The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โลก-ดาราศาสตร์-ม-ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูมุสลีมิน อีแต, 2019-11-27 23:45:12

โลก-ดาราศาสตร์-ม-ปลาย

โลก-ดาราศาสตร์-ม-ปลาย

~1~

~2~

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.ปลาย

1. ภาพแสดงแนวหินบะซอลต์ท่เี กดิ ข้ึนในช่วงเวลาต่างกันและสะสมตวั เป็นเทอื กสันเขาใต้สมุทร ซึง่ เกดิ จาก
การเยน็ ตัวของลาวาท่ีปะทแุ ทรกข้นึ มาในแนวรอยแตกของเปลือกโลกบริเวณพ้ืนสมุทรกึ่งกลางระหว่างทวีป
อเมริกาใตก้ บั ทวปี แอฟรกิ า เปน็ ดงั น้ี ONET 61 ว 6.1

การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณลี กั ษณะใด เป็นสาเหตุหลักทาให้เกิดแนวเทือกสันเขาใต้สมุทรระหวา่ งทวปี อเมรกิ า
ใตก้ ับทวปี แอฟริกา ดงั ภาพ

1. การมุดตัวของแผน่ ธรณีอเมริกาใต้ลงใต้แผน่ ธรณีแอฟรกิ า
2. การมุดตัวของแผน่ ธรณีแอฟริกาลงใตแ้ ผน่ ธรณีอเมริกาใต้
3. การเคลื่อนท่ีเฉือนกันของแผน่ ธรณอี เมริกาใตแ้ ละแผน่ ธรณีแอฟริกา
4. การเคล่ือนท่เี ขา้ หากันของแผ่นธรณอี เมรกิ าใตแ้ ละแผน่ ธรณแี อฟรกิ า
5. การเคลอื่ นทีแ่ ยกออกจากกนั ของแผน่ ธรณีอเมริกาใต้และแผน่ ธรณีแอฟริกา

~3~

2. นกั ธรณวี ิทยาไดส้ ารวจเทอื กสันเขาใตส้ มุทรแหง่ หนึง่ ซึ่งเป็นแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี 2 แผน่ และได้เก็บ
ตัวอย่างหินบะซอลตจ์ ากเทือกสนั เขาใตส้ มุทรในบริเวณท่ี 1 และบริเวณท่ี 2 ดังภาพ ONET 60 ว 6.1

จากภาพ ข้อสรุปใดต่อไปน้ีถกู ต้อง
1. หนิ บะซอลตบ์ ริเวณท่ี 1 มีอายุมากกวา่ หนิ บะซอลตบ์ ริเวณที่ 2
2. เทอื กสันเขาใต้สมุทรนเ้ี กิดจากกการเคลื่อนทเี่ ข้าหากันของแผ่นธรณี A และ B
3. เม่อื เวลาผา่ นไป บรเิ วณท่ี 1 และบริเวณท่ี 2 จะเคลอื่ นท่เี ขา้ หาแนวรอยต่อของแผน่ ธรณีมากขึ้นเรื่อยๆ
4. บรเิ วณสว่ นปลายอีกด้านหนงึ่ ของแผ่นธรณีท้งั สองแผน่ จะเกิดการเคล่อื นท่ีแยกออกจากกันของแผน่ ธรณี
5. บรเิ วณท่ี 2 มโี อกาสเกดิ การแทรกตัวของแมกมาขน้ึ มาบนเปลอื กโลก เกดิ เป็นหมู่เกาะภเู ขาไฟรปู โคง้
กลางมหาสมุทร

~4~

3. ภาพแสดงแผ่นธรณแี ละการเคลอื่ นท่ีของแผน่ ธรณลี กั ษณะต่าง ๆ บนโลก เปน็ ดังน้ี ONET 61 ว 6.1

จากภาพ ข้อความใดต่อไปนี้ไม่ถกู ต้อง
1. เมอ่ื เวลาผ่านไป มหาสมุทรระหว่างแผ่นธรณแี อนตาร์กตกิ กับแผน่ ธรณีอนิ เดีย-ออสเตรเลียจะมีขนาด
กวา้ งขน้ึ เรือ่ ย ๆ
2. มโี อกาสพบรอ่ งลึกก้นสมุทรท่ีบริเวณแนวรอยตอ่ ระหว่างแผ่นธรณีอเมรกิ าเหนอื และแผ่นธรณียเู รเซีย
3. มีโอกาสพบแนวภเู ขาไฟมีพลงั ตามแนวรอยต่อระหว่างแผน่ ธรณียูเรเซยี และแผน่ ธรณีอนิ เดีย-
ออสเตรเลีย ในบริเวณ A
4. แผน่ ดนิ ไหวท่บี ริเวณแนวรอยตอ่ ระหว่างแผ่นธรณีอินเดีย-ออสเตรเลยี และแผ่นธรณแี ปซิฟิก สว่ นใหญ่
เกดิ จากการเคล่ือนทีเ่ ข้าหากันของแผน่ ธรณีทง้ั สอง
5. ขณะทข่ี อบแผน่ ธรณีอเมรกิ าใตด้ ้านทิศตะวันออกแยกห่างจากแผน่ ธรณีแอฟริกาขอบแผ่นธรณี
อเมรกิ าใตด้ ้านทศิ ตะวันตกจะเคลอ่ื นทีเ่ ขา้ หาแผน่ ธรณนี าสกา

~5~

4. ภาพแสดงโครงสร้างภายในโลก ตาแหน่งศูนยเ์ กิดแผ่นดินไหว I และ II และตาแหนง่ เคร่อื งวัดความไหว

สะเทือน 4 จุด คอื A B C และ D เป็นดังน้ี ONET 60 ว 6.1

จากภาพ หากเกิดแผน่ ดนิ ไหวท่ศี ูนย์เกิดแผน่ ดนิ ไหว I และ II

ผลการรับสัญญาณคลนื่ ปฐมภูมิและคลนื่ ทตุ ิยภมู ิของเคร่ืองวัดความไหวสะเทือนใดต่อไปน้ีถกู ต้อง

ศูนย์เกิดแผน่ ดนิ ไหว I ศนู ย์เกิดแผน่ ดินไหว II

เครอ่ื งวดั ความไหว เคร่อื งวดั ความไหว เคร่อื งวัดความไหว เครือ่ งวดั ความไหว

สะเทือนที่รับคลืน่ สะเทือนทรี่ ับคลื่น สะเทอื นทีร่ ับคล่ืน สะเทอื นทีร่ ับคลืน่

ปฐมภูมิได้ ทุติยภูมไิ ด้ ปฐมภูมไิ ด้ ทตุ ยิ ภมู ิได้

1 ABD AB BD D

2 ABD AB BD ACD

3 ABD ABC ABCD D

4 ABCD AB ABCD D

5 ABCD ABC ABCD ACD

~6~

5. รายงานเหตุการณ์แผน่ ดนิ ไหวในจงั หวดั เชียงใหมค่ ร้ังหนึ่ง เป็นดงั นี้ ONET 60 ว 6.1

“เม่อื วันท่ี....... เกิดแผน่ ดนิ ไหวที่ความลกึ ประมาณ 4 กิโลเมตร จากระดบั พนื้ ผิวโลก จุดเหนือศูนยเ์ กิด
แผ่นดนิ ไหวอยูบ่ รเิ วณอาเภอจอมทอง จงั หวัดเชียงใหม่ ประชาชนที่อยูบ่ นพ้ืนราบและนกั ทอ่ งเทยี่ วทีอ่ ยบู่ น
ยอดดอยสามารถรับรู้ถึงแรงส่ันสะเทอื น แผ่นดนิ ไหวในคร้ังนที้ าให้อาคารบา้ นเรือนสน่ั ไหว โคมไฟ สง่ิ ห้อย
แขวนแกวง่ ไกว แตไ่ มม่ รี ายงานความเสยี หายตอ่ อาคารบ้านเรอื นและไม่มผี ู้ไดร้ บั บาดเจบ็ จากเหตกุ ารณ์
ดงั กล่าว”

ข้อมลู แสดงระดับและลักษณะความรนุ แรงที่เกิดข้ึนของแผ่นดนิ ไหวตามมาตราเมอร์คลั ลีท่รี ะดบั ความรุนแรง

III ถงึ VII เปน็ ดังน้ี

ระดบั ลักษณะความรนุ แรง
ความรนุ แรง

III คนท่อี ยบู่ นอาคารสงู รสู้ กึ ได้ แต่คนสว่ นใหญย่ งั ไมร่ ู้สึกว่ามีแผน่ ดนิ ไหว

IV ในเวลากลางวัน คนที่อยู่ในอาคารรู้สกึ ได้มาก แต่คนท่ีอยู่นอกอาคารร้สู ึกบางคน

จาน หนา้ ต่าง ประตสู น่ั ความรู้สกึ เหมือนรถบรรทกุ ชนอาคาร

V รู้สกึ ได้เกือบทุกคน หลายคนตกใจตนื่ วตั ถุที่ไม่มน่ั คงลม้ ควา่ เสา ต้นไม้ แกวง่ ไกว

VI ทกุ คนรู้สกึ ได้ เครื่องเรือนเคล่ือน ปล่องไฟแตก เกิดความเสียหายเลก็ น้อยกับอาคาร

VII ทกุ คนตกใจวงิ่ ออกนอกอาคาร อาคารท่ีออกแบบไวด้ ไี มเ่ สยี หาย อาคารมาตรฐานปาน

กลางเสียหายเล็กน้อยถึงปานกลาง อาคารที่ออกแบบไม่ดเี สียหายมาก คนท่ีขับรถรสู้ กึ

ว่ามีแผน่ ดนิ ไหว

จากข้อมูล จงั หวดั เชียงใหมไ่ ด้รับผลกระทบจากแผ่นดนิ ไหวในรุนแรงในระดับใดตามมาตรเมอร์คัลลี

1. III
2. IV
3. V
4. VI
5. VII

~7~

6. ในการเกิดแผน่ ดินไหวครงั้ หนงึ่ พบวา่ สถานีตรวจวัดคล่ืนไหวสะเทือน A B C และ D ท่ีตงั้ อยู่ ณ ตาแหน่ง

ตา่ งๆ บนผิวโลก ตรวจวดั คลน่ื ไหวสะเทือน ณ ชว่ งเวลาเดียวกันไดด้ ังภาพ ONET 61 ว 6.1
กาหนดให้ เครื่องวดั ความไหวสะเทอื นทั้งสเ่ี ครื่องตัง้ เวลามาตรฐานตรงกัน

จากภาพ ตาแหนง่ ของสถานีตรวจวดั คลน่ื ไหวสะเทอื น A B C และ D บนผิวโลก สอดคล้องกบั ภาพใดต่อไปนี้

~8~

7. ภาพวาดแสดงหนา้ ตัดของช้ันหินและซากดึกดาบรรพ์ที่พบในบริเวณหนึง่ เปน็ ดงั น้ี ONET 60 ว 6.1

จากภาพ ข้อความใดต่อไปน้ีถูกต้อง
1. รอยเลือ่ น AB เกดิ กอ่ นชนั้ หนิ ก ข ค ง
2. ซากดึกดาบรรพ์ของแอมโมนอยด์มีอายุเก่าแก่กว่าปะการงั
3. ชั้นหิน ง เป็นหินกรวดมนทม่ี ีอายุน้อยท่สี ดุ เมื่อเทยี บกบั ช้ันหนิ อนื่
4. ซากดึกดาบรรพ์ของหอยตะเกียงจะพบเฉพาะในช้ันของหินปูนเท่านั้น
5. ลาดบั การเกิดช้นั หินเกดิ จาก หินกรวดมน หนิ ทราย หนิ ดินดาน หินปนู ตามลาดับ

8. ภาพวาดแสดงหน้าตดั ของช้ันหินและซากดึกดาบรรพ์ดัชนีท่ีพบในบริเวณหนึ่ง เปน็ ดังน้ี ONET 61 ว 6.1

~9~ ใช่ หรอื ไม่ใช่
ใช่ / ไมใ่ ช่
จากข้อมลู ข้อสรปุ ต่อไปนีถ้ ูกตอ้ งใชห่ รอื ไม่ ใช่ / ไม่ใช่
ข้อความ ใช่ / ไม่ใช่

1. หิน จ เปน็ หินอคั นี จึงไม่มีโอกาสพบซากดึกดาบรรพ์
2. ลาดับการเกิดชั้นหินเร่มิ จาก ช้นั หนิ จ ก ข ค และ ง ตามลาดบั
3. ในเบ้อื งต้น สรุปได้ว่า ช้นั หิน ข มีอายรุ ะหว่าง 443 – 299 ลา้ นปี

9. ภาพแสดงบริเวณทีม่ ีการเคล่ือนทข่ี องแผ่นธรณใี นลักษณะต่าง ๆ บนโลก และตาแหน่งเกิดและขนาดของ

แผน่ ดนิ ไหวสมมติในบริเวณ A และบรเิ วณ B เป็นดังนี้ ONET 60 ว 6.1

~ 10 ~

ขนาดและลักษณะของแผ่นดนิ ไหวตามมาตราริกเตอร์ เปน็ ดังนี้

ขนาด (รกิ เตอร์) ลกั ษณะแผน่ ดินไหว

นอ้ ยกว่า 3.0 แผน่ ดินไหวขนาดเลก็ มาก

3.0 - 3.9 แผ่นดินไหวขนาดเล็ก

4.0 – 4.9 แผ่นดนิ ไหวขนาดค่อนข้างเลก็

5.0 – 5.9 แผน่ ดนิ ไหวขนาดปานกลาง

6.0 – 6.9 แผน่ ดนิ ไหวขนาดค่อนข้างใหญ่

7.0 – 7.9 แผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญ่

มากกว่า 8.0 แผน่ ดนิ ไหวขนาดใหญ่มาก

จากข้อมูล ข้อสรุปต่อไปน้ถี ูกตอ้ งใช่หรอื ไม่

ขอ้ ความ ใช่ หรอื ไม่ใช่
1. แผน่ ดินไหวทต่ี าแหนง่ A และ B จะมีพลงั งานทป่ี ลดปล่อยออกมาต่างกัน ใช่ / ไม่ใช่
ประมาณ 100 เทา่
2. แผน่ ดินไหวท่ีตาแหน่ง A จัดเปน็ แผ่นดนิ ไหวขนาดเล็ก และ B จดั เปน็ ใช่ / ไม่ใช่
แผ่นดินไหวขนาดใหญ่
3. แผน่ ดนิ ไหวทตี่ าแหน่ง A เกิดจากการเคล่ือนทีแ่ ยกออกจากกนั ของแผ่นธรณี ใช่ / ไม่ใช่
และแผน่ ดนิ ไหวที่ตาแหนง่ B เกิดจากการเคล่ือนที่เข้าหากันของแผน่ ธรณี

~ 11 ~

10. ชายคนหน่งึ สงั เกตตาแหน่งของดาว X คร้งั แรก เมื่อโลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ที่ตาแหนง่ A อกี 6 เดือน
ตอ่ มา เขาสังเกตตาแหน่งของดาว X อกี ครัง้ เมื่อโลกอยู่ท่ีตาแหน่ง B ดังภาพ ONET 61 ว 7.1

กาหนดให้ ระยะทางจากโลกถงึ ดาวฤกษ์ สามารถหาไดจ้ ากความสมั พันธด์ ังนี้ r = 1/p
เมื่อ r = ระยะห่างระหว่างโลกกับดาวฤกษ์ มีหน่วยเป็น พารเ์ ซก (1 พารเ์ ซก เท่ากับ 3.26 ปแี สง)

p = มุมแพรลั แลกซ์ มหี น่วยเปน็ พลิ ิปดา
จากข้อมูล เมอื่ โลกอยทู่ ี่ตาแหน่ง B ตาแหนง่ ท่สี ังเกตเห็นดาว X เปลย่ี นไปจากเม่อื โลกอยู่ทีต่ าแหน่ง A เป็นมุม
ก่ีพิลปิ ดา และดาว X มรี ะยะหา่ งจากโลกกี่ปีแสง

1. 0.0025 พิลิปดา และมรี ะยะห่างจากโลก 652.0 ปแี สง
2. 0.005 พลิ ปิ ดา และมีระยะห่างจากโลก 61.3 ปีแสง
3. 0.005 พลิ ปิ ดา และมรี ะยะห่างจากโลก 122.7 ปีแสง
4. 0.01 พิลิปดา และมรี ะยะหา่ งจากโลก 61.3 ปีแสง
5. 0.01 พิลปิ ดา และมีระยะหา่ งจากโลก 652.0 ปีแสง

~ 12 ~

11. ข้อมูลแสดงสี โชติมาตรปรากฏ และมุมแพรลั แลกซ์เมื่อสงั เกตจากโลก ของดาวฤกษ์ 2 ดวงทีม่ มี วลตง้ั ต้น

โดยประมาณเท่ากบั ดวงอาทิตยเ์ ช่นเดยี วกัน เปน็ ดงั น้ี ONET 61 ว 7.1

ดาวฤกษ์ สี โชตมิ าตรปรากฏ มมุ แพรลั แลกซ์
เมื่อสงั เกตจากโลก (พิลิปดา)
A เหลอื ง -0.05
B แดง 1.06 0.089
0.006

และระยะทางจากโลกถึงดาวฤกษ์ สามารถหาไดจ้ ากความสมั พนั ธ์ ดังน้ี

r = 1/p

เม่อื r = ระยะห่างระหว่างโลกกบั ดาวฤกษ์ มีหน่วยเปน็ พาร์เซก
= มุมแพรลั แลกซ์ มหี นว่ ยเป็น พิลปิ ดา

จากข้อมลู ข้อความใดตอ่ ไปน้ีไมถ่ ูกตอ้ ง
1. ดาวฤกษ์ A จะจบชวี ิตหลังดาวฤกษ์ B
2. ดาวฤกษ์ A มีอุณหภมู ผิ ิวสูงกว่าดาวฤกษ์ B
3. ดาวฤกษ์ A อย่หู า่ งโลกมากกวา่ ดาวฤกษ์ B
4. ดาวฤกษ์ A สวา่ งต่างจากดาวฤกษ์ B ประมาณ 2.5121.11 เทา่
5. เมื่อมองดว้ ยตาเปลา่ จะเหน็ ดาวฤกษ์ A สว่างมากกว่าดาวฤกษ์ B

~ 13 ~ ONET 60 ว 7.1

12. นกั ดาราศาสตร์คนหน่งึ ค้นพบดาวฤกษ์ใหม่ 3 ดวง ได้ผลการสารวจดงั นี้

ดาวฤกษ์ มุมแพรลั แลกซ์ สขี องดาวฤกษ์ โชติมาตรปรากฏ
เมอ่ื สังเกตจากโลก (พลิ ิปดา)
A แดง 2
B 0.2 นา้ เงิน -0.5
C 0.25 ขาว 0
X

และระยะทางจากโลกถึงดาวฤกษ์ สามารถหาไดจ้ ากความสัมพนั ธ์ดงั น้ี
r = 1/p

เมือ่ r = ระยะห่างระหว่างโลกกับดาวฤกษ์ มีหน่วยเป็น พารเ์ ซก
p = มุมแพรัลแลกซ์ มหี นว่ ยเปน็ พลิ ปิ ดา

จากข้อมูล ขอ้ สรปุ ต่อไปนีถ้ ูกต้องใชห่ รือไม่

ขอ้ ความ ใช่ หรอื ไม่ใช่
1. หากมมุ แพรัลแลกซ์ของดาวฤกษ์ C มีค่ามากกว่า 0.25 พิลปิ ดา แสงจาก ใช่ / ไม่ใช่
ดาวฤกษ์ C จะใช้เวลาเดินทางมายังโลกนานกว่าดาวฤกษ์ A และ B
2. ดาวฤกษ์ B มีอณุ หภมู ิท่ีพน้ื ผิวสูงที่สุด รองลงมา คือ ดาวฤกษ์ C และ ใช่ / ไม่ใช่
ดาวฤกษ์ A มีอณุ หภมู ิต่าท่สี ุด
3. เมอ่ื มองด้วยตาเปลา่ จะเห็นดาวฤกษ์ A สวา่ งท่สี ุด รองลงมา คือ ดาวฤกษ์ ใช่ / ไมใ่ ช่
C และดาวฤกษ์ B สวา่ งนอ้ ยทส่ี ุด

~ 14 ~

13. แผนภูมแิ สดงความสมั พันธ์ระหว่างกาลงั สอ่ งสวา่ งกับชนิดสเปกตรมั หรอื อุณหภมู ิพื้นผวิ ของดาวฤกษ์ และ

ตาแหนง่ ของดาวฤกษ์ ก ข ค ง และ จ บนแผนภมู ิเปน็ ดังภาพ ONET 60 ว 7.1

และข้อมลู แสดงชนิดสเปกตรัม สี และอุณหภมู ิพนื้ ผิวของดาวฤกษ์ เป็นดงั น้ี

ชนิดสเปกตรัม สขี องดาวฤกษ์ อุณหภูมพิ น้ื ผิวของดาวฤกษ์ (เคลวิน)
O น้าเงนิ สูงกวา่ 30,000
B 30,000 – 10,000
A นา้ เงนิ แกมขาว 10,000 – 7,500
F ขาว 7,500 – 6,000
K 6,000 – 4,900
G ขาวแกมเหลือง 4,900 – 3,500
M เหลอื ง 3,500 – 2,000
สม้
แดง

~ 15 ~

จากข้อมลู ข้อสรุปใดตอ่ ไปนี้ไม่ถกู ต้อง
1. ดาวฤกษ์ ก มีสนี ้าเงนิ แกมขาว และดาวฤกษ์ ง มีสขี าว
2. ดาวฤกษ์ ข มกี าลังส่องสว่างมากกว่าดวงอาทติ ย์
3. ดาวฤกษ์ ค มีชว่ งชวี ิตยาวนานกว่าดาวฤกษ์ ก
4. ดาวฤกษ์ ง มีวิวัฒนาการมาจากดาวฤกษ์มวลมาก
5. ดาวฤกษ์ จ มีอณุ หภมู ิพ้นื ผิวน้อยกว่าดาวฤกษ์ ง

14. ดาวเทยี มสอ่ื สารส่วนใหญ่จะโคจรรอบโลกโดยมีคาบการโคจรรอบโลกเท่ากบั คาบการหมนุ รอบตวั เองของ

โลก ทาใหส้ ามารถสง่ สัญญาณติดต่อสื่อสารระหว่างโลกกับดาวเทียมได้อยา่ งต่อเนื่องในอนาคต

นกั วทิ ยาศาสตร์มีโครงการท่ีจะสรา้ งสถานีวจิ ัยอวกาศบนดาวอังคารและสง่ ดาวเทยี มขน้ึ โคจรรอบดาวอังคาร

เพื่อติดต่อส่ือสารระหว่างสถานีวิจัยอวกาศบนพ้นื ผวิ ของดาวอังคาร ONET 61 ว 7.2

กาหนดให้ อัตราเร็วในวงโคจรของดาวเทียมและคาบการโคจรของดาวเทยี ม สามารถหาไดจ้ าก
ความสมั พนั ธด์ งั น้ี

= √ = 2


เมอื่ vc = อัตราเร็วของดาวเทียม
G = คา่ คงตัวโนม้ ถ่วง

M = มวลของดาวเคราะห์

R = ระยะจากจุดศูนย์กลางของดาวเคราะห์ถงึ ดาวเทียม

T = คาบของการโคจรของดาวเทยี ม

จากข้อมลู ถ้าดาวอังคารมีมวลประมาณ 0.1 เท่าของโลก และมีคาบการหมุนรอบตวั เองใกล้เคียงกบั โลก รัศมี

การโคจรของดาวเทียมสื่อสารรอบดาวองั คาร จะมีคา่ เป็นกเ่ี ทา่ ของรศั มีการโคจรของดาวเทียมสอ่ื สารรอบโลก

1. 1
3√0.1

2. 3√0.1

3. √0.1
4. 0.1

5. 1.0

~ 16 ~

15. ความเรว็ ในวงโคจรของดาวเทยี มและคาบของการโคจรของดาวเทยี ม สามารถหาได้จากความสัมพันธด์ งั น้ี

= √ = 2 ONET 60 ว 7.2


เมือ่ vc = อัตราเรว็ ของดาวเทียม
G = ค่าคงตวั โนม้ ถว่ ง

M = มวลของดาวเคราะห์

R = ระยะจากจดุ ศูนย์กลางของดาวเคราะหถ์ งึ ดาวเทยี ม

T = คาบของการโคจรของดาวเทียม

ถ้าดาวเทยี ม A และดาวเทยี ม B โคจรรอบโลกเป็นวงกลม โดยดาวเทยี ม A มีรัศมกี ารโคจรวัดจากจุดศนู ยก์ ลาง
ของโลกเท่ากับ RA และดาวเทยี ม B มคี าบการโคจรเปน็ 8 เทา่ ของคาบการโคจรของดาวเทยี ม A
รศั มกี ารโคจรของดาวเทยี ม B จะมคี า่ เปน็ เท่าใด

1. 8RA
2. 4RA
3. 2RA
4. RA/4
5. RA/8

16. ขอ้ มูลแสดงมวลและรศั มีของโลก และดาวเคราะห์ 4 ดวง เม่ือเปรยี บเทียบกับโลก เปน็ ดงั นี้

ดาวเคราะห์ มวล (kg) รศั มี (km)

โลก X Y

A 2X Y

B X 2Y

C 2X 2Y

D X/2 Y

และความเรว็ หลุดพ้นท่ีความสงู ต่าง ๆ ของดาวเทียม สามารถหาไดจ้ ากความสัมพนั ธด์ งั นี้ ONET 60 ว 7.2

~ 17 ~

= √2


เมอ่ื vc = อัตราเรว็ ของดาวเทยี ม
G = ค่าคงตวั โน้มถ่วง

M = มวลของดาวเคราะห์

R = ระยะจากจดุ ศนู ย์กลางของดาวเคราะห์ถึงดาวเทียม

จากข้อมลู การส่งจรวดขนส่งยานอวกาศจากพน้ื ผิวของดาวเคราะหใ์ ดท่ีจรวดต้องใชค้ วามเร็วหลดุ พน้ สงู ท่สี ดุ
1. โลก
2. ดาวเคราะห์ A
3. ดาวเคราะห์ B
4. ดาวเคราะห์ C
5. ดาวเคราะห์ D

~ 18 ~

~ 19 ~

~ 20 ~

~ 21 ~

~ 22 ~

~ 23 ~

~ 24 ~

~ 25 ~

~ 26 ~

~ 27 ~

~ 28 ~

~ 29 ~

~ 30 ~


Click to View FlipBook Version