสะพุง จำนวนผู้ร่วมงาน 87 คน ครั้งที่ 3 วันที่ 21 พฤษภาคม 2566 ณ โรงเรียนบ้านนามูลตุ่น อำเภอภูหลวง จำนวนผู้ร่วมงาน 86 คน ครั้งที่ 4 วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ณ เทศบาลตำบลนาดินดำ อำเภอเมือง จำนวนผู้มาร่วมงาน 64 คน 4. รายงานผลการดำเนินงานตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการพระราชดำริกำหนด 5. รายงานผลการดำเนินงานในระบบข้อมูลเชิงโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ของ กรมส่งเสริมการเกษตร
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 73 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : ร่วมจัดกิจกรรมคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ทั้งหมด 4 ครั้งผู้ร่วมงานเข้าร่วม โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ จำนวน 304 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : ผู้ร่วมงานที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจในการรวมกลุ่มใน รูปแบบสหกรณ์และเป็นการประชาสัมพันธ์หน่วยงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้ร่วมงาน เ าร ว ก จกรร ด รั วา ร วา เ า จ การรว กล ร สหกรณ์ ล เ การ ร าสั ั ์ห วยงา ส า ักงา สหกรณ์จังหวัดเลย คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ณ โรงเรียนบ้านนายางอ าเภอภูกระด ง ครั้งที่ 1 วันที่ 23 ธันวาคม 2565 คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ณ โรงเรียนบ้านนาวัว อ าเภอวังสะพุง ครั้งที่ 2 วันที่ 17 มีนาคม 2566 คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ณ โรงเรียนบ้านนามูลตุ่น อ าเภอภูหลวง ครั้งที่ 3 วันที่ 19 พ ษภาคม 2566 คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ณ เทศบาลต าบลนาดินด า อ าเภอเมืองเลย ครั้งที่ 4 วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 ภาพกิจกรรม
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 74 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนำแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม และส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นนำไปปฏิบัติตามได้ เป้าหมาย สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 5 แห่ง 1. สหกรณ์การเกษตรภูกระดึง จำกัด อ.ภูกระดึง จ.เลย 2. สหกรณ์กองทุนสวนยางพาราผาน้อย จำกัด อ.วังสะพุง จ.เลย 3. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ภูกระดึง อ.ภูกระดึง จ.เลย 4. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.ตำบลโคกใหญ่อ.ท่าลี่ จ.เลย 5. กลุ่มเกษตรกรทำสวนยาง กยท.บ้านนาจานหมู่ 7 อ.เชียงคาน จ.เลย พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 1,900.00 บาท 1,900.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน 2.1 แนะนำ ส่งเสริม สนับสนุน ติดตามสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้นำแนวทางปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ ทั้งในระดับองค์กรและระดับสมาชิก จำนวน 5 แห่ง 1.สหกรณ์การเกษตรภูกระดึง จำกัด อ.ภูกระดึง จ.เลย 2.สหกรณ์กองทุนสวนยางพาราผาน้อย จำกัดอ. วังสะพุง จ.เลย 3.กลุ่มเกษตรกรทำไร่ภูกระดึง อ.ภูกระดึง จ.เลย 4.กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.ตำบลโคกใหญ่อ.ท่าลี่ จ.เลย 5.กลุ่มเกษตรกรทำสวนยาง กยท.บ้านนาจานหมู่ 7 อ.เชียงคาน จ.เลย
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 75 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 2.2 คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกต์ใช้และสามารถเป็นแบบอย่างได้ จำนวน 2 แห่ง 1. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง กยท.ตำบลโคกใหญ่อ.ท่าลี่ จ.เลย 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวนยาง กยท.บ้านนาจานหมู่ 7 อ.เชียงคาน จ.เลย 2.3 รายงานผลการดำเนินงาน 4. ผลลัพธ์ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารงานของสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร และสนับสนุนให้สมาชิกมีการดำเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ทั้ง ในระดับองค์กรและระดับสมาชิก 5. ภาพกิจกรรม โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 76 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านเศรษฐกิจฐานราก ➢ แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างรายได้จากอาชีพหลักและอาชีพเสริมให้แก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่ คทช. 2. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของตลาด และจัดหาช่องทางการตลาด เป้าหมาย จำนวน 2 พื้นที่ ดังนี้ 1. ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูช้างและป่าภูนกกก 2. ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูห้วยหมาก ป่าภูทอก และป่าภูบ่อบิด พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1. ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูช้างและป่าภูนกกก 2. ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูห้วยหมาก ป่าภูทอก และป่าภูบ่อบิด 3. ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเปือย ป่าภูขี้เถ้าและป่าภูเรือ 4. ป่าสงวนแห่งชาติภูหลวงและป่าภูหอ 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 7,315.00 บาท 7,315.00 บาท 100 3. ผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. จัดประชุมคณะทำงานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพ จำนวน 4 ครั้ง 2. ดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ในพื้นที่ คทช. จำนวน 4 ป่า งบประมาณ 4,912,910 บาท 1. โครงการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 77 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 3. เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้ 267 ราย 4. พื้นที่ คทช.ได้รับการอนุรักษ์ดินและน้ำ 360 ไร่ 5. สนับสนุนแหล่งน้ำ 135 บ่อ 6. สำรวจข้อมูลพื้นฐานเกษตรกรในพื้นที่ ป่า 3 ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเปือย ป่าภูขี้เถ้า และป่าภูเรือ จำนวน 1,225 ราย 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. เกษตรกรมีความรู้ในด้านการทำการเกษตรทำให้ผลผลิตมีคุณภาพ สามารถลดต้นทุน ได้จากการทำปุ๋ยหมักใช้เอง การปลูกพืชที่หมดสมกับดิน 2. เกษตรกรได้รับการพัฒนาให้เป็นเกษตรกรต้นแบบ ซึ่งสามารถให้คำแนะนำเกษตรกรราย อื่นในพื้นที่ได้ 3. เกษตรกรได้รับการสนับสนุนการจัดหาแหล่งน้ำ ทำให้มีสามารถทำการปลูกพืชได้ทั้งปี 4. การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ทำให้ช่วยลดการพังทลายของดินในพื้นที่ที่มีความลาดชัน สูง ช่วยปรับปรุงพื้นที่ให้มีความเหมาะสมในการทำการเกษตร 5. หน่วยงานในคณะทำงานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด (อนุฯ 3) ได้นำข้อพื้นฐาน ของเกษตรกรในพื้นที่ ป่า 3 ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเปือย ป่าภูขี้เถ้า และป่าภูเรือ ใช้เป็นข้อมูลในการขอจัดสรร งบประมาณจากต้นสังกัด เพื่อแก้ไขปัญหาของเกษตรกรในพื้นที่ตามกรอบแนวทางดำเนินงานทั้ง 6 ด้าน 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน คณะทำงานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ขาดงบประมาณในการดำเนินงาน ส่งเสริมพัฒนาอาชีพ แนวทางแก้ไข คณะทำงานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดได้จัดทำโครงการเพื่อขอรับการ สนับสนุนงบพัฒนาจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ 2568 และได้ขอเบิกงบอำนวยการของสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดเลยในการสำรวจข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรในพื้นที่ป่า 3 ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูเปือย ป่าภูขี้เถ้า และป่า ภูเรือ จำนวน 1,225 ราย
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 78 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” ภาพในการดำเนินกิจกรรม/ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร การส่งเสริมพัฒนาอาชีพในพื้นที่ คทช. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 79 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (จำแนกตามประเภทงบรายจ่าย) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย หน่วย : บาท ที่มา : กองคลัง กรมส่งเสริมสหกรณ์( ระบบเบิกจ่าย New GFMIS Web online) ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2566
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 80 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 2.2 ผลการดำเนินงาน/โครงการนอกแผนการปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้จัดทำบัญชีสหกรณ์นอกภาคการเกษตรให้สามารถจัดทำบัญชีและงบ การเงินได้ 2. เพื่อให้สหกรณ์นอกภาคการเกษตรสามารถจัดทำบัญชีและงบการเงินให้เป็นปัจจุบัน และ ปิดบัญชีได้ตามกฎหมายกำหนด เป้าหมาย 1. สหกรณ์นอกภาคการเกษตรที่ปิดบัญชีไม่ได้จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์เคหะสถานบ้านมั่นคงนา อ้อจำกัด ประเภทสหกรณ์บริการ อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย อยู่ในความรับผดชอบของกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 2. ทีมปิดบัญชีสหกรณ์ประจำจังหวัดเลย จำนวน 8 คน 3. จัดประชุม จำนวน 3 ครั้ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ สหกรณ์เคหะสถานบ้านมั่นคงนาอ้อ จำกัด ประเภทสหกรณ์บริการ อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย คณะกรรมการดำเนินการ/สมาชิก จำนวน 7 คน ทีมปิดบัญชีสหกรณ์ประจำจังหวัด จำนวน 8 คน รวมทั้งสิ้น 15 คน 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน (เงินในบประมาณ) 11,900.00 บาท 11,900.00 บาท 100 3.ผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยได้ดำเนินการ ดังนี้ 1 แต่งตั้งทีมงานในการแก้ไขปัญหาหนี้การปิดบัญชีสหกรณ์ 2 จัดเก็บข้อมูล และวิเคราะห์สภาพปัญหารายสหกรณ์ 3 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 3 ครั้ง ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : สหกรณ์สามารถปิดบัญชีได้ จำนวน 6 ปี ดังนี้ 1. สหกรณ์ปิดบัญชี ปีบัญชีสิ้นสุด 30 มิถุนายน 2561 พร้อมรายละเอียดประกอบงบการเงิน 2. สหกรณ์ปิดบัญชี ปีบัญชีสิ้นสุด 30 มิถุนายน 2562 พร้อมรายละเอียดประกอบงบการเงิน 3.สหกรณ์ปิดบัญชี ปีบัญชีสิ้นสุด 30มิถุนายน 2563 พร้อมรายละเอียดประกอบงบการเงิน โครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์นอกภาคการเกษตรสู่ความเข้มแข็ง
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 81 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 4.สหกรณ์ปิดบัญชี ปีบัญชีสิ้นสุด 30มิถุนายน 2564 พร้อมรายละเอียดประกอบงบการเงิน 5. สหกรณ์ปิดบัญชี ปีบัญชีสิ้นสุด 30 มิถุนายน 2565 พร้อมรายละเอียดประกอบงบการเงิน 6. สหกรณ์ปิดบัญชี ปีบัญชีสิ้นสุด 30 มิถุนายน 2566 พร้อมรายละเอียดประกอบงบการเงิน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. คณะกรรมการดำเนินการมีความเข้าใจ และให้ความสำคัญในการจัดทำเอกสารทางบัญชีไว้ เพื่อประกอบการบันทึกบัญชีขั้นต้น ขั้นปลาย และขั้นสูงเพื่อสามารถออกงบการเงินได้ 2. สหกรณ์สามารถจัดทำรายละเอียดประกอบงบการเงิน และจัดทำงบการเงินส่งให้ผู้สอบ บัญชีตรวจสอบได้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหา/อุปสรรค 1. การจัดอบรมหลายครั้งทำให้คณะกรรมการดำเนินการไม่สามารถที่จะเข้าร่วมอบรมได้ทุก ครั้ง 2. สหกรณ์ไม่มีงบประมาณในการจัดจ้างพนักงานบัญชี หรือผู้จัดทำบัญชีได้ 3. คณะกรรมการดำเนินการไม่มีความรู้ความเข้าใจด้านบัญชี จึงอยากให้หน่วยงานภาครัฐมี การอบรมบัญชีพื้นฐานให้กับคณะกรรมการดำเนินการ แนวทางแก้ไข 1. การกำหนดระยะเวลาการอบรม เห็นควรจัดครั้งเดียวแต่ใช้เวลาหลายวัน เช่น ที่ผ่านมาจัด 3ครั้ง ๆ ละ 1 วัน เห็นควรจัด 2 วัน หรือ 3 วัน แต่ภายในครั้งเดียวให้จบหลักสูตรเพื่อแก้ไขปัญหาการประชุมหลายครั้ง 2. ควรมีงบอุดหนุนในการจัดจ้างพนักงานบัญชี เพื่อช่วยเหลือสหกรณ์ที่ปิดบัญชีไม่ได้นาน 3. ควรมีโครงการอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการดำเนินการโดยระบุเป้าหมายว่าเป็น สหกรณ์ที่ปิดบัญชีไม่ได้นาน แต่ยังคงดำเนินธุรกิจอยู่ รูปภาพกิจกรรมการดำเนินการ
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 82 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน 1.2 เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนสู่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป ให้เป็นที่แพร่หลาย 1.3 เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเรื่องการสหกรณ์ให้นักเรียน บุคลากรทางการ ศึกษาและประชาชนทั่วไป เป้าหมาย ผู้เข้าร่วมโครงการฯ จำนวนทั้งสิ้น 80 คน ประกอบด้วย - ครูและนักเรียนของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย สหกรณ์และหน่วยงานอื่น ๆ จำนวน 55 คน - เจ้าหน้าที่ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลยและผู้สังเกตการณ์จำนวน 20 คน - บุคคลากรสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เลย กรมตรวจบัญชีสหกรณ์จำนวน 5 คน พื้นที่ดำเนินงานโครงการณโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน บ้านห้วยเป้า ตำบลปากชม อำเภอปากชม จังหวัดเลย 2. งบประมาณที่ได้รับ ประเภทรายจ่าย งบประมาณที่รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบดำเนินงาน 20,000.00บาท 20,000.00 บาท 100 3.ผลการดำเนินงาน กำหนดให้มีการจัดกิจกรรมดังนี้ 3.1 หมวดความรู้ ประกอบด้วย 3.1.1 นิทรรศการการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน - ฐานการเรียนรู้ที่ 1 การสหกรณ์ - ฐานการเรียนรู้ที่ 2 ด้านบัญชี - ฐานการเรียนรู้ที่ 3 กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการฯ โครงการจัดงาน "7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจำปี 2566
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 83 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 3.2 หมวดการประกวดผลงาน ประกอบด้วย 3.2.1 การประกวดเรียงความสหกรณ์ 3.2.2 การประกวดวาดภาพระบายสี 3.3 กิจกรรมอื่นๆตามความเหมาะสม 3.4 พิธีมอบรางวัล/เกียรติบัตร ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ครูและนักเรียนของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย สหกรณ์และ หน่วยงานอื่นๆ บุคลากรสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์เลย กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่และผู้ สังเกตการณ์ ได้เข้าร่วมโครงการ ฯ จำนวน 80 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ครูและนักเรียนของโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนในจังหวัดเลย สหกรณ์และ หน่วยงานอื่นๆ บุคลากรสำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์เลย กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่และผู้ สังเกตการณ์ ได้รับการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียนและเผยแพร่วันกิจกรรมวันสหกรณ์ นักเรียน รูปภาพกิจกรรม
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 84 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” 2.3 ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ และการบูรณาการในระดับพื้นที่ โครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินการ ส่งเสริมพัฒนาการดำเนินธุรกิจสหกรณ์ที่มีร้านจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค เป้าหมาย ส่งเสริมพัฒนาการดำเนินธุรกิจสหกรณ์ที่มีร้านจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ได้แก่ สหกรณ์ การเกษตรเมืองเลย จำกัด พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย 2. ผลการดำเนินงาน ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สหกรณ์ฯ มียอดจำหน่ายสินค้าตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2565 ถึงเดือน กันยายน 2566 จำนวน 6,503 ชิ้น มูลค่า 1,363,334 บาท 1) งานแนะนำส่งเสริมและพัฒนา
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 85 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. ร้านค้าของสหกรณ์ช่วยให้ประชาชนทั่วไปที่ต้องการสนับสนุนสินค้าที่ผลิตโดยเกษตรกร เข้าถึงสินค้าได้สะดวกมากขึ้น 2. คณะกรรมการ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ฯ มีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำมาปรับใช้ในการ บริหารจัดการซูปเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ได้ 3. ปัญหา อุปสรรค สหกรณ์การเกษตรเมืองเลย จำกัด ไม่มีสินค้าของสหกรณ์เองทำให้ไม่มีสินค้าไปแลกเปลี่ยน กับสหกรณ์อื่น ๆ มีเพียงการนำสินค้าของสหกรณ์อื่น และสินค้าที่ผลิตในท้องถิ่นมาจำหน่ายในร้านค้าของ สหกรณ์ฯ เท่านั้น อีกทั้งจำนวนลูกค้าที่มียังน้อย 4. แนวทางการแก้ไข/ข้อเสนอแนะ 1. คณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายจัดการของสหกรณ์การเกษตรเมืองเลย จำกัด มีแนวทาง ร่วมกันในการพัฒนาร้านค้าสหกรณ์เพื่อเป็นแหล่งจำหน่ายสินค้าของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและเกษตรกร สมาชิก 2. สหกรณ์ฯ มีแผนงานในการปรับปรุงร้านค้าให้เป็นสัดส่วนและมีแผนในการเชื่อมโยงในด้าน สินค้ากับกลุ่มผู้ผลิตสินค้าอื่น ๆ กิจกรรมการจำหน่ายสินค้าในซุปเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ สถานที่ สหกรณ์การเกษตรเมืองเลย จำกัด
รายงานประจำปี 2566 Annual Report สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเลย 86 “เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว การค้า ละการลงทุนภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน” โครงการอบรมเพิ่มทักษะเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยถ่ายทอดสัญญาณ จากกรมส่งเสริมสหกรณ์(Zoom meeting) 1.วัตถุประสงค์: ส งเสร ล ัฒ าอา เกษตรกร โ รงการ ำล กหลา เกษตรกรกลั า สา ต ออา การเกษตร เป้าหมาย เกษตรกรโครงการนำลูกหลาน สานต่ออาชีพการเกษตร พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดเลย 2. ผลการดำเนินงาน ผ เ ารั การอ ร วา ร เ ึ้ 3.ปัญหา อุปสรรค การเข้าร่วมโครงการฯ ผ่านระบบ Zoom Meeting มีข้อจำกัดเนื่องจากบางพื้นที่ห่างไกล สัญญาณอินเตอร์เน็ต ทำให้การรับข้อมูลไม่ต่อเนื่อง ติดขัด 4.แนวทางการแก้ไข/ข้อเสนอแนะ เห็นควรมีการจัดอบรมในพื้นที่หรือเป็นคลาสบรรยาย ภาพประกอบ โครงการอบรมเพิ่มทักษะเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประจ าปีงบประมาณ 2566 (Zoom meeting)