เศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศึกษา
บทนา
การเปล่ยี นแปลงทางสงั คมและเศรษฐกจิ ท่ีรนุ แรงและรวดเร็ว ทาให้คนในสังคมถกู กระแสสังคมกดดัน
ใหด้ าเนินชีวิตท่ีทนั สมยั มีคา่ ใช้จา่ ยในแตล่ ะกจิ กรรม แต่ละวันมากมาย การปรบั ตัวทางรายไดเ้ ริม่ มปี ญั หา การ
ประกอบอาชีพจึงพยายามปรบั ตัวตามในลักษณะของการนาเข้าปจั จยั การผลติ ทใี่ ช้ตน้ ทนุ สูงและมีความเสย่ี ง
เร่ืองการตลาดอย่างมาก การขาดทักษะด้านเทคโนโลยี ทาใหเ้ กิดปญั หาความเคยี ดปญั หาครอบครัว เป็น
ต้นเหตุให้เกิดปัญหาสงั คมอ่นื ๆ ตามมามากมาย
“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เป็นปรัชญาทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั รชั กาลที่ 9 ทรงมีพระราชดารัส
ชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตง้ั แต่กอ่ นเกดิ วิกฤตการณ์ทาง
เศรษฐกิจ และเม่อื ภายหลังไดท้ รงเน้นยา้ แนวทางการแก้ไขเพือ่ ให้รอดพ้น และสามารถดารงอย่ไู ดอ้ ยา่ งมัน่ คง
และยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิวัตน์ และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ (เศรษฐกจิ พอเพยี ง
www.villagefund.or.th) เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาท่ชี ้ถี งึ แนวการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชน
ในทกุ ระดบั ตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดบั ชุมชนจนถึงระดบั รฐั ทง้ั ในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไป
ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพือ่ ให้ก้าวทันตอ่ โลกยุคโลกาภิวัตน์ หนว่ ยงานต่างๆ ได้รับเอา
กระแสพระราชดารสั ของพระองคไ์ ปเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ แต่ยงั มคี วามสบั สนและเข้าใจผดิ พระองคจ์ งึ ได้
พระราชทานพระบรมราโชวาทเพม่ิ เตมิ อีกครงั้ ในวโรกาสมหามงคลสมัยเฉลมิ พระชนมพรรษา วนั ท่ี 4 ธันวาคม
2541 และวันที่ 23 ธนั วาคม 2542 พระราชดารัสวนั ที่ 4 ธันวาคม 2540 (สรรเสรญิ วงศช์ อุ่ม) ความวา่
เศรษฐกิจแบบพอเพียงเปน็ เศรษฐกจิ แบบพอมีพอกิน โดยแบบพอมพี อกนิ หมายความวา่ อ้มุ ชูตัวเองได้ใหม้ ี
พอเพยี งกับตวั เอง (สถาบนั บัณฑิตพัฒนาบรหิ ารศาสตร์, 2550)
สถานศกึ ษาจานวนมากจะนอ้ มนาแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง มาบริหารจดั การสถานศึกษา โดย
จดั การเรียนการสอนสอดแทรกแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียงให้กบั นักเรยี นอยา่ งต่อเนื่อง กิจกรรมการเรยี นรใู้ น
สถานศกึ ษา ที่นอ้ มนาปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาหนนุ เสรมิ กจิ กรรมการเรียนการสอน การใชภ้ มู ิปญั ญามา
คดิ แกไ้ ขปญั หา (วรดี เลศิ ไกร จรุงใจ มนตเ์ ลีย้ งและสชุ าดา จิตกล้า, 2559) ทาใหเ้ กดิ การเรียนรูเ้ ร่ืองเศรษฐกิจ
พอเพยี งทีเ่ หมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา สภาพแวดลอ้ มในชุมชนของนักเรียน โดยให้นักเรยี นปฏิบตั ดิ ้วย
ตนเองในสถานศึกษา และพยายามประสานความรว่ มมือกบั ผูป้ กครอง และกรรมการชมุ ชน เพือ่ เผยแพรอ่ อกสู่
การปฏบิ ตั ิในครอบครวั และในชมุ ชนอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ องคค์ วามรอู้ ันเป็นสาระสาคญั ทอี่ ธิบายถึงแนวคิดท่ยี ึดหลักทางสาย
กลาง เนน้ แนวทางการดารงอยู่และปฏิบัตติ นแบบพงึ่ พาตนเองเปน็ สาคญั พึ่งพาจากภายนอกให้น้อยที่สุด การ
บริหารจดั การครัวเรือน
องค์กรทกุ ระดบั ให้ดาเนนิ ไปในทางสายกลาง มคี วามพอเพียงและมีความพร้อมที่จะจัดการต่อ
ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลง ซ่ึงจะตอ้ งอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมดั ระวงั ดว้ ยการวางแผนและ
ดาเนนิ การทุกขั้นตอนท่ีรอบครอบ ทง้ั นี้เศรษฐกจิ พอเพยี งเป็นการดาเนนิ ชวี ติ ทเี่ นน้ ความสมดลุ และยง่ั ยนื
เพอ่ื ให้สามารถอย่ไู ด้ในสงั คมโลกทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ มีการแข่งขนั สูง มีความซับซอ้ นทางสงั คม
อยา่ งมาก ปญั หาข้อขัดข้องทางสงั คมท่ีมคี วามซับซ้อนจานวนมากเข้ามารมุ เร้าต้องใช้ภูมปิ ัญญาปรชั ญา
เศรษฐกจิ พอเพยี งท่เี น้นการพ่ึงตนเองเป็นหลักส้กู บั ปัญหาท่เี กิดข้นึ
เศรษฐกิจพอเพยี งท่พี ระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั รัชกาล 9 พระราชทานหลักและกรอบแนวคิดของ
ปรชั ญาดังนี้ (ภัคพงศ์ ปวงสุข, 2553)
1. เปน็ ปรัชญาท่ีชีแ้ นะแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏบิ ัติตน (Economic Life Guiding Principles)
ในทางทค่ี วรจะเปน็ (i.e. Secularized Normative Prescription) ซึ่งมฐี านคิดจากวิถชี วี ติ ด้งั เดิมของ
สังคมไทย (Positive Aspect) และตลอดระยะเวลากว่า 25 ปที ่ีผ่านมา มกี ารทดลองดาเนนิ โครงการพฒั นาท่ี
หลากหลายในการพัฒนาหารูปแบบท่ีสอดคลอ้ งกบั บรบิ ท สถานการณ์ท้ังภายในและภายนอกประเทศท่ี
เปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ ชมุ ชนหลายแหง่ มกี ารพัฒนาแนวทางการดารงชีวิต และได้พฒั นาที่โดดเด่นใชเ้ ปน็
กรณศี กึ ษา ใหเ้ หน็ ถงึ แนวทางการดาเนนิ งาน การปฏิบัติการ และตวั อยา่ งการประยุกตใ์ ชท้ ่ีเกดิ ข้นึ จริง
(Existence of Empirical Evidence)
2. เป็นปรชั ญาทส่ี ามารถนามาประยกุ ต์ใชไ้ ด้อย่างย้งั ยนื (Timely/Timeless) จากพระราชดารสั ในปี
2540 และสามารถใช้เปน็ แนวทางการพฒั นาแก้ปญั หาวิกฤตเศรษฐกจิ และการพัฒนาในสถานการณ์ท่ีมี การ
เปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ภายใตก้ ระแสโลกาภิวัตน์
3. เปน็ ปรัชญาทมี่ องโลกเชงิ ระบบ ที่มีการเคล่ือนไหว (Dynamic) เปน็ การมองว่าสถานการณใ์ นโลกท่ี
มคี วามเปลย่ี นแปลงเกิดขน้ึ ตลอดเวลา (Uncertainties) ทั้งนี้จากความเช่อื มโยงเครอื ขา่ ย (Connectivity)
ของปจั จยั ตา่ งๆ ในสังคมออนไลน์
4. เปน็ ปรชั ญาทีม่ ุง่ ผลท้ังในระยะสัน้ และระยะยาวโดยเนน้ การป้องกันและแกไ้ ขปญั หาให้รอดพน้ จาก
วิกฤตการณใ์ นแต่ละชว่ งเวลาเพอ่ื ความมั่นคง (Security) และความยั่งยืนของการพฒั นา (Sustainability) มติ ิ
ทางธรรมชาติ ทางสังคม และทางเศรษฐกจิ
5. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ (Paradigm Shift) ที่เกิดขึน้ จากการคิดวิเคราะห์จาก
ปรากฏการณ์ สถานการณ์ และความเปลี่ยนแปลง ตลอดจนนโยบายแนวทางอยา่ งเป็นระบบท่มี กี าร
เคลื่อนไหวเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเนน้ การรอดพน้ ภยั และปอ้ งกันแกไ้ ขวิกฤต เพ่ือความมน่ั คงและ
ความยัง่ ยืนของการพฒั นา
เปา้ หมายของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คือความสมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงทางสงั คม
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ไดอ้ ธิบายองค์ประกอบของหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ และ
สงั คมแห่งชาติ ว่าความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ่ีไม่นอ้ ยเกนิ ไปและไมม่ ากเกินไป ไมส่ ดุ โต่งเกินไป
ขณะเดยี วกันความพอดนี ้ัน ก็จะตอ้ งเป็นไปในลกั ษณะที่ไม่เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ ่นื การผลิตและการบริโภค
อยู่ในระดบั พอประมาณ พร้อมทจี่ ะเปน็ ผนู้ าด้านความพอเพียง (Ronald H. Humphrey, 2014) จากพระราช
ดารสั ดา้ นความประหยัด ประมาณรูว้ า่ สงิ่ ใดควรจ่าย และสิง่ ใดควรรกั ษาไว้ โดยประมาณตน และประมาณ
สถานการณ์ เพ่อื วิเคราะห์ความพอดขี องตน ไมม่ ากเกินไป หรอื นอ้ ยเกนิ ไป กระแสพระราชดารสั กลา่ วถงึ
สถานการณร์ อบดา้ นในสงั คม เป็นปัจจยั สาคญั ในการตดั สนิ ใจถึงระดบั ความพอดีของบุคคลองคก์ ารหรือสงั คม
พอประมาณขนาดไหนต้องใช้การประมาณปัจจัยต่างๆ รอบด้าน ทั้งปัจจัยส่วนบคุ คลและปจั จยั สิง่ แวดลอ้ มเปน็
เหตผุ ลให้ทราบถงึ “ความพอประมาณ” ในระดบั “พอประมาณ”นั้นๆ (สมบตั ิ กสุ มาวลี, 2550)
ความพอเพียงหมายถงึ ความพอประมาณความมเี หตุผล ความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมคิ มุ้ กนั ในตัว
ทีด่ ีจากการเปลีย่ นแปลงท้งั ภายนอกและภายในตอ้ งใชค้ วามรอบรู้ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยา่ งยง่ิ
ต้องนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขนั้ ตอน ตอ้ งเสริมสรา้ งพนื้ ฐานจิตใจของคนใน
ชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นกั ทฤษฎี และนักธุรกิจในทกุ ระดบั ใหส้ านกึ ในคุณธรรม ความซือ่ สัตย์สุจรติ
และมคี วามรอบรทู้ เ่ี หมาะสม ดาเนินชีวติ ด้วยความอดทน ความเพียร มสี ติ ปญั ญา เพ่อื ให้สมดุลและพร้อมต่อ
การเปลยี่ นแปลงท้ังดา้ นวัตถุสังคม ส่งิ แวดลอ้ มและวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดอ้ ยา่ งดี (ถวัลย์ มาศจรัส,
2550)
เนื้อหา
การนอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาขบั เคล่ือนสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา เปน็ การพฒั นา
กระบวนการจัดกจิ กรรมต่างๆ ในสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เป็นกิจกรรมท่ตี ้ังอยบู่ น
พืน้ ฐานของทางสายกลางและความไมป่ ระมาท สรา้ งแนวคิดให้ตระหนกั ถึงความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล
และการสรา้ งภูมคิ ุ้มกันในตวั รวมถงึ การพยายามใช้ความรู้ของครู ผู้ปกครองและนกั เรยี น มาร่วมวางแผน
กจิ กรรม ใช้ภมู ิปญั ญาชุมชนมาเป็นหลกั คิด เพ่ิมความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผน การ
ตัดสินใจและการกระทาต่างๆ โดยมีหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
สถานศกึ ษาเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ สถานศกึ ษาท่ีน้อมนาเอาปรัชญาท่วี า่ ด้วยการวางรากฐานเบอื้ งต้น มาเปน็
แนวทางสรา้ งครูและนกั เรยี นใหเ้ ป็นคนพอเพยี ง ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระกรุณาธคิ ณุ
พระราชทานแก่พสกนิกรชาวไทยท้งั หลาย โดยไมจ่ ากดั เฉพาะเกษตรกรเท่านั้น หากแตผ่ ู้ประกอบสัมมาชีพอนื่
และ ผูบ้ ริหารจัดการของสถานศกึ ษา สามารถนาไปปรบั ประยุกต์ใช้ เพ่อื สรา้ งความเข้มแขง็ ยัง่ ยืนให้แก่
รากฐานของตนเองและหนว่ ยงานได้ และยังกล่าวถึงปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในฐานะระบบเศรษฐกจิ ท่ี
สามารถอุม้ ชูเอง ใหค้ รูและนักเรียนเรียนรู้จากการปฏบิ ัติ จนสามารถอยู่ได้ในระดับพืน้ ฐานโดยไม่เดือดรอ้ น
สามารถสรา้ งความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางการงาน และฐานะทางเศรษฐกจิ ตอ่ ไป โดยอธิบายว่า ความสามารถใน
การอยูไ่ ด้ในระดับพน้ื ฐานตอ้ งยดึ แนวทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) เปน็ หลกั ในการดารงชวี ิต (สเุ มธ ตันติ
เวชกลุ ) เพอื่ สรา้ งความสามารถในการพ่งึ ตนเอง ประกอบด้วย
1. พึง่ ตนเองทางจติ ใจ มจี ิตใจเขม้ แข็งไมท่ อ้ แทจ้ ะประสบความล้มเหลว หรอื ความยากลาบาก
2. พง่ึ ตนเองทางสังคม ช่วยเหลือเกื้อกลู กนั ภายในสังคม
3. พ่ึงตนเองไดท้ างทรัพยากรธรรมชาติ ท้ังทรพั ยากรทางสงั คมและทรัพยากรทางเศรษฐกิจ
4. พง่ึ ตนเองไดท้ างเทคโนโลยแี ละวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยที เี่ หมาะสม
5. พง่ึ ตนเองได้ทางเศรษฐกจิ สามารถอยไู่ ดด้ ว้ ยตนเอง
เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นส่วนหน่งึ ของธรรมรฐั แห่งชาติ หรือเป็นส่วนหนึง่ ในระเบยี บวาระรบี ด่วนของ
ชาติ อนั ประกอบไปด้วย (ประเวศ วะสี)
1) สรา้ งคุณคา่ และจิตสานกึ ใหม่ 2) สรา้ งเศรษฐกิจพอเพยี ง 3) ปฏริ ูประบบเศรษฐกิจมหาภาคและ
การเงนิ 4) ปฏิรูประบบรฐั ทง้ั การเมอื งและระบบราชการ 5) ปฏิรปู การศึกษา 6) ปฏิรปู ส่ือ 7) ปฏิรูปกฎหมาย
ท่เี มือ่ เชื่อมโยงกนั แล้วจะทาใหป้ ระเทศไทยมีฐานะทเ่ี ขม้ แข็งและเติบโตตอ่ ได้อยา่ งสมดลุ แบบมัชฌิมาปฏิปทา
ท่ีเชอ่ื มโยง/สัมพนั ธก์ ับความเปน็ ครอบครวั ชมุ ชน วฒั นธรรมและส่งิ แวดล้อม เป็นเศรษฐกิจทีม่ ีความบรู ณา
การเช่ือมโยงชีวติ จิตใจ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม เป็นประชาสังคม เน้นการจดั กิจกรรมบรู ณาการ (พระมหาเทพรัตน์
อริยวโ์ ส และลัญจกร นลิ กาญจน,์ 2559) มีความหมายถึงความพอดอี ยา่ งน้อย 7 ประการ คือ
1. พอเพยี งสาหรบั ทกุ คน ทกุ คอบครัว ไมใ่ ชเ่ ศรษฐกจิ แบบทอดทง้ิ กัน
2. จิตใจพอเพยี ง รักเอื้ออาทรผอู้ ื่น
3. ส่ิงแวดล้อมพอเพียง อนุรกั ษแ์ ละเพมิ่ พูนสิ่งแวดลอ้ มท่จี ะเปน็ พืน้ ฐานในการประกอบอาชพี
4. ชมุ ชนเขม้ แขง็ พอเพียง รวมแก้ปญั หาปญั หาสังคม ปญั หาความยากจนหรือปัญหาสง่ิ แวดล้อม
5. ปญั ญาพอเพยี ง เรียนร้รู ว่ มกนั เท่าทนั กบั การเปล่ยี นแปลงของโลก
6. ตัง้ อยู่บนพ้ืนฐานวฒั นธรรมพอเพียง วถิ ีชวี ิตท่ีสัมพนั ธก์ ับส่ิงแวดล้อมจงึ เป็นเศรษฐกจิ มนั่ คง
7. มคี วามมนั่ คงพอเพียง ไม่ผนั ผวนอย่างรวดเรว็ จนไม่สามารถรบั ได้
กิจกรรมในโรงเรยี นตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง
ทางสายกลางในการจดั การ
บทบาท พอประมาณ ผูป้ กครอง
ของครู ปราชญ์
มเี หตผุ ล ภมู ิคุ้มกนั ชมุ ชน
ประสานความ รว่ มกจิ กรรม
รว่ มมือกับ กับครูและ
ผูป้ กครอง นักเรียน
ความรู้ คณุ ธรรม
กจิ กรรมของนกั เรียน เน้นการมีส่วนรว่ ม ตามหลัก 4 รว่ ม
ร่วมคดิ ร่วมทา ร่วมนา รว่ มประสานสามหว่ ง สองเง่ือนไข
แผนภาพ แสดง แนวการจัดกิจกรรม ตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศกึ ษา
สถานศกึ ษาบรหิ ารจัดการตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นกระบวนการบริหารจดั การ
ทรพั ยากรทม่ี ีอยู่เปน็ ตวั ตง้ั การดาเนนิ งานทั้งหมด เนน้ การใช้ทรพั ยากรทม่ี ี ซือ้ เพ่ิมเติมเขา้ มาเท่าที่จาเป็นหรอื
นอ้ ยที่สุด ทรัพยากรต้องใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ สญู เสียจากกระบวนการดาเนินงานนอ้ ยท่สี ุด แนวทางนจี้ งึ
ต้องเป็น
การประกาศเชงิ นโยบาย และการวางแผนดาเนินงาน แผนโครงการตอ้ งเป็นแผนเชงิ กลยทุ ธ์ (Luis R.
Gomez-Mejia and David B. Balkin, 2012) นาภมู ปิ ัญญาชมุ ชน ปราชญ์ชมุ ชนมามีสว่ นในการแนะนา
เทคนิควิธี การนาเอาทักษะเฉพาะของบคุ คลในพ้ืนท่ีมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ ามจังหวะเวลาท่ีเหมาะสม
(อรวรรณ แซอ่ ึ่ง, หสั ชัย สิทธริ ักษ์ และลญั จกร นลิ กาญจน์, 2559) ใช้นวัตกรรมชมุ ชนมาสร้างผลงานออกมา
ดกี วา่ ปกติ
ความพอประมาณ คณะทางานของสถานศึกษาดาเนนิ งานบนฐานคดิ ดา้ นความพอดี ทไี่ มม่ ากและไม่
นอ้ ยจนเกินไปในการใชท้ รัพยากรการดาเนินงาน โดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและผูอ้ น่ื ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู
นกั เรยี นและคณะทางานจากชุมชน จะวางแผนโครงการ หรอื แผนกิจกรรมโดยใช้วัสดุ อุปกรณ์ท้องถน่ิ ที่มีอยู่
เป็นหลกั การนานวัตกรรม หรอื เทคโนโลยีมาเสริมบนฐานความพอประมาณ (ปญั ญา เลศิ ไกรและ ลัญจกร นลิ
กาญจน์, 2559) เพือ่ ให้กระบวนการทางานมีประสทิ ธภิ าพ ใหผ้ รู้ ว่ มกจิ กรรมทงั้ หมดและนกั เรียนไดเ้ รยี นรู้ถึง
การคิดวางแผนและดาเนนิ กจิ กรรมอยา่ งพอประมาณทเี่ ป็นจริง
ความมีเหตุผล หลักการและเหตุผลในการคดิ โครงการ การวางแผนเชงิ กระบวนการใน การ
ดาเนนิ งาน มาจากเหตุผลท่เี ป็นจรงิ ท้งั ในสถานศึกษาและพ้ืนท่ีท่ีเกย่ี วขอ้ งกับสถานศกึ ษาทงั้ ทางตรงและ
ทางอ้อม แผนงานทกุ ขั้นตอน จะมีเหตุผลที่มีนา้ หนกั เพยี งพอทจี่ ะทากจิ กรรมนั้น ต้องวเิ คราะห์ผลกระทบท่ี
เกิดขึน้ ท้ังในระยะสัน้ และระยาวอย่างรอบคอบ ในการนค้ี รจู ะต้องแนะนาจัดการใหน้ ักเรยี นได้มีโอกาสเรียนรู้
ถงึ วิธคี ิด วิธกี ารวางแผนในการดาเนินกจิ กรรมตา่ งๆ รวมถึงกิจกรรมชีวิตในโอกาสต่อไป
การมภี ูมิคุ้มกันทด่ี ี หมายถงึ การเตรยี มตัวให้พรอ้ มรบั ตอ่ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้น คณะทางานตอ้ ง
ตระหนักถึงสง่ิ ท่ีเกิดข้ึน และผลกระทบที่จะตามมาในเชงิ ลบล่วงหน้า จะนามาวางแผนบรหิ ารความเส่ยี งเพอ่ื
สร้างแนวทางป้องกัน แนวทางแก้ไขลว่ งหน้า (กฤตพร แซ่แง่ สายจนั ทรแ์ ละกลั ยกร ภิญโญ, 2558) เปน็
ลักษณะของการสร้างภมู ิคุม้ กนั ให้เกดิ ขน้ึ ในตนตลอดเวลา จากการเปล่ยี นแปลงรอบตัวทอี่ าจจะเกิดข้ึน บน
ฐานความรู้ และคุณธรรม
เงือ่ นไขความรู้ หมายถงึ ความรอบรรู้ อบคอบและระมดั ระวังในการดาเนนิ กจิ กรรมในสถานศกึ ษา
และสร้างแบบอยา่ ง แบบแผนในการคิดวเิ คราะห์ โดยใชค้ วามรู้ หลักวิชาการเปน็ ต้นแบบให้นักเรียนได้เรียนรู้
และสรา้ งกิจกรรมให้นักเรียนและผปู้ กครองทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม ได้มปี ระสบการณ์ตรง ท้งั เรยี นรจู้ ากการใช้ภูมิ
ปัญญา และหลกั วิชาการในการวเิ คราะหป์ ระยกุ ต์ใช้โดยตรง
เงือ่ นไขคุณธรรม หมายถงึ การยึดม่ันปฏิบัตติ ามคุณธรรมอย่างเครง่ ครัด ท้ังความซ่ือสตั ย์สุจริต ความ
อดทน ความเพยี รพยายาม ทที่ างสถานศึกษาตระหนักและเนน้ ยา้ สอดแทรกในการดาเนนิ งานทกุ กิจกรรม
สร้างความความรบั ผิดชอบตนเอง ต่อสงั คม คานงึ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวมเป็นหลกั และเน้นการแบ่งปนั เออ้ื เฟอื้
เกื้อกลู คนในสังคม
สรปุ
เศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศึกษา โดยคณะผู้บริหาร ครผู สู้ อน สามารถประยกุ ตใ์ ช้กบั การเรยี นการ
สอน การทากิจกรรมเสรมิ ในสถานศกึ ษา กิจกรรมชมุ ชนแบบมีสว่ นรว่ ม โดยพิจารณาจากความสามารถในการ
พง่ึ ตนเองเปน็ หลกั ทเี่ น้นความสมดุลท้ัง 3 คุณลกั ษณะ คอื พอประมาณ มีเหตุมผี ล และมภี ูมิคุ้มกันมา
ประกอบ การตดั สนิ ใจในเรอื่ งตา่ งๆ เป็นขนั้ เปน็ ตอน รอบคอบ ระมดั ระวัง พิจารณาถงึ ความพอดี พอเหมาะ
พอควร และพร้อมรับการเปล่ียนแปลง
บริหารจดั การ จิตใจเขม้ แข็ง ช่วยเหลือ
ทรพั ยากร จิตสาธารณะ ส่วนรวม
ส่ิงแวดลอ้ มอยา่ ง รกั สามคั คี
เหมาะสม สูง
ลกั ษณะของคน
ในโรงเรียน
ปรัชญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
ภมู ิปัญญา ดาเนนิ ชีวติ แบบ
นวัตกรรม ประหยดั
เทคโนโลยีท่ี
เหมาะสม เน้นพอดตี าม
อัตภาพ
แผนภาพ แสดง ลกั ษณะของคนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ลักษณะของคนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการบรหิ ารจัดการตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง
ในสถานศกึ ษา คอื กระบวนการสร้างคน ใหม้ ีวิธีคิด วิธกี ารควบคุมตนเองในการตดั สินใจในการดาเนนิ ชีวติ หรือ
ตดั สินใจในการกาหนดตนเอง การร่วมสร้างและดาเนนิ กิจกรรมตา่ งๆ 5 ประการ คือ
1. จติ ใจ ต้องมจี ติ ใจเขม้ แขง็ ฝกึ ควบคุมตนเองให้อดทนตอ่ สิง่ ยวั่ ยุใหต้ ้องใช่จา่ ยสง่ิ ท่ไี มจ่ าเป็นมจี ติ ใจ
สานึกท่ีดี มีแนวคดิ เชิงบวก เป็นคนใจกว้าง มีจิตเออ้ื เฟื้อ สามารถประนปี ระนอมอยา่ งมีเหตผุ ล มีจิตสาธารณะ
คานึงถึงประโยชนส์ ่วนรวมเป็นหลัก โดยสรา้ งความตระหนักใหเ้ กิดขึน้ ในตัวครูและนกั เรยี น
2. สงั คม พรอ้ มชว่ ยเหลอื เกอื้ กลู รรู้ ักสามัคคกี บั กลมุ่ คนในสังคม พร้อมสร้างความเข้มแขง็ ให้
ครอบครวั และชุมชน มีกระบวนการเรยี นรู้การทางานเป็นทีม ทกั ษะการประสานงาน ประสานเครอื ขา่ ยสรา้ ง
ความพร้อมในการทางาน ทีเ่ กิดจากรากฐานทรพั ยากรทมี่ ีในสถานศกึ ษาและชุมชน
3. เศรษฐกจิ ฝกึ ให้ดารงชวี ิตอยูอ่ ยา่ งพอดี กินพอดี อยอู่ ยา่ งพอดีตามอตั ภาพ และประกอบอาชีพ
สุจริตหรือหารายไดอ้ ย่างสุจริต ด้วยความขยนั อดทนใชช้ ีวิตเรียบง่าย ไม่เบยี ดเบียดตนเองและผอู้ ่นื พยายาม
จัดระบบรายไดท้ ม่ี ีให้สมดลุ กับรายจ่ายอย่างมีเหตุผล ประหยดั เก็บออมเงินและแบง่ ปนั ผู้อ่ืน
4. เทคโนโลยี ร้จู ักใชเ้ ทคโนโลยี และนวตั กรรม ภมู ิปัญญาทเี่ หมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดลอ้ มใน
สถานศกึ ษาและในชุมชน เรยี นรู้ทจี่ ะนาเอาภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ มาพฒั นาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง
สถานศึกษาและสงั คม
5. ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จัดกระบวนการเรียนรู้ใหร้ ู้จกั ท้ังครูและนกั เรียน ใหใ้ ช้
ทรัพยากรอย่างฉลาด สรา้ งสานกึ อนุรักษส์ ิ่งแวดล้อม เน้นการคดิ วิเคราะหแ์ ละจัดการอย่างฉลาดรอบคอบ
สามารถเลือกใช้ทรพั ยากรท่ีมีอยใู่ หเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ มวี ธิ ีคิดเชงิ กระบวนการในการดแู ลส่ิงแวดล้อม อย่าง
ยง่ั ยืน
เอกสารอ้างอิง
กฤตพร แซแ่ ง่ สายจันทร์ และกัลยกร ภญิ โญ. (2558, มกราคม-มถิ ุนายน). การประเมนิ ผลการดาเนินงาน
โครงการพัฒนาชุมชนเปน็ พืน้ ที่แบบพ่งึ ตนเองและยง่ั ยนื ADP ลาทบั จังหวดั กระบ่ี. วารสารนาคบตุ ร
ปรทิ รรศน์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช, 7(1).
ภัคพงศ์ ปวงสขุ . (2553). เศรษฐกิจพอเพยี งกับการศกึ ษาเกษตร. กรุงเทพมหานคร: มนี เซอร์วิสซพั พลายลมิ ติ
เต็ด พาทเนอร์ชิพ.
ถวัลย์ มาศจรัส. (2550). Model. การจดั การเรยี นรู้ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง. (ไม่ปรากฏสถานท่พี ิมพ์).
สมบัติ กสุ มุ าวลี. (2550). หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การพฒั นาองค์การ. เอกสารสมั มนา.
(ไม่ปรากฏสถานท่พี มิ พ์)
สถาบันบัณฑติ พฒั นาบรหิ ารศาสตร์.(2550). วิชาการประจาปี 2550 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการ
บริหารการพฒั นา. กรุงเทพมหานคร: สถาบนั บณั ฑติ พัฒนาบริหารศาสตร์.
ปญั ญา เลศิ ไกร. (2558). ทฤษฏีการวิจัยและพฒั นานวตั กรรม. นครศรีธรรมราช: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั
นครศรีธรรมราช.
ปัญญา เลศิ ไกร, ลัญจกร นลิ กาญจน.์ (2559, กรกฎาคม–ธันวาคม). การเกบ็ ขอ้ มลู วิจัยชมุ ชนภาคสนาม.
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(2).
พระมหาเทพรตั น์ อรยิ วโ์ ส, ลัญจกร นลิ กาญจน์. (2559, กรกฎาคม–ธนั วาคม). รปู แบบการจัด
กิจกรรมบรู ณาการเพอ่ื การพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม วัดพรหมโลก อาเภอพรหมคีรี จังหวัด
นครศรีธรรมราช. วารสารนาคบตุ รปริทรรศน์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช. 8(2).
วรดี เลศิ ไกร, จรงุ ใจ มนตเ์ ลยี้ ง และสุชาดา จิตกล้า. (2559, มกราคม–มิถุนายน). การจัดกิจกรรมของ
เล่นภูมิปญั ญาเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยกรณเี ทศบาลตาบลทอนหงส์ อาเภอพรหมคีรี จงั หวัด
นครศรธี รรมราช. วารสารนาคบุตรปรทิ รรศน์ มหาวิทยาลนั ราชภัฏนครศรธี รรมราช. 8(1).
อรวรรณ แซอ่ ึ่ง, หัสชยั สทิ ธิรักษ์ และลัญจกร นิลกาญจน์. (2559, มกราคม–มิถนุ ายน). การถอดบทเรียนการ
ผลิตไบโอดเี ซลจากนา้ มันพืชนครศรธี รรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช, 8(1).
Luis R. Gomez-Mejia and David B. Balkin. (2012). Management People I Performance I
Change. New Jersey: Pearson.
Ronald H. Humphrey. (2014). Effective Leadership. Singapore: Sage.