The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง แ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2022-07-13 00:09:43

ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง แ

ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง แ

25
ประธานกรรมการการอาชีวศึกษา



เอกสารประกอบแนวทางการจัดการเรยี นรู้อาชวี ศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

สานักมาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวิชาชพี
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

พ.ศ. 2564



สารบญั

หน้า

สารบัญ ก

1. หลักการและเหตุผล 1

2. วตั ถุประสงค์ 2

3. การดาเนนิ การ 2

4. แนวทางการจดั การเรียนรอู้ าชวี ศกึ ษาในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019

(COVID - 19) 4

 การจัดการเรียนการสอนแบบรายวิชา 4

4.1 การจดั การเรยี นรู้ภาคทฤษฎี 4

4.2 การจัดการเรียนรภู้ าคปฏิบตั ิ 5

 ผังการวเิ คราะหเ์ น้ือหาสาหรับการจดั การเรยี นการสอนแบบรายวชิ า 6

5. แนวทางการจัดกิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร 15

6. แนวทางการจดั การศึกษาและเวลาเรียน 20

7. ผ้เู รยี นในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ 20

8. ผูส้ อนในการจดั การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ 21

9. สถานศึกษาในการจัดการเรยี นการสอนทางไกลผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 21

แนวทางการจดั การเรียนรอู้ าชีวศึกษาในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

1. หลักการและเหตุผล
การจัดการศึกษาในปัจจุบันได้มีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้มากย่ิงขึ้น ซ่ึงจะเห็นได้จาก

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้ให้ความหมายของการศึกษาในมาตรา 4 ว่าเป็นกระบวนการ
เรียนรู้เพ่ือความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสาน
ทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจาก
การจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเก้ือหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต
ท้ังนี้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้ทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งน้ีเพ่ือพัฒนาคนไทย
ให้เป็นมนุษย์ ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม
ในการดารงชวี ิต สามารถอย่รู ว่ มกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมคี วามสุข

พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 (2542: 6) ไดแ้ บ่งการศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คอื ระดับ
ข้ันพื้นฐาน และระดับอุดมศึกษา โดยในการจัดการอาชีวศึกษาได้ระบุไว้ในมาตรา 20 ว่า “การจัดการ
อาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ
หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ท้ังนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา
และกฎหมายที่เก่ียวข้อง” ซ่ึงปัจจุบันมีพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ.2551 (2551: 3) เป็นกฎหมาย
หลักในการจัดการอาชีวศึกษา โดยได้ให้ความหมายของการอาชีวศึกษาว่า เป็นกระบวนการศึกษาเพื่อผลิต
และพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี โดยในมาตรา 6 ระบุว่า
การจัดการอาชีวศึกษา และการฝึกอบรมวิชาชีพต้องเป็น การจัดการศึกษาในด้านวิชาชีพ ที่สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ เพ่ือผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพ ระดับฝีมือ ระดับเทคนิค
และระดับเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงข้ึน เพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของตลาดแรงงาน โดยนาความรู้ในทางทฤษฎีอันเป็นสากลและภูมิปัญญาไทยมาพัฒนาผู้รับการศึกษา
ใหม้ ีความรูค้ วามสามารถในการทางปฏิบัติ และมีสมรรถนะจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติ
หรือประกอบอาชีพโดยอิสระได้ โดยสามารถจัดการอาชีวศึกษาใน 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาระบบทวภิ าคี

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ
ใน 11 ประเภทวิชา คือ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม ศิลปกรรม ประมง อุตสาหกรรม
ท่องเท่ียว เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และเทคโนโลยีส่ิงทอ ในหลักสูตรระดับต่าง ๆ ดังน้ี ระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) และระดับ ปริญญาตรี
สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตกาลังคนท่ีมีความรู้ ความชานาญในทักษะ
วิชาชีพ มีคุณธรรม วินัย เจตคติ บุคลิกภาพ และเป็นผู้มีปัญญาที่เหมาะสม สามารถนาไปใช้ในการประกอบ
อาชีพได้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจและสังคม ท้ังในระดับชุมชน
ระดับท้องถิ่นและระดับชาติ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกระบบและวิธีการเรียนได้อย่างเหมาะสม
ตามศักยภาพ ความสนใจและโอกาสของตน ส่งเสริมการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาและ

2

พัฒนาหลักสูตรร่วมกันระหว่างสถาบัน หน่วยงาน และองค์กรต่าง ๆ ทั้งในระดับชาติ ท้องถิ่นและชุมชน
(กรมอาชวี ศึกษา, 2546: 1) ซึง่ ในปัจจุบนั สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาได้มีรูปแบบการจัดการศึกษา
ที่มีความหลากหลาย อาทิ การจัดการศึกษาในระบบปกติ (ในห้องเรียน) ระบทวิภาคี (ร่วมมือกับ
สถานประกอบการ) การจดั การเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์ เป็นต้น

ด้วยสถานการณ์โลกในปัจจุบัน ส่งผลกระทบต่อรปู แบบการจัดการศึกษาในวงกว้าง สถาบันการศึกษา
ต้องปรับตัวโดยการนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ใหม่ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมี
สมรรถนะตามทหี่ ลักสูตรกาหนด ซ่ึงส่วนใหญ่จะเน้นการใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบทางไกล
ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผู้เรียนสามารถ “เข้าถึง” ในทุกพ้ืนที่ ทุกเวลา เพราะการจัดการเรียนการสอน
ใ น รู ป แ บ บ ท า ง ไ ก ล ผ่ า น ร ะ บ บ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด ข อ ง
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และสอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติท่ีต้องการ
ให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และให้สถานศึกษาจัดการศึกษาในลักษณะการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต
(Life Long Learning) ต่อไป

แต่การจัดการอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีสมรรถนะวิชาชีพ ท้ังด้านความรู้
(Head On) ทักษะฝีมือ (Hand On) และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (Heart On) ซึ่งรูปแบบการจัดการเรียน
การสอนในรูปแบบทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์สามารถพัฒนาผู้เรียนในด้านความรู้ (Head On) เท่านั้น
สาหรับทักษะฝีมือ (Hand On) จะเกิดขึ้นได้ ต้องได้รับการฝกึ ปฏิบัตจิ นเกิดความชานาญ จึงจะสามารถใช้งาน
และแกป้ ัญหาในสถานการณ์จรงิ ได้ตอ่ ไป

2. วัตถปุ ระสงค์
เพื่อเป็นแนวทางในการปรับเปลยี่ นรปู แบบการจัดการศึกษาและประเมินผลตามหลกั สูตรให้เหมาะสม

กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสถานศึกษาสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการการอาชวี ศึกษา

3. การดาเนินการ
3.1 การเรยี นรูร้ ายวชิ า
1) ภาคทฤษฎี
ผู้สอนต้องดาเนินการวิเคราะห์เนื้อหาภาคทฤษฎีออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ต้องรู้ และ ควรรู้

โดยเนื้อหาที่ “ต้องรู้” ให้ผู้สอนการจัดการเรยี นการสอนทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบออนไลน์
(Online) ในลักษณะสอนสด (Live) ผ่านแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ท่ีมีคุณภาพ และเนื้อหาที่“ควรรู้”
ให้ผู้สอนจัดหาส่ือการสอนที่เหมาะสม (On Demand) เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนอง และมีช่องทางการ
ตดิ ต่อสือ่ สารผา่ นส่ือสงั คมออนไลนร์ ะหว่างผู้สอนกับผู้เรยี น

2) ภาคปฏิบัติ
กรณีศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19)

(ศบค.) ประกาศให้งดใช้อาคารหรือสถานท่ีเพ่ือจัดกิจกรรม หากสถานศึกษามีความจาเป็นต้องให้ผู้เรียน
ฝึกปฏบิ ตั ิในสถานศึกษา ใหด้ าเนนิ การขออนุญาตต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวดั

โดยผู้สอนต้องดาเนินการวิเคราะห์เนื้อหาภาคปฏิบัติ พิจารณาสมรรถนะที่สาคัญ
และต้องใช้ในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ มาใช้ในการออกแบบการเรียนรู้ในรูปแบบโมดูล มุ่งเน้น
การแก้ปัญหา การกาหนดสถานการณ์ กรณีศึกษาและจัดการเรียนการสอนเป็นฐานการเรียนรู้ ที่มีการฝึกปฏิบัติ
แบบต่อเนื่อง (Block Course) โดยสถานศึกษาและผู้สอนต้องแบ่งกลุ่มผู้เรียนให้เข้าฝึกปฏิบัติเป็นกลุ่มย่อย ๆ

3

สอดคล้องกับจานวนครุภัณฑ์และอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ และเป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนด
รวมท้ังปฏิบัติตามคาสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด -19)
หรือผู้สอนอาจจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการสาธิต ในลักษณะสอนสด (Live) หรือสื่อจาลองเสมือนจริง
(Simulation) แบบออนไลน์ สาหรับการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน (On Demand) และมีช่องทางการ
ตดิ ตอ่ สอ่ื สารผา่ นส่ือสงั คมออนไลนร์ ะหว่างผสู้ อนกบั ผู้เรยี น

ทั้งน้ี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหารายวิชาครบถ้วนตามท่ีหลักสูตรกาหนด ผู้สอนอาจนา
เน้ือหาท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไปสอนเสริมหรือบูรณาการกับรายวิชาอื่น ในลักษณะการจัดการเรียนรู้
แบบสหวทิ ยาการ (Multidisciplinary Instruction) ท่ีเนน้ โครงงานเป็นฐาน ในภาคเรียนถัดไป

3.2 การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชพี และการฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ
กรณีที่สถานศึกษาไม่สามารถจัดหาสถานประกอบการให้ผู้เรียนฝึกประสบการณ์ สมรรถนะ

วิชาชีพได้ ให้ดาเนินการจัดฝึกปฏิบัติในสถานศึกษา หรือมอบหมายงานในลักษณะเป็นชิ้นงาน/โครงงาน
หรือกาหนดกิจกรรมอ่ืนทเี่ หมาะสม ทดแทน

การฝกึ อาชีพในระบบทวภิ าคี สถานศกึ ษาที่ไมส่ ามารถจดั ใหผ้ ้เู รียนฝึกอาชีพในสถานประกอบการได้
อาจปรับรูปแบบการจัดการศึกษาจาก ระบบทวิภาคี เป็น ในระบบได้ เพื่อไม่ให้ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน
การจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคี สาหรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ
ให้เป็นไปตามทส่ี ภาสถาบนั การอาชวี ศึกษากาหนด

3.3 กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร
ในรายวิชาลูกเสือวิสามัญ 1 - 2 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 1 - 4 กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม

หรือกิจกรรมท่ีสถานศึกษา/หรือสถานประกอบการจัด ให้งดการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา/หรือสถาน
ประกอบการ โดยปรับเปล่ียนเป็นกิจกรรมอ่ืนท่ีผู้เรียนสามารถทาที่บ้านได้ ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีผู้เรียน
สามารถปฏบิ ตั ไิ ดง้ ่ายและเกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสงั คม

สาหรบั กจิ กรรมนักศกึ ษาวิชาทหารขอให้เป็นไปตามขอ้ กาหนดของหนว่ ยบญั ชาการรักษาดินแดน
(นรด.) กระทรวงกลาโหม กาหนด

3.4 การประเมินผลรายวิชา
1) ภาคทฤษฎี ให้ผสู้ อนประเมนิ ผลการเรยี นรรู้ ายวชิ าแบบออนไลน์
2) ภาคปฏิบัติ ให้ผู้สอนประเมินผลเม่ือส้ินสุดการฝึกปฏิบัติในแต่ละฐานการเรียนรู้

ตามสมรรถนะท่ีสาคัญและต้องใช้ในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ หรือประเมินผลแบบเขียนตอบ
(Paper Pencil Test) ในลักษณะการลาดับข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน วธิ กี ารแก้ปัญหา การกาหนดสถานการณ์

หากสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า เน้ือหารายวิชาที่ผู้สอนจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐานของผู้เรียน อาจให้ผู้สอน
ขยายเวลาการตัดสินผลการเรียน โดยให้นาเน้ือหาไปสอนเสริมหรือบูรณาการการจัดการเรียนรู้
แบบสหวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction) ที่เน้นโครงงานเป็นฐานกับรายวิชาอื่น ท้ังนี้ ให้ดาเนินการ
ประเมนิ ผลรายวชิ าใหเ้ สร็จส้นิ ภายในกาหนดการวดั ผลปลายภาคเรยี นของภาคเรียนถัดไป

4

3.5 การประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ
1) ภาคทฤษฎี ให้คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี ใช้การประเมนิ แบบออนไลนท์ ดแทน
2) ภาคปฏิบัติ ให้คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี ดาเนินการตามหลกั เกณฑ์และวิธกี าร

ทก่ี าหนด
กรณีถูกห้ามใช้สถานศึกษาทากิจกรรมตามประกาศของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาด

ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) ให้สถานศึกษาดาเนินการขออนุญาตต่อคณะกรรมการโรคติดต่อ
จงั หวดั เพ่อื ดาเนินการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ

4. แนวทางการจัดการเรียนร้อู าชวี ศึกษาในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19)
เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ทาให้

สถานศึกษาที่ต้ังในเขตพ้ืนท่ีท่ีศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประกาศ
มาตรการ ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนรูปแบบในช้ันเรียนหรือรูปแบบปกติในสถานศึกษาได้ สถานศึกษา
ต้องกาหนดให้ครูปรับวิธีการจัดการเรียนการสอนจากรูปแบบปกติ เป็นการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ในลักษณะสอนสด (Live) ผ่านแพลตฟอร์ม (Platform) การจัดการเรียนรู้ออนไลน์ท่ีมีคุณภาพ ออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมุ่งให้บรรลุจุดประสงค์รายวิชาที่เทียบเคียงกับการสอนในห้องเรียน มอบหมายงาน และ
รับ-ส่งงานผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ต้องเข้าชั้นเรียน แต่การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาน้ัน
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติและการลงมือทาด้วยตนเอง ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู เพื่อทาให้ผู้เรียน
เกิดความชานาญ จึงจะสามารถใช้งานและแก้ปัญหาในสถานการณ์จริงได้ จึงเป็นความท้าทายของ
การจัดการอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ แต่ยังคงคุณภาพของผู้เรียนและผู้สาเร็จการศึกษา
เพือ่ เป็นกาลังคนท่ีสาคญั ของประเทศต่อไป

การจดั การเรียนการสอนแบบรายวชิ า
4.1 การจัดการเรยี นรู้ภาคทฤษฎี
ผู้สอนต้องดาเนินการวิเคราะห์เน้ือหาภาคทฤษฎีออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ต้องรู้ และ ควรรู้

โดยเนื้อหาที่ “ต้องรู้” ให้ผู้สอนจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบออนไลน์
(Online) และเน้ือหาที่“ควรรู้” ให้ผู้สอนจัดหาสื่อการสอนที่เหมาะสม (On Demand) เพ่ือให้ผู้เรียนศึกษา
ดว้ ยตนเอง ดงั น้ี

1) การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านระบบออนไลน์ (Online)
เป็นการจัดการเรียนการสอนในลักษณะสอนสด (Live) ผ่านแพลตฟอร์ม (Platform) การจัดการเรียนรู้
ออนไลน์ท่ีมีคุณภาพ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งให้บรรลุจุดประสงค์รายวิชาท่ีเทียบเคียงกับการสอนใน
หอ้ งเรยี น มอบหมายงานและรับ-ส่งงานผ่านระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ โดยไม่ตอ้ งเข้าชัน้ เรยี น

การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยกจิ กรรมต่าง ๆ ดังน้ี
- การเรียนรู้เน้ือหาทางวิชาการจากเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) ที่มีการวิเคราะห์
เนื้อหาตามหลักสูตรกาหนดเพ่ือประกอบการเรียนการสอน
- การเรียนรู้เนื้อหาภาคทฤษฎีจากบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Courseware) ท่ีมี
การนาเสนอเนื้อหาวิชาการในรูปแบบของ Multimedia ท่ีประกอบด้วยตัวอักษร ภาพ เสียง และภาพเคล่ือนไหว
ทาใหบ้ ทเรียนมคี วามสวยงาม นา่ สนใจ

5

- การทากิจกรรมเสริมการเรียน (Learning Activity) เพ่ือพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้
ผ่านเครื่องมือสื่อสารภายในระบบ เช่น การทาการบ้าน (Assignment) การทาแบบทดสอบ (Pretest
Posttest) และการทา Project เพื่อให้ผู้เรียนได้ ประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง อีกทั้งร่วมแสดง
ความคิดเห็น แลกเปล่ียนความรู้ ซักถามเก่ียวกับข้อสงสัยในเน้ือหาวิชาการระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
หรือผ้เู รยี นด้วยกันเองผ่านเครื่องมอื ตดิ ตอ่ สื่อสารท่มี ีอย่ใู นระบบ เช่น Chat Room หรอื Web board ได้

- การตรวจสอบและประเมินความก้าวหน้าทางการเรียนของผู้เรียน ตามตารางเวลา
การสง่ ผลงาน และรายงานสถติ กิ ารเข้าเรียนในส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ตามสดั สว่ นที่กาหนด

- การวัดผลและประเมินผลภาคทฤษฎี ครูผู้สอนจะดาเนินการทดสอบตามหน่วยการเรียน
และดาเนินทดสอบปลายภาคเรียนด้วยข้อสอบมาตรฐาน (Final Test) ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ อาทิ Google Form
หรอื Kahoot เป็นต้น

2) การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านการเรียนรู้ด้วยตนเอง
เป็นการจัดการเรียนการสอนในลักษณะที่ผู้สอนบันทึกการสอนไว้ล่วงหน้า (On Demand) นาเสนอผ่านสื่อ
ออนไลน์ท่ีมีคุณภาพ ผู้เรียนสามารถเข้ามาศึกษาเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา โดยมีเน้ือหา สื่อการเรียนรู้
และการประเมินผลท่ีเหมาะสมกับการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน และมีช่องทางการติดต่อส่ือสาร
ผ่านส่อื สงั คมออนไลน์ระหวา่ งผู้สอนกบั ผ้เู รยี น

4.2 การจดั การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ตั ิ
1) การเรียนรู้เน้ือหาภาคปฏิบัติ โดยการเข้ารับการฝึกปฏิบัติในสถานศึกษา (Class Room
Learning) ซ่ึงครูผู้สอนในรายวิชาพิจารณาสมรรถนะและเนื้อหาภาคปฏิบัติท่ีสาคัญ และต้องใช้ในการ
ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ให้แก่นักเรียน นักศึกษาในรูปแบบโมดูล มุ่งเน้นการแก้ปัญหา การกาหนด
สถานการณ์ กรณีศึกษาและจัดการเรียนการสอนเป็นฐานการเรียนรู้ ท่ีมีการจัดการเรียนแบบต่อเน่ือง
(Block Course) ตามจานวนช่ัวโมงที่กาหนด รวมทั้งแบ่งกลุ่มผู้เรียนให้เข้าฝึกปฏิบัติเป็นกลุ่มย่อย ๆ
สอดคล้องกับจานวนครุภัณฑ์และอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ และเป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่กาหนด
รวมท้ังปฏิบัติตามคาส่ังศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด -19)
มาตรการท่ีคณะกรรมการบริหารสถานการณโ์ ควดิ ในแต่ละพ้นื ที่กาหนด ตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม
หรือผู้สอนอาจจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการสาธิต ในลักษณะสอนสด (Live) หรือสื่อจาลองเสมือนจริง
(Simulation) แบบออนไลน์สาหรับการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน (On Demand) และมีช่องทางการ
ติดต่อส่ือสารผา่ นส่ือสังคมออนไลน์ระหว่างผู้สอนกับผเู้ รียน
2) การประเมินผลภาคปฏิบัติ ครูผู้สอนจะดาเนินการประเมินในระหว่างการเรียนรู้เนื้อหา
ภาคปฏิบัติ หรือเม่ือสิ้นสุดการฝึกปฏิบัติในแต่ละฐานการเรียนรู้ ตามสมรรถนะที่สาคัญและต้องใช้ในการ
ปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการ

ผังการวเิ คราะหเ์ น้อื หาสาหรับการจัดการเรียนการสอนแบบรายวิชา

หลกั สตู ร......... ควรรู้ เร่ืองที.่ ...........
รายวิชา...........
คาอธบิ ายรายวชิ า........................... Content.......
......................

วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา
ภาคทฤษฎี
ภาคปฏบิ ัติ

ภาคทฤษฎี แบง่ เนอื้ หาออกเปน็ เรอ่ื งๆ ต้องรู้ เรื่องที.่ ...........
เรือ่ งท๑่ี ....................................... Content.......
เร่อื งท๒ี่ ....................................... ......................
เรื่องท๓่ี .......................................
เรอ่ื งท๔่ี .......................................
เร่อื งท๕ี่ .......................................
เรื่องท.่ี .. .....................................

ภาคปฏิบัติ สมรรถนะที่ แบ่งเน้ือหาออกเปน็ ฐาน สอนแบบกลมุ่ ยอ่ ย
สาคัญและ การเรียนรู้
ตอ้ งใชใ้ นการ ฐานการเรียนรทู้ ี่๑........................
ปฏบิ ตั ิงานใน ฐานการเรียนรทู้ ่ี๒........................
ฐานการเรียนรูท้ ่ี๓........................
สถาน ฐานการเรียนรูท้ ี่.... .....................
ประกอบการ

6

การสอนแบบแหง้ เนือ้ หา -e-Book
(On Demand) วิธกี ารสอน -วิดโี อ
ส่อื การสอน -ส่อื นาเสนออเิ ล็กทรอนกิ ส์
การสอนแบบสด การวัดประเมนิ ผล -เคร่อื งมอื วัดผลออนไลน์
(Live)
-การใช้ Micro Soft Teams เนื้อหา ส่งผ่าน Chat
วธิ ีการสอน
สอ่ื การสอน Video Conferrence

การวดั ประเมนิ ผล Share Destop
PowerPoint

Kahoot
Google Form

เน้ือหา ใบงาน/ใบความรู้ การวัดประเมินผลปลายภาคเรียน
วธิ กี ารสอน ตดั สนิ ผลการเรยี น
สอ่ื การสอน Block Course
การวัดประเมนิ ผล
ส่อื ของจรงิ
ประเมนิ ตามสภาพจริ ง

7

ตวั อย่างการวิเคราะห์เนอื้ หาสาหรบั การจัดการเรียนการสอนแบบรายวิชา

20001-1003 วชิ าธุรกิจและการเป็นผูป้ ระกอบการ 1-2-2

(Business and Entrepreneurs)

จดุ ประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1. เข้าใจเก่ียวกับหลักการวางแผนเป้าหมายชีวิตด้วยวงจรควบคุมคุณภาพ ธุรกิจและการเป็น

ผู้ประกอบการ หลักการจัดการการเงิน หลักการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตเบื้องต้น และกฎหมาย

ทเี่ ก่ียวขอ้ ง

2. สามารถจัดทาแผนธุรกิจอย่างง่าย โดยประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการ

บริหารงานคุณภาพและเพ่ิมผลผลิต

3. มีเจตคติที่ดีต่อการเป็นผู้ประกอบการ และมีกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ

ขยัน ประหยดั และอดทน

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการวางแผนเป้าหมายชีวิตด้วยวงจรควบคุมคุณภาพ ธุรกิจและการเป็น

ผู้ประกอบการ หลักการจัดการการเงิน หลักการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิตเบ้ืองต้นและกฎหมาย
ท่เี ก่ียวขอ้ ง

2. จัดทาแผนธุรกจิ อยา่ งง่าย
3. ประยุกตใ์ ชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการวางแผนและดาเนนิ งาน
4. ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การบริหารงานคุณภาพและเพ่ิมผลผลติ ในการวางแผนและดาเนินงาน

คาอธิบายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการวางแผนเป้าหมายชีวิตด้วยวงจรควบคุมคุณภาพ การออมและการลงทุน

ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ การจัดหาและวางแผนทางการเงิน กฎหมายท่ีเกี่ยวกับธุรกิจและการเป็น
ผู้ประกอบการ รูปแบบและการจัดทาแผนธุรกิจ หลักเบ้ืองต้นในการบริหารงานคุณภาพและเพ่ิมผลผลิตในองค์กร
และการประยุกต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในธรุ กจิ และการเป็นผูป้ ระกอบการ

ตัวอยา่ งการวเิ คราะห์เนื้อหาสาหรบั กา

ผลการวิเครา
รหัสวิชา 20001-1003 วิชาธรุ กิจและการเป็นผปู้ ระกอบการ ( 1 - 2 -

ระดับช้นั ประกาศ

จดุ ประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา คาอธิบายรายวชิ า

1. เข้าใจเกย่ี วกับหลกั การวางแผน 1. แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับหลกั การ ศกึ ษาและปฏิบตั ิเก่ียวกบั การวางแผน
เป้าหมายชีวติ ด้วยวงจรควบคุม วางแผนเป้าหมายชีวิตด้วยวงจร เป้าหมายชีวิตด้วยวงจรควบคุมคุณภา
คุณภาพ ธรุ กิจและการเปน็ ควบคุมคณุ ภาพ ธรุ กจิ และการ การออมและการลงทนุ ธุรกจิ และการ
ผู้ประกอบการ หลักการจัดการ เป็นผู้ประกอบการ หลกั การ ผ้ปู ระกอบการ การจดั หาและวางแผน
การเงนิ หลักการบริหารงาน จดั การการเงิน หลักการบริหารงาน ทางการเงนิ กฎหมายที่เก่ียวกับธุรกิจ
คุณภาพและเพิ่มผลผลติ เบ้อื งต้น คุณภาพและเพิ่มผลผลติ เบื้องตน้ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ รูปแบบแล
และกฎหมายที่เก่ียวขอ้ ง และกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง การจัดทาแผนธุรกจิ หลักเบ้ืองต้น
2. สามารถจดั ทาแผนธรุ กจิ อย่าง 2. จดั ทาแผนธรุ กิจอย่างง่าย ในการบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผล
งา่ ย โดยประยุกตใ์ ช้หลกั ปรชั ญา 3. ประยุกต์ใช้หลักปรชั ญาของ
ของเศรษฐกจิ พอเพียง และหลกั การ เศรษฐกิจพอเพียงในการวางแผน ในองคก์ ร และการประยุกต์ใช้ปรัชญ
บริหารงานคุณภาพและเพ่ิมผลผลิต และดาเนินงาน ของเศรษฐกิจพอเพียงในธุรกิจและก
3. มีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การเป็น 4. ประยุกต์ใช้หลักการบริหารงาน เป็นผู้ประกอบการ
ผ้ปู ระกอบการ และมีกิจนิสยั คุณภาพและเพ่ิมผลผลิตในการ
ในการทางานด้วยความรับผิดชอบ วางแผนและดาเนนิ งาน
รอบคอบ ขยัน ประหยดั และอดทน

ารจัดการเรยี นการสอนแบบรายวิชา 8

าะห์หลักสูตร
- 2 ) ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าไฟฟา้ กาลัง สาขางานไฟฟา้ กาลงั
ศนยี บตั รวชิ าชีพ

หนว่ ย จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

น ภาคทฤษฎี

าพ ต้องรู้ ควรรู้

รเปน็ 1.ธุรกจิ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ กาหนดวัตถปุ ระสงค์ของการ -
น ประกอบธุรกิจ
ประยกุ ต์ใช้หลักปรชั ญาของ เลือกประเภทของเงินทุน
ละ เศรษฐกจิ พอเพยี งในธรุ กจิ สาหรบั ธุรกิจเริ่มก่อตง้ั ได้
และการเป็นผู้ประกอบการได้ บอกแหล่งเงนิ ทุนสาหรับการ
ลติ 2.การออมและการบรหิ ารเงินทุน เรม่ิ ก่อตัง้ ธุรกจิ ได้
ญา - บอกสถาบนั ทางการเงนิ ใน
ประเทศไทยได้
การ อธิบายการเพิ่มผลติ ได้
-
3.การเพม่ิ ผลผลิตในองคก์ ร
วเิ คราะหแ์ นวโน้นการแข่งขนั เลือกส่วนประกอบประสม
4.การตลาดสาหรบั ธรุ กิจ ในตลาดธรุ กิจขนาดยอ่ ม ทางการตลาดได้
และการเขยี นแผนธุรกจิ
กาหนดแผนการตลาดสาหรับ -
ธรุ กิจขนาดย่อมได้

ภาคปฏิบัติ

สมรรถนะท่ีตอ้ งใชใ้ นการปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ

เขยี นแผนธรุ กจิ ได้

9

ตัวอยา่ งการวเิ คราะห์เนอื้ หาสาหรับการจดั การเรยี นการสอนแบบรายวิชา

20001-2001 คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพ่ืองานอาชพี 1-2-2
(Computer and Information for Careers)

จดุ ประสงคร์ ายวชิ า เพ่ือให้
1. เข้าใจหลักการและกระบวนการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานอาชีพการใช้

ระบบปฏบิ ตั ิการโปรแกรมสาเรจ็ รูป และอินเทอรเ์ นต็ เพ่ืองานอาชพี
2. สามารถใช้ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์โปรแกรมสาเรจ็ รปู และเทคโนโลยสี ารสนเทศตามลักษณะงาน

อาชีพ
3. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความรับผดิ ชอบในการใชค้ อมพวิ เตอร์และระบบสารสนเทศในฐานอาชพี

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการและกระบวนการใช้คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศ ระบบปฏิบัติการ

โปรแกรมสาเร็จรปู และอนิ เทอร์เน็ตเพือ่ งานอาชพี
2. ใช้ระบบปฏบิ ัตกิ าร ในการจดั สภาพแวดล้อมและจดั สรรทรพั ยากรต่าง ๆ บนเครอื่ งคอมพิวเตอร์
3. ใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รูปในงานอาชีพตามลกั ษณะงาน
4. สืบคน้ ข้อมลู สารสนเทศในงานอาชีพโดยใชอ้ ินเทอรเ์ นต็
5. สื่อสารขอ้ มลู สารสนเทศโดยใช้อนิ เทอรเ์ นต็

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ การใช้ระบบปฏิบัติการ

(Windows หรือ Mac OS) การใช้โปรแกรมประมวลผลคาเพื่อจัดทาเอกสารในงานอาชีพ การใช้โปรแกรมตาราง
ทาการเพื่อการคานวณในงานอาชีพ การใช้โปรแกรมการนาเสนอผลงาน หรือการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปอ่ืน ๆ
ตามลักษณะงานอาชีพ การใช้อินเทอร์เน็ตเพ่ือสืบค้นและส่ือสารข้อมูลสารสนเทศในงานอาชีพ ผลกระทบ
ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรมและความรับผดิ ชอบในการใช้คอมพวิ เตอร์และสารสนเทศในงานอาชีพ

ตวั อยา่ งการวิเคราะหเ์ น้ือหาสาหรบั

ผลการวเิ ครา
รหัสวิชา 20001-2001 วชิ าคอมพวิ เตอร์และสารสนเทศเพ่ืองานอาชพี ( 1

ระดบั ชน้ั ประกาศ

จดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า คาอธิบายรายวชิ า

1. เข้าใจหลักการและกระบวนการ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการ ศึ ก ษ า แ ล ะ ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย ว กั บ ก า
ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี และกระบวนการใช้คอมพิวเตอร์ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ ล ะ ร ะ บ บ ส า ร ส น เ
สารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ การใช้ ระบบสารสนเทศ ระบบปฏิบัติการ เพ่ืองานอาชีพ การใช้ระบบปฏิบัต
ระบบปฏิบัติการโปรแกรมสาเร็จรูป โปรแกรมสาเร็จรูป และอินเทอรเ์ นต็ (Windows ห รื อ Mac OS) ก า ร
และอนิ เทอรเ์ น็ตเพื่องานอาชพี เพื่องานอาชพี โปรแกรมประมวลผลคาเพ่อื จัดทาเอก
2. สามารถใช้ระบบปฏิบัติการ 2. ใช้ระบบปฏิบัติการ ในการจัด ในงานอาชีพ การใช้โปรแกรมตารา
คอมพิวเตอร์ โปรแกรมสาเร็จรูป ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ จั ด ส ร ร การเพื่อการคานวณในงานอาชีพ กา
และเทคโนโลยีสารสนเทศตาม ทรัพยากรต่าง ๆ บนเคร่ือง โปรแกรมการนาเสนอผลงาน หรือกา
คอมพวิ เตอร์ โปรแกรมสาเร็จรูปอน่ื ๆ ตามลักษณะ
ลกั ษณะงานอาชีพ 3. ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปในงาน อาชีพ การใช้อินเทอร์เน็ตเพ่ือสืบค้น
3 . มี คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม อาชีพตามลักษณะงาน ส่ือสารข้อมูลสารสนเทศในงานอา
แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร ใ ช้ 4. สืบค้นข้อมูลสารสนเทศในงาน ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ อาชีพโดยใช้อินเทอร์เน็ต สนเทศ จริยธรรมและความรับผิดชอ
ในงานอาชีพ 5. ส่อื สารขอ้ มูลสารสนเทศโดยใช้ การใช้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศใน
อนิ เทอรเ์ น็ต อาชีพ

บการจัดการเรยี นการสอนแบบรายวชิ า 10

าะหห์ ลกั สตู ร
- 2 - 2 ) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวชิ าไฟฟา้ กาลงั สาขางานไฟฟ้ากาลงั
ศนยี บตั รวชิ าชพี

หนว่ ย จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

ร ใ ช้ ภาคทฤษฎี
เทศ
ต้องรู้ ควรรู้
ติการ 1. คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
ร ใ ช้ สารสนเทศ อธบิ ายหลักการทางานของ เลือกลกั ษณะการใช้งานท่ี
กสาร เครื่องคอมพวิ เตอรไ์ ด้ เหมาะสมกับคอมพิวเตอรไ์ ด้
จาแนกองคป์ ระกอบของ
างทา เทคโนโลยีสารสนเทศได้

ารใช้ แยกประเภทของระบบ เลือกใช้งานระบบปฏบิ ัติการ
ารใช้ 2. ระบบปฏิบัตกิ าร

ะงาน ปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอรไ์ ด้ คอมพิวเตอร์ได้
นและ 3. การใช้โปรแกรมประมวลผลคา
อธิบายประโยชนส์ าคญั ของ -
าชีพ โปรแกรมประมวลผลคาได้ -
สาร
อบใน จาแนกสว่ นประกอบของ
โปรแกรมประมวลผลคาได้
นงาน 4. การใชโ้ ปรแกรมตารางงาน
อธิบายประโยชนส์ าคญั ของ

โปรแกรมตารางงานได้

ประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมตาราง

งานใหเ้ หมาะสมได้

5. การใชโ้ ปรแกรมนาเสนอข้อมลู อธิบายการใช้งานโปรแกรม -

นาเสนอผลงานในงาน

อาชีพได้

จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา คาอธิบายรายวชิ า

11

หนว่ ย จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
6. ความรเู้ บอ้ื งต้นเกีย่ วกบั
อินเตอร์เนต็ ต้องรู้ ควรรู้

7. การสืบคน้ ขอ้ มลู สารสนเทศ เปรยี บเทยี บข้อดขี อ้ เสยี อธิบายความสาคัญของ
8. การส่อื สารทางอินเทอรเ์ นต็ ของการใชง้ านบนระบบ ระบบอินเทอรเ์ นต็ ต่องาน
เครอื ข่ายอินเตอร์เนต็ อาชีพได้
9. จริยธรรมในการใชค้ อมพิวเตอร์
- ยกตวั อย่างการบรกิ ารบน
ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ได้
-
บอกหลกั การสืบคน้ ข้อมลู
ประยุกตใ์ ชค้ อมพิวเตอร์ บนระบบอนิ เตอร์เนต็ ได้
ตามหลกั จรรยาบรรณใน
งานอาชีพได้ อธบิ ายการทางานของ
ภาคปฏิบัติ จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ได้

บอกความแตกตา่ งของ
เวบ็ ไซต์ท่ใี ห้บริการอีเมลไ์ ด้

อธบิ ายความรเู้ กย่ี วกับ
จรยิ ธรรมในงานอาชีพได้

สมรรถนะท่ีต้องใชใ้ นการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ

1.สรา้ งเอกสารจากโปรแกรมประมวลผลคาในงานอาชีพได้
2.สรา้ งเอกสารจากโปรแกรมตารางงานในงานอาชีพได้
3. สรา้ งเอกสารจากโปรแกรมนาเสนอผลงานในงานอาชีพได้
4. สบื ค้นขอ้ มูลด้วยโปรแกรมเบราวเ์ ซอรบ์ นระบบอินเตอร์เน็ตได้

12

ตัวอย่างการวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาสาหรบั การจัดการเรียนการสอนแบบรายวิชา

20100-1005 งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์เบอ้ื งต้น 1-3-2
(Basic Electrical and Electronic Work)

จุดประสงค์รายวชิ า เพื่อให้
มีทักษะเก่ียวกับการใช้เคร่ืองมือวัดทดสอบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ การเตรียมอุปกรณ์ ประกอบ

ทดสอบวงจรไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ เลอื กเครือ่ งใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

สมรรถนะรายวิชา
1. ประกอบและตรวจสอบวงจรไฟฟา้ เบอ้ื งต้น

2. ต่อวงจรและอุปกรณ์ควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟา้ เบือ้ งตน้

3. ตอ่ วงจรและตรวจสอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ สเ์ บอื้ งตน้

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติงานเก่ียวกับหลักความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แหล่งกาเนดิ

ไฟฟา้ กฎของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าเบ้ืองต้น วงจรไฟฟา้ แสงสว่าง การควบคุมมอเตอรเ์ บ้ืองต้น อุปกรณ์
ป้องกันไฟฟ้าและการต่อสายดิน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ R L C หม้อแปลงไฟฟ้า รีเลย์ ไมโครโฟน ลาโพง อุปกรณ์
สารกึ่งตัวนา การบัดกรี การใช้มัลติมิเตอร์ เครื่องกาเนิดสัญญาณ ออสซิลโลสโคป การประกอบวงจรไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกสเ์ บอื้ งต้น

ตวั อย่างการวเิ คราะหเ์ น้ือหาสาหรบั

ผลการวเิ ครา
รหัสวิชา 20100-1005 วิชางานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บ้ืองตน้ ( 1 - 3 -

ระดับชัน้ ประกาศ

จดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า คาอธบิ ายรายวิชา

มีทักษะเก่ียวกับการใช้เครื่องมือวัด 1. ประกอบและตรวจสอบ ศึกษาและปฏิบัติงานเก่ียวกับหลักค
ทดสอบวงจรไฟฟ้าและเล็กทรอนิกส์ วงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้น ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ไ ฟ
ก าร เ ตรี ย มอุ ปก ร ณ์ ปร ะ ก อบ 2. ต่อวงจรและอปุ กรณ์ควบคมุ และอิเล็กทรอนิกส์ แหล่งกาเนิดไฟ
ทดสอบวงจรไฟฟ้าและเล็กทรอนิกส์ มอเตอรไ์ ฟฟ้าเบือ้ งต้น กฎของโอห์ม พลังงานไฟฟ้า วงจรไฟ
เลอื กเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและเล็กทรอนกิ ส์ 3. ต่อวงจรและตรวจสอบ เบือ้ งต้น วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง การควบ
มอเตอร์เบื้องต้น อุปกรณ์ป้องกันไฟ
อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ และการตอ่ สายดิน อุปกรณ์อิเล็กทรอ
เบือ้ งต้น R L C หม้อแปลงไฟฟ้า รีเลย์ ไมโคร
ลาโพง อุปกรณ์สารก่ึงตัวนา การบ
การใช้มัลติมิเตอร์ เครื่องกาเนิดสัญญ
ออสซิลโลสโคป การประกอบวงจรไฟ
และอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บอ้ื งต้น

บการจดั การเรยี นการสอนแบบรายวชิ า 13

าะห์หลกั สูตร
2 ) ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวชิ าอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สาขางานอิเลก็ ทรอนิกส์
ศนียบตั รวชิ าชีพ

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
หน่วย

ความ ภาคทฤษฎี

ฟ ฟ้ า ตอ้ งรู้ ควรรู้
อธบิ ายหลักความปลอดภัยใน -
ฟฟ้า 1. หลักความปลอดภยั ในการ การปฏิบัตงิ านไฟฟา้ และ
ฟฟ้า ปฏิบตั งิ านไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ อเิ ล็กทรอนิกสไ์ ด้ จาแนกลกั ษณะของ
บคุม แหล่งกาเนิดไฟฟ้าได้
- คานวณความสัมพันธ์ของ
ฟฟ้า 2. แหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ ค่าความต้านทาน แรงดันไฟฟ้า
อนิกส์ อธบิ ายหลักการทางานของ กระแสไฟฟ้า และกาลงั ไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้าได้ ตามกฎของโอห์มได้อยา่ ง
รโฟน 3. วงจรไฟฟ้าเบ้ืองตน้
บัดกรี

ญาณ

ฟฟ้า

ถูกตอ้ ง

4. วงจรไฟฟ้าแสงสวา่ ง เลือกใช้อุปกรณเ์ หมาะกับ อธิบายหน้าที่ของอุปกรณท์ ่ีใช้

ลกั ษณะงานในวงจรไฟฟ้า ในวงจรไฟฟา้ แสงสวา่ งได้

แสงสวา่ งได้อย่างถูกต้อง

5. การควบคุมมอเตอรเ์ บ้ืองต้น - อธบิ ายการทางานของ

การควบคุมมอเตอร์เบอ้ื งต้นได้

6. อปุ กรณ์ป้องกนั ไฟฟา้ และการตอ่ เลือกใช้อปุ กรณป์ อ้ งกนั ไฟฟา้ เปรียบเทียบการทางาน

สายดิน และการต่อสายดินได้อย่าง อุปกรณป์ อ้ งกันไฟฟา้

ถูกตอ้ ง และการต่อสายดนิ ได้

7. อุปกรณ์ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ เลอื กใช้อปุ กรณ์ไฟฟา้ และ อธิบายการทางานของ

เบ้ืองต้น อิเล็กทรอนกิ สเ์ บอ้ื งตน้ ได้ อุปกรณ์ไฟฟา้ และ

อเิ ลก็ ทรอนิกส์เบ้ืองต้นได้

อา่ นคา่ R L C ได้อย่างถกู ตอ้ ง

จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวิชา คาอธิบายรายวชิ า

14

หน่วย จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
8. การใช้งานเคร่ืองมอื วัดเบื้องต้น
ต้องรู้ ควรรู้
9. การประกอบวงจรไฟฟ้าและ
อเิ ล็กทรอนกิ ส์เบ้ืองตน้ จาแนกอุปกรณท์ ใี่ ชใ้ นการ อธิบายหลักการทางานของ
ประกอบวงจรไฟฟ้าและ เครอ่ื งมอื วดั ในงานไฟฟา้
อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บอ้ื งตน้ ได้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องต้น
ได้
ภาคปฏิบัติ
ลาดบั ข้ันตอนการบัดกรไี ด้

สมรรถนะทต่ี ้องใช้ในการปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ

1. ประกอบวงจรไฟฟ้าแสงสวา่ งได้อย่างถกู ต้อง

2. ทดสอบวงจรไฟฟ้าแสงสวา่ งได้

3. วัดทดสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบอ้ื งต้นได้

4. ประกอบวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์บนแผ่นวงจรพิมพไ์ ดอ้ ยา่ ง
ถูกตอ้ ง

5. บัดกรอี ปุ กรณบ์ นแผ่นวงจรพมิ พ์ได้

6. ทดสอบการทางานของวงจรอิเล็กทรอนกิ สจ์ าก
แผ่นวงจรพิมพไ์ ด้

15

5. แนวทางการจัดกจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ทาให้ผู้เรียนไม่สามารถ

มาเรียนในห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ในสถานศึกษาได้ตามปกติ ดังนั้น สถานศึกษาจึงต้องพัฒนารูปแบบหรือ
กาหนดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ในรายวิชาลูกเสือวิสามัญ 1-2 กิจกรรมองค์การวิชาชีพ 1-4 กิจกรรมส่งเสริม
คุณธรรมจริยธรรม หรือกิจกรรมท่ีสถานศึกษา/หรือสถานประกอบการจัด ตามท่ีหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี
(ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) กาหนด โดยให้สถานศึกษาจัดในลักษณะการพัฒนา
คุณภาพชีวิตผู้เรียน (Life Style Activity) ท่ีสอดคล้องกับการจัดกิจกรรมโครงการตามแผนกิจกรรมหลัก
ขององค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) หรือองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย
ในพระราชูปถัมภ์สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) ดังน้ี

5.1 องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.)

การดาเนนิ กจิ กรรมหลักของชมรมวิชาชีพ
1) การพฒั นาวชิ าชีพ
2) การสง่ เสริมธุรกิจ และออมทรัพย์
3) การเสริมสร้างพฤติกรรมความเป็นผู้นา
4) การพฒั นาทักษะชีวิต
5) การพฒั นาความสมั พันธช์ มุ ชน

5.2 องคก์ ารนักวชิ าชพี ในอนาคตแหง่ ประเทศไทย (อวท.)
เปา้ หมายท่ี 1 กิจกรรมการพัฒนาสมาชกิ ใหเ้ ป็น“คนดแี ละมคี วามสขุ ”

แผนเสรมิ สรา้ งบุคลกิ ภาพและความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม
นักเรียน นักศึกษาสามารถทากิจกรรม เช่น การเข้าร่วมประชุมออนไลน์สมาชิก อวท.ของสถานศึกษา,

การเลือกตั้งนายก อวท. แบบออนไลน์, การเลือกประธานชมรมวิชาชีพแบบออนไลน์, การเลือกหัวหน้าห้อง
แบบออนไลน์, จิตอาสาหรือการช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับความยากลาบากในชุมชน แล้วรายงานให้ครูท่ีปรึกษาเพ่ือเก็บสะสม
เพ่อื นาไปประเมินกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรตอ่ ไป

กิจกรรม รอ่ ยรอยหลักฐาน
การเข้าร่วมประชุมออนไลนส์ มาชกิ อวท. หรอื
อกท. ของสถานศึกษา -แบบลงเวลาการเขา้ ร่วมกจิ กรรมออนไลน์
การเลือกตั้งนายก อวท. แบบออนไลน์ -ภาพถ่ายแคปเจอร์หน้าจอ

การเลือกประธานชมรมวิชาชพี แบบออนไลน์ -แบบลงเวลาการเข้าร่วมกจิ กรรมออนไลน์
-ภาพถา่ ยแคปเจอรห์ น้าจอ
การเลือกหวั หนา้ ห้องแบบออนไลน์
-แบบลงเวลาการเขา้ รว่ มกิจกรรมออนไลน์
การช่วยเหลือผทู้ ไ่ี ดร้ บั ความยากลาบากในชมุ ชน -ภาพถา่ ยแคปเจอร์หน้าจอ

-แบบลงเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมออนไลน์
-ภาพถา่ ยแคปเจอร์หน้าจอ

-ภาพถา่ ย
-คารับรองจากผเู้ ก่ียวข้อง

16

แผนเสรมิ สร้างสุขภาพ กฬี าและนนั ทนาการ

นกั เรยี น นกั ศึกษาสามารถทากิจกรรม เชน่ การออกกาลังกาย, การร้องเพลงคาราโอเกะหรือบนสื่อสังคม

ออนไลน์ อาทิ Tiktok, การเล่นดนตรี แล้วรายงานให้ครูที่ปรึกษาเพ่ือเก็บสะสมและเพื่อนาไปประเมินกิจกรรม

เสริมหลกั สูตรต่อไป

กจิ กรรม ร่อยรอยหลกั ฐาน

การออกกาลงั กาย -ภาพถ่าย

-บนั ทกึ การทากจิ วัตรประจาวนั

การรอ้ งเพลงคาราโอเกะหรอื บนสอ่ื สงั คมออนไลน์ -ภาพถา่ ย

อาทิ Tiktok -คลิปวิดิโอ

การเลน่ ดนตรี -ภาพถา่ ย

-คลิปวดิ โิ อ

แผนพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
นักเรียน นักศึกษาสามารถทากิจกรรม เช่น การบันทึกบัญชีครัวเรอื นและการออมเงิน, การบริจาคโลหติ ,

การบริจาคสมทบทนุ ซ้อื เคร่ืองมอื และอุปกรณ์การแพทย,์ การบริจาคส่งิ ของ, การทางานบ้าน, การดแู ลบดิ ามารดา
และบพุ การี แล้วรายงานให้ครูท่ปี รกึ ษาเพ่ือเก็บสะสมเพอื่ นาไปประเมินกิจกรรมเสรมิ หลักสูตรต่อไป

กจิ กรรม รอ่ ยรอยหลกั ฐาน
การบนั ทกึ บัญชีครัวเรอื นและการออมเงิน สมุดบญั ชคี รัวเรอื น
การบริจาคโลหติ สมดุ บันทกึ การบริจาคโลหิต
การบริจาคสมทบทนุ ซื้อเครื่องมอื และอุปกรณ์ ใบรับบรจิ าค/ใบอนุโนทนาบัตร
การแพทย์
การบรจิ าคสงิ่ ของ ใบรบั บรจิ าค/ใบอนุโมทนาบตั ร
การทางานบ้าน -ภาพถ่าย
-บันทกึ การทากิจวตั รประจาวัน
การดูแลบิดามารดาและบพุ การี -ภาพถ่าย
-บนั ทึกการทากจิ วัตรประจาวัน

17

แผนส่งเสริมศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม

นักเรียน นักศึกษาสามารถทากิจกรรม เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาแบบออนไลน์ผ่านเว็บไซต์

ของหน่วยงานราชการ, ลงนามถวายพระพรออนไลน์ในวันสาคัญของชาติ อาทิ วันเฉลิมพระชนมพรรษา,

การเข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนา, การร่วมทาบุญในโอกาสต่าง ๆ แล้วรายงานให้ครูท่ีปรึกษาเพ่ือเก็บสะสม

เพื่อนาไปประเมินกิจกรรมเสริมหลักสูตรตอ่ ไป

กิจกรรม รอ่ ยรอยหลักฐาน

การเขา้ ร่วมกจิ กรรมเวียนเทยี นออนไลนผ์ ่านเว็บไซต์ -ภาพถา่ ยแคปเจอรห์ นา้ จอ

ของหนว่ ยงานราชการ

ลงนามถวายพระพรออนไลนใ์ นวนั สาคญั ของชาติ -ภาพถา่ ยแคปเจอรห์ นา้ จอ

อาทิ วันเฉลิมพระชนมพรรษา -หลักฐานการเข้ารว่ มกจิ กรรมออนไลน์

การเขา้ รว่ มพิธกี รรมทางศาสนา -ภาพถ่าย

-คารับรองจากผู้เกี่ยวข้อง

การรว่ มทาบญุ ในโอกาสต่าง ๆ -ภาพถ่าย

-คารบั รองจากผูเ้ กย่ี วข้อง

แผนสง่ เสริมการอนุรักษ์ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม

นักเรียน นักศึกษาสามารถทากิจกรรม เช่น การปลูกและดูแลต้นไม้ภายในบ้าน, การทาความสะอาด

บ้านเรือนที่พักอาศัย, การคัดแยกขยะภายในบ้านเพ่ือเพ่ิมมูลค่า แล้วรายงานให้ครูท่ีปรึกษาเพ่ือเก็บสะสม

เพ่อื นาไปประเมนิ กิจกรรมเสรมิ หลักสตู รต่อไป

กจิ กรรม รอ่ ยรอยหลกั ฐาน

การปลูกและดูแลต้นไม้ภายในบ้าน -ภาพถ่าย

-บันทกึ การทากิจวตั รประจาวนั

การทาความสะอาดบา้ นเรือนทพี่ กั อาศัย -ภาพถ่าย

-บันทึกการทากจิ วัตรประจาวนั

การคัดแยกขยะภายในบ้านเพ่ือเพิ่มมูลค่า -ภาพถ่าย

-สมดุ บญั ชีรบั -จ่าย

เปา้ หมายท่ี 2 คนเกง่ และมคี วามสขุ

แผนพัฒนามาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวชิ าชีพ

นักเรยี น นักศึกษาสามารถทากจิ กรรม เช่น การเรยี นออนไลน,์ การฝกึ อบรมออนไลน,์ การอดั คลิปวิดโี อ

นาเสนอผลงานท่ีได้รับมอบหมาย, การเข้ารับการทดสอบมาตรฐานอาชีพจากหน่วยงานท่ีมีอานาจในการ

ออกใบรับรอง แลว้ รายงานใหค้ รทู ี่ปรกึ ษาเพอ่ื เก็บสะสมเพ่อื นาไปประเมนิ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รต่อไป

กจิ กรรม รอ่ ยรอยหลกั ฐาน

การเรียนออนไลน์ -ภาพถ่าย

-ตารางเรียนตารางสอนออนไลน์

การฝึกอบรมออนไลน์ -ภาพถา่ ย

-ใบประกาศนยี บตั รผ่านการอบรมออนไลน์

18

กจิ กรรม ร่อยรอยหลักฐาน

การอัดคลิปวดิ ีโอนาเสนอผลงานที่ไดร้ บั มอบหมาย -คลปิ วดิ โี อ

การเข้ารับการทดสอบมาตรฐานอาชพี จากหนว่ ยงาน -ใบรับรองการทดสอบมาตรฐานอาชีพ

ทม่ี อี านาจในการออกใบรบั รอ

แผนพัฒนาส่งเสรมิ ความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์

นักเรียน นักศึกษาสามารถทากิจกรรม เช่น การทาสิ่งประดิษฐ์จากสิ่งของเหลือใช้, การคิดนวัตกรรม

เพ่ือแก้ปัญหาในสถานการณ์โควิด-19, การทาชิ้นงาน/โครงงาน, การทาเจลล้างมือแอลกอฮอล์แจกชุมชน

แล้วรายงานให้ครทู ีป่ รกึ ษาเพ่อื เกบ็ สะสมเพ่ือนาไปประเมินกิจกรรมเสริมหลักสตู รต่อไป

กิจกรรม รอ่ ยรอยหลกั ฐาน

การทาส่งิ ประดิษฐจ์ ากส่ิงของเหลอื ใช้ -ภาพถ่าย

-ช้ินงาน

การทานวัตกรรมเพ่ือแกป้ ัญหาในสถานการณ์โควิด-19 -ภาพถ่าย

-ช้นิ งาน

การทาชิน้ งาน/โครงงาน -ภาพถ่าย

-ชิน้ งาน

การทาเจลล้างมือแอลกอฮอล์แจกชมุ ชน -ภาพถา่ ย

-ชน้ิ งาน

-คารบั รองจากผ้เู กย่ี วข้อง

แผนสง่ เสรมิ การเรียนรูแ้ บบบูรณาการ

นักเรยี น นักศกึ ษาสามารถทากิจกรรม เชน่ การจาหนา่ ยสินค้าผ่านระบบออนไลน,์ การเขา้ รบั การอบรม

หลักสูตรการเป็นผู้ประกอบการออนไลน์, การเรียนออนไลน์, การสอนการบ้านน้อง, การแนะนาการใช้โปรแกรม

เรียนออนไลน์ให้กับผู้อ่ืน, การแนะนาช่องทางออนไลน์ในการจาหน่ายสินค้า แล้วรายงานให้ครู ท่ีปรึกษา

เพื่อเกบ็ สะสมเพอื่ นาไปประเมินกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรต่อไป

กิจกรรม ร่อยรอยหลักฐาน

การจาหน่ายสินค้าผ่านระบบออนไลน์ -ภาพถา่ ยแคปเจอรห์ นา้ จอ

-สมุดบัญชรี บั -จา่ ย

การเขา้ รับการอบรมหลกั สตู รการเป็นผปู้ ระกอบการ -ภาพถา่ ยแคปเจอร์หน้าจอ

ออนไลน์ -ใบรบั รองการผา่ นการอบรม

การเรยี นออนไลน์ -ภาพถา่ ยแคปเจอร์หน้าจอ

-ใบรับรองการผ่านการอบรม

การสอนการบา้ นน้อง -ภาพถา่ ย

-คารบั รองจากผเู้ กี่ยวข้อง

การแนะนาการใชโ้ ปรแกรมเรียนออนไลนใ์ ห้กับผู้อ่ืน -ภาพถา่ ย

-คารับรองจากผู้เก่ียวข้อง

การแนะนาชอ่ งทางออนไลน์ในการจาหน่ายสินคา้ -ภาพถ่าย

ใหก้ ับชุมชน -คารบั รองจากผูเ้ กีย่ วข้อง

19

แผนพัฒนาความรู้และความสามารถทางวิชาการ

นกั เรียน นกั ศกึ ษาสามารถทากิจกรรม เช่น การอ่านหนงั สือนอกเวลา, การเรียนรู้ผา่ นสื่อสงั คมออนไลน์

อาทิ YouTube, การเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการของหน่วยงานทางการศึกษาแบบออนไลน์ แล้วรายงานให้ครู

ท่ปี รึกษาเพอ่ื เกบ็ สะสมเพ่ือนาไปประเมนิ กิจกรรมเสริมหลักสูตรต่อไป

กิจกรรม ร่อยรอยหลกั ฐาน

การอ่านหนังสือนอกเวลา -ภาพถ่าย

-แบบสรปุ รายงานการอ่านหนังสือนอกเวลา

การเรียนรผู้ ่านส่อื สงั คมออนไลน์ อาทิ YouTube -ภาพถ่าย

-ใบประกาศนียบัตรผา่ นการอบรมออนไลน์

การเข้าร่วมกิจกรรมทางวชิ าการของหน่วยงาน -ภาพถ่ายแคปเจอร์หน้าจอ

ทางการศกึ ษาแบบออนไลน์ -ใบรับรองการร่วมกิจกรรมออนไลน์

แผนพฒั นานักเรยี น นกั ศกึ ษาให้มมี าตรฐานสู่สากล

นักเรียนนัก ศึกษาสามารถทากิจกรรม เช่น อบรมหลักสูตรภาษาต่างประเทศออนไลน์, เข้าร่วมสัมมนา

ออนไลน์ (Webinar) ระดับนานาชาติ แล้วรายงานให้ครูที่ปรึกษาเพ่ือเก็บสะสมเพื่อนาไปประเมินกิจกรรม

เสรมิ หลกั สตู รตอ่ ไป

กิจกรรม ร่อยรอยหลกั ฐาน

อบรมหลกั สูตรภาษาต่างประเทศออนไลน์ -ภาพถา่ ย

-ใบประกาศนยี บตั รผา่ นการอบรมออนไลน์

เข้ารว่ มสมั มนาออนไลน์ (Webinar) ระดับ -ภาพถา่ ยแคปเจอร์หนา้ จอ

นานาชาติ -ใบรบั รองการร่วมกจิ กรรมออนไลน์

นอกจากน้ีสถานศึกษายังสามารถจัดกิจกรรมอื่น ๆ หรือกิจกรรมท่ีสถานศึกษากาหนด ซึ่งต้องเป็น
กิจกรรมที่ผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้ง่ายและเกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม ในช่วงระหว่าง
การศึกษา โดยสามารถนามาคิดเป็นจานวนชั่วโมง เพื่อใช้สาหรับการประเมินผลกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) และหลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั สงู (ปวส.) กาหนดต่อไป

สาหรับกิจกรรมนักศึกษาวิชาทหารขอให้เป็นไปตามข้อกาหนดของหน่วยบญั ชาการรกั ษาดินแดน (นรด.)
กระทรวงกลาโหมกาหนด

20

6. แนวทางการจัดการศึกษาและเวลาเรยี น
การจัดการศึกษาในระบบปกติ ระเบียบว่าด้วยการจัดการศึกษาและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส .) และปริญญาตรี
สายเทคโนโลยี (ทล.บ.) ได้กาหนดให้ปีการศึกษาหน่ึง ๆ ให้แบ่งภาคเรียนออกเป็น 2 ภาคเรียนปกติหรือระบบทวิภาค
ภาคเรียนละ 18 สัปดาห์รวมเวลาการวัดผล โดยมีเวลาเรียนและจานวนหน่วยกิตตามที่กาหนด และสถานศึกษา
อาชีวศึกษาหรอื สถาบันอาจเปิดสอนภาคเรยี นฤดูรอ้ นได้อีกตามทเี่ ห็นสมควร

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) สถานศึกษาอาจ
กาหนดให้สอดคล้องกับรูปแบบการจัดการสอนแบบบูรณาการหรือการเรียนแบบต่อเนื่อง (Block Course)
โดยเวลาเรียนรวมต้องไมน่ อ้ ยกว่าเวลาท่หี ลักสตู รรายวิชา (ท-ป-น) กาหนด หรอื อาจกาหนดเวลาเรียนให้สอดคล้อง
กบั เนื้อหาและกิจกรรมตามสมรรถนะโดยบรู ณาการในลักษณะของกลุ่มวชิ าอาชีพ ทง้ั ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ

7. ผูเ้ รียนในการจดั การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นระบบอิเล็กทรอนกิ ส์
7.1 บทบาทของผู้เรยี น
ผู้เรียนควรเป็นผู้วางแผนจัดตารางเวลาของตนเอง โดยจัดสรรเวลาในการเรียนรู้จากเน้อื หาบทเรยี น

และการทากิจกรรมการเรียนการสอนตามตารางเวลาที่กาหนด การศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มจากเน้ือหาวิชาการ
ท่ีผู้สอนจัดเตรียมไว้ให้ รวมถึงการติดต่อผู้สอนและผู้เรียนด้วยกัน เพ่ือสอบถามข้อคาถามและร่วมวิเคราะห์ข้อมูล
และแสดงความคิดเห็น หรือแบ่งปันองค์ความรู้ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองผ่านเครื่องมือการติดต่อส่ือสารภายใน
ระบบ เช่น Chat , Web board ฯลฯ

สาหรับการเรียนภาคปฏิบัติที่สถานศึกษาจัดให้แกน่ ักเรียน นกั ศกึ ษาในรูปแบบโมดูลหรือแบบบูรณาการ
และจัดการเรียนการสอนแบบฐานการเรียนรู้ ที่มีการจัดการเรียนแบบต่อเน่ือง ( Block Course) ผู้เรียน
จะต้องต้ังใจฝึกปฏิบัติตามใบงานท่ีผู้สอนหรือคณะผู้สอนกาหนด เพ่ือให้สามารถเข้าใจในข้ันตอนการปฏิบัติงาน
ตามใบงานตอ่ ไป

7.2 การเตรยี มความพร้อมของผู้เรยี น
1) ควรมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมต่อกับอินเทอร์เน็ตที่มีความเร็วไม่ต่ากว่า 256 K เพ่ือการเรียน

เน้ือหาบทเรียน Video on Demand หรือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในลักษณะสอนสด (Live)
ผ่านแพลตฟอร์ม (Platform) ท่ีกาหนด

2) ควรมีโทรศัพท์แบบ Smart Phone ที่มี Ram และหน่วยความจาท่ีเพียงพอต่อการศึกษาเน้ือหา
ตามหนว่ ยการเรยี น และตอ่ การติดต่อสอ่ื สารระหวา่ งครูกบั ผเู้ รียน

3) สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์แบบ Smart Phone และใช้งานอินเทอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี
4) สามารถจดั สรรเวลาใหก้ บั การเรยี นด้วยความมงุ่ มนั่
7.3. วธิ กี ารเรียนในการจดั การเรียนการสอนทางไกลผ่านระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ให้ประสบความสาเร็จ
1) วางแผน และให้ความสาคญั กบั การเรยี น ตามตารางกิจกรรมทีก่ าหนด
2) ทากจิ กรรมการเรียนท่ีผสู้ อนจัดใหอ้ ยา่ งครบถว้ น
3) ติดต่อ และแลกเปล่ียนความคดิ เห็นกับเพ่อื นรว่ มชนั้ และผูส้ อนอยา่ งสม่าเสมอ
4) ทากจิ กรรมเสริมการเรียนและแบบทดสอบอยา่ งสมา่ เสมอ
5) ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพ่ิมเติมจากข้อมูล และสื่อการเรียนที่อาจารย์จัดหาหรือแนะนาให้
จากทงั้ ภายในสถานศกึ ษา หรอื แหล่งวทิ ยาการภายนอกอืน่ ๆ

21

8. ผู้สอนในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านระบบอเิ ล็กทรอนิกส์
8.1 บทบาทของผสู้ อน
ผู้สอนเป็นผู้พัฒนาเนื้อหาบทเรียนเพ่ือจัดทาเอกสารประกอบการสอนหลัก (Text Book) พัฒนา

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Courseware) พัฒนาใบงานเพ่ือการเรียนรู้เน้ือหาภาคปฏิบัติในสถานศึกษา
และพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนอื่น ๆ ตลอดจนจัดทาแบบทดสอบ และประเมินผลกิจกรรมเสริมการเรียน
และกิจกรรมอ่นื ๆ ตามที่หลกั สูตรกาหนด รวมถึงการติดตอ่ ผูเ้ รยี นเพอ่ื ตอบข้อคาถาม และแสดงความคิดเหน็ หรอื
แบ่งปันองค์ความรู้ให้ผู้เรียนผ่านเครื่องมือการติดต่อส่ือสารภายในระบบ เช่น Chat , Web board ฯลฯ ทั้งน้ี
เพอ่ื เป็นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นในการจัดการเรยี นการสอนทางไกลผ่านระบบอเิ ล็กทรอนิกส์

8.2 การเตรยี มความพร้อมผู้สอน
1) วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา เพ่ือนามาจัดทาเป็นเอกสารประกอบการสอนท่ีมีคุณภาพ เหมาะสม

กับผเู้ รียนในการจดั การเรียนการสอนทางไกลผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกส์
2) นาเนื้อหามาพัฒนาเป็นบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ท่ีมีประสิทธิภาพ

เหมาะสมกับผเู้ รยี นในการจัดการเรียนการสอนทางไกลผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์
3) จัดทาใบงานตามเนื้อหาภาคปฏิบัตทิ ี่มคี ุณภาพตามรปู แบบฐานการเรียนรู้ สอดคลอ้ งกบั หลักสูตร

และสภาพความต้องการของผใู้ ช้
4) จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่าง ๆ ใหก้ ับผเู้ รียนทเ่ี หมาะสม สอดคล้องกบั บริบทในการจัดการเรียน

การสอนทางไกลผ่านระบบอิเลก็ ทรอนิกส์
5) จัดทาเคร่ืองมือวัดและประเมินผลที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการของหลักสูตร

และเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี นในการจดั การเรียนการสอนทางไกลผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกส์

9. สถานศกึ ษาทจี่ ัดการเรียนการสอนทางไกลผา่ นระบบอิเล็กทรอนกิ ส์
9.1 บทบาทของสถานศกึ ษา
ส ถ า น ศึ ก ษ า ท่ี จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น วิ ช า ชี พ ด้ ว ย ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ท า ง ไ ก ล ผ่ า น ร ะ บ บ

อเิ ล็กทรอนิกส์ จะตอ้ งจดั เตรยี มสภาพแวดล้อมทางการศึกษา ให้พรอ้ มตอ่ การจัดการเรยี นการสอน อาทิ ครผู สู้ อน
ครุภัณฑ์อุปกรณ์ในสาขาวิชาที่เปิดสอน สื่อการเรียนการสอนท้ังแบบออฟไลน์และออนไลน์ และแหล่งวิทยาการ
ตา่ ง ๆ เป็นต้น เพื่อให้ผเู้ รียนเกดิ ความรู้ ทกั ษะ และคุณลักษณะที่ตรงจุดประสงคข์ องหลักสูตรต่อไป

9.2 การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
1) พัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา เพื่อนามาจัดทาเป็น

เอกสารประกอบการสอน บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ใบงานตามเนื้อหาภาคปฏิบัติ เครื่องมือวัด
และประเมินผลที่มคี ณุ ภาพ เหมาะสมกับผู้เรยี นในระบบการศกึ ษาทางไกล

2) เตรยี มครภุ ัณฑ์และอุปกรณใ์ หพ้ รอ้ มต่อการจดั การศึกษาวิชาชีพระบบทางไกล
3) จดั ต้ังศูนยผ์ ลติ สื่อการสอนในการจัดการเรยี นการสอนทางไกลผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์
4) เตรียมระบบเทคโนโลยอี ินเทอรเ์ นต็ ทเ่ี พยี งพอกบั การจดั การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นระบบ
อิเลก็ ทรอนิกส์
5) จดั แหลง่ วิทยากรอืน่ ๆ ทเี่ หมาะสม สอดคลอ้ งกบั บริบทในการจดั การเรยี นการสอนทางไกลผา่ น
ระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์


Click to View FlipBook Version