The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณลักษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวังของผู้เรียน วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2021-05-09 01:06:27

คุณลักษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวังของผู้เรียน วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย

คุณลักษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวังของผู้เรียน วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย

142

ตัวอยา่ งเคร่ืองมือ
คาช้ีแจง

โปรดเขียนเคร่ืองหมาย  ลงใน ( ) หน้าข้อความท่ีตรงกับความเป็นจริง
เกีย่ วกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม

1 ระดับการศึกษา
( ) ปวช.
( ) ปวส.

2 สาขาวิชา
( ) สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน
( ) สาขาวิชาชา่ งเช่ือมโลหะ
( ) สาขาวชิ าชา่ งไฟฟา้ กาลงั
( ) สาขาวิชาช่างอิเลก็ ทรอนกิ ส์
( ) สาขาวิชาการบัญชี
( ) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
( ) สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์
( ) สาขาวชิ าช่างยนต์

ตอนท่ี 2 แบบสอบถามคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5
ระดับ

ตวั อย่างเครือ่ งมอื
คาช้ีแจง

ในฐานะท่ีผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย
โปรดพจิ ารณาวา่ คณุ ลักษณะของครูตอ่ ไปน้มี ากนอ้ ยเพยี งใด โปรดเขียนเครื่องหมาย  ลงใน
ช่องท่ีตรงกบั ความเป็นจริง โดยมเี กณฑ์การพิจารณาดังน้ี

5 หมายถงึ มกี ารปฏบิ ตั /ิ มคี วามคาดหวังอย่ใู นระดบั มากทีส่ ดุ
4 หมายถงึ มกี ารปฏิบตั /ิ มคี วามคาดหวงั อยู่ในระดับมาก
3 หมายถึง มกี ารปฏบิ ัต/ิ มีความคาดหวงั อย่ใู นระดับปานกลาง
2 หมายถึง มกี ารปฏบิ ตั /ิ มีความคาดหวงั อยู่ในระดับน้อย
1 หมายถงึ มีการปฏบิ ัต/ิ มีความคาดหวงั อยใู่ นระดบั น้อยท่สี ุด

143

ระดบั คณุ ลักษณะของ ระดับคณุ ลกั ษณะของ

ข้อท่ี รายการ ครูปจั จุบนั ครูตามความคาดหวัง

ด้านบคุ ลิกภาพ 5432154321
1 เปน็ ผมู้ ีสขุ ภาพแขง็ แรง อดทน
2 เปน็ ผูม้ ีระเบยี บ วนิ ยั

3.3 การสร้างเครือ่ งมอื

ในการสร้างเคร่อื งมือสาหรบั การพัฒนา ผู้วิจัยได้ดาเนินการสร้างตามลาดับข้ันตอน
ดังรายละเอียดต่อไปน้ี

3.3.1 วเิ คราะห์วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย เพื่อพิจารณาตัวแปรท้ังหมดท่ีต้องศึกษา
และกาหนดจดุ ม่งุ หมายในการสร้างเครื่องมอื เพอื่ ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สาหรับสอบถาม
คุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวงั ของผเู้ รยี น

3.3.2 ศึกษาทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับตัวแปรท่ีต้องศึกษา และศึกษาข้อมูลเก่ียวกับ
เน้ือเร่ืองและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย จากเอกสาร บทความ ผลงานวิจัยและ
วิทยานพิ นธ์ทเ่ี กยี่ วข้อง

3.3.3 ใหค้ าจากัดความของตัวแปร ในรปู ของนยิ ามศัพท์
3.3.4 นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง
กาหนดเปน็ กรอบแนวคิด (Framework) เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทางในการพัฒนา
3.3.5 เขียนข้อคาถามใหส้ อดคลอ้ งกับนิยามศัพท์
3.3.6 เสนอเครื่องมือท่ีปรับปรุงแล้วให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
ในด้านความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) และด้านความตรงเชิงเน้ือหา (Content
Validity) โดยหาค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้วยวิธีหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง
ข้อคาถามกับวัตถุประสงค์การวัดตามนิยามศัพท์ IOC (Index of Item Objective
Congruence : IOC) และเลือกข้อที่มีค่า IOC ต้ังแต่ 0.50 ข้ึนไปเป็นคาถาม โดยแบบสอบถาม
ทกุ ฉบบั มคี า่ IOC รายขอ้ ระหวา่ ง 0.60 – 1.00 ดังรายละเอียดในภาคผนวก ค
3.3.7 นาเครือ่ งมือไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง (Try - out) เพ่ือหาค่าสัมประสิทธ์ิ
ความเท่ียงตรงของเครื่องมือ ดังรายละเอียดในภาคผนวก ง

144

3.3.8 ทาการปรับปรุงเครื่องมอื
3.3.9 ได้เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลในการพัฒนา

วิเคราะหจ์ ุดประสงค์การวิจยั

ศกึ ษาทฤษฎเี กี่ยวกับตวั แปร
นยิ ามตัวแปร

กาหนดกรอบแนวความคิด

ออกแบบข้อคาถาม
ผเู้ ชยี่ วชาญตรวจสอบคุณภาพของ

เคร่ืองมอื

ทดลองใช้เครอื่ งมอื เพอ่ื หาคุณภาพของ
เครอ่ื งมอื

ปรับปรงุ แก้ไข

นาเครอ่ื งมือเก็บขอ้ มลู

ภาพประกอบท่ี 3 แสดงขน้ั ตอนการสรา้ งเคร่ืองมอื

3.4 การเก็บรวบรวมข้อมลู

เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ท้ังใน
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง จานวน 242 คน ในปี
การศึกษา 2563

145

3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มลู

ในการวิจัยครง้ั นี้ ทาการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
ทางสถติ ิสาหรบั การวิจัยทางคณิตศาสตร์ การวิเคราะหข์ อ้ มลู และสถติ ิท่ใี ช้ในการวิจัย ดังต่อไปนี้

3.5.1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ใชแ้ จกแจงความถแี่ ละหาคา่ รอ้ ยละ
3.5.2 คุณลักษณะของครูในปัจจุบัน และตามความคาดหวังของผู้เรียน โดยใช้
คา่ เฉลีย่ และคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน โดยใช้สเกลของลิเคิร์ท (Likert) เป็นมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) ไดจ้ ากการวิเคราะห์รายข้อ
3.5.3 การแปลความหมายของข้อมูล พิจารณาจากระดับคะแนนเฉล่ียโดยใช้เกณฑ์
ดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาด. 2543)

4.51 - 5.00 หมายถึง มีการปฏิบัติ/มีความคาดหวังอยู่ในระดับมาก
ทส่ี ดุ

3.51 - 4.50 หมายถึง มีการปฏิบัต/ิ มคี วามคาดหวงั อยู่ในระดับมาก
2.51 - 3.50 หมายถึง มีการปฏิบัติ/มีความคาดหวังอยู่ในระดับปาน
กลาง
1.51 - 2.50 หมายถึง มีการปฏบิ ัติ/มีความคาดหวงั อยู่ในระดับน้อย
1.00 - 1.50 หมายถึง มีการปฏิบัติ/มีความคาดหวังอยู่ในระดับน้อย
ทีส่ ุด
3.5.4 การเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันจาแนกตามระดับการศึกษา
ของผเู้ รียน ในวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย โดยใช้สถิตทิ ดสอบแบบเอฟ (f - test)
3.5.5 การเปรยี บเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียนจาแนกตาม
ระดบั การศกึ ษาของผเู้ รียน ในวทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย จังหวัดเลย โดยใช้สถิติทดสอบแบบ
เอฟ (f - test)
3.5.6 การเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและตามความคาดหวังของ
ผเู้ รียน ในวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวดั เลย โดยใชส้ ถติ ิทดสอบแบบเอฟ (f - test)

3.6 สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล

3.6.1 สถิตพิ รรณนา (Descriptive Statistics)
3.6.1.1 การวิเคราะห์สภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ระดับ

การศึกษา และสาขาวิชา ใชว้ ธิ หี าค่าร้อยละ

146

3.6.1.2 คุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ใช้ค่าเฉลี่ย, ค่า
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน, สถิตทิ ดสอบแบบเอฟ (f – test)

3.6.2 สถิตอิ า้ งองิ (Reference Statistics)
3.6.2.1 การวิเคราะห์การเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน

จาแนกตามระดับการศึกษาของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ใช้สถิติ
ทดสอบแบบเอฟ (f - test)

3.6.2.2 การวิเคราะห์การเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามความ
คาดหวังของผู้เรียนจาแนกตามระดับการศึกษาของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวดั เลย ใช้สถติ ทิ ดสอบแบบเอฟ (f - test)

3.6.2.3 การวิเคราะห์การเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและ
ตามความคาดหวังของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ใช้สถิติทดสอบแบบ
เอฟ (f - test)

บทท่ี 4
การวิเคราะห์ขอ้ มลู

การศึกษาคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน วิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย ผูว้ จิ ัยได้ใช้เคร่อื งมอื เป็นแบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
ท่ีเป็นผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง แล้ว
นามาวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่ือคานวณหาค่าสถติ ิ ได้แก่ ค่ารอ้ ยละ ค่าเฉล่ยี ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
การเปรียบเทียบความคาดหวังของผู้เรียนต่อครู ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวสถิติ
ทดสอบแบบเอฟ (f - test) ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลจะได้นาเสนอดงั น้ี

4.1 สญั ญลักษณ์ของสถติ ิที่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล
4.2 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม
4.3 คุณลักษณะของครูในปจั จุบนั
4.4 คณุ ลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรยี น
4.5 เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันจาแนกตามระดับการศึกษา
ของผู้เรยี น
4.6 เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังจาแนกตามระดับ
การศึกษาของผู้เรยี น
4.7 เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและตามความคาดหวังของ
ผเู้ รียน

4.1 สญั ลักษณ์ของสถิตทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งน้ี ผู้วิจัยได้กาหนดสัญลักษณ์และอักษรย่อที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้เกิดความสะดวกในการจัดทาข้อมูลและเพื่อการส่ือความหมายที่ตรงกัน
ดงั นี้

n แทน จานวนคนในกล่มุ ตวั อย่าง
 แทน คา่ เฉลย่ี
S.D. แทน คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
f แทน คา่ สถิตเิ อฟ

148

4.2 สถานภาพผตู้ อบแบบสอบถาม

ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ผู้วิจัยได้สอบถาม

สถานภาพ ดงั ตารางท่ี 1

ตารางท่ี 1 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม

1. ระดบั การศึกษา

สถานภาพ n ร้อยละ

1.1 ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ 190 78.50

1.2 ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง 52 21.50

รวม 242 100

2. สาขาวิชา

สถานภาพ n รอ้ ยละ

2.1 สาขาวชิ าช่างยนต์ 72 29.80

2.2 สาขาวิชาช่างกลโรงงาน 1 0.40

2.3 สาขาวิชาชา่ งเชือ่ มโลหะ 16 6.60

2.4 สาขาวชิ าชา่ งไฟฟ้ากาลงั 42 17.40

2.5 สาขาวชิ าชา่ งอเิ ล็กทรอนิกส์ 24 9.90

2.6 สาขาวิชาการบญั ชี 40 16.50

2.7 สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ 39 16.10

2.8 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 8 3.30

รวม 242 100

จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคร้ังน้ี ส่วนใหญ่เป็นผู้เรียนใน

ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ จานวน 190 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 78.50 และเป็นผู้เรียนในระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง จานวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 21.50 และเมื่อพิจารณาตาม

สาขาวชิ าพบว่าสว่ นใหญ่เป็นผเู้ รียนในสาขาวิชาช่างยนต์ คิดเป็นร้อยละ 29.80 รองลงมาคือ ผู้เรียนใน

สาขาช่างวิชาไฟฟ้ากาลัง คิดเป็นร้อยละ 17.40 และต่าสุดคือสาขาวิชาช่างกลโรงงาน คิดเป็น

ร้อยละ 0.40

149

4.3 คณุ ลกั ษณะของครูในปัจจบุ ัน

ผู้วิจัยได้ศึกษาคุณลักษณะของครูในปัจจุบันตามความคิดเห็นของผู้เรียน ใน

วิทยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยภาพรวม ดังตารางที่ 2

ตารางท่ี 2 คุณลกั ษณะของครูในปจั จุบนั โดยภาพรวม

ท่ี คณุ ลักษณะของครู ระดบั การปฏิบตั ิ
ในปจั จุบัน  S.D. แปลความหมาย
4.37 0.58 มาก
1 ด้านบุคลกิ ภาพ

2 ด้านมนุษยสมั พันธ์ 4.38 0.61 มาก

3 ด้านภาวะความเปน็ ผู้นา 4.45 0.55 มาก

4 ดา้ นวิชาการและการเรียนการสอน 4.50 0.50 มาก

5 ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 4.51 0.50 มากทีส่ ดุ

รวม 4.44 0.51 มาก

จากตารางท่ี 2 พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก

(  = 4.44, S.D. = 0.51) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 1
รายการ และอยู่ในระดับมาก จานวน 4 รายการ รายการที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดคือด้านคุณธรรม

จริยธรรม อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.51, S.D. = 0.50) รองลงมาคือด้านวิชาการและ
การเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก (  = 4.50, S.D. = 0.50) และท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือด้าน
บุคลกิ ภาพ อยู่ในระดบั มาก ( = 4.37, S.D. = 0.58)

ผลการวิเคราะห์ข้อมลู เกีย่ วกับคุณลักษณะของครูในปจั จบุ ันตามความคิดเหน็ ของ

ผู้เรยี น ในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย จงั หวดั เลย ในแต่ละด้าน มีดังนี้

150

4.3.1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกย่ี วกบั คณุ ลักษณะของครูในปจั จบุ นั ดา้ น

บุคลกิ ภาพ ดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 ความคดิ เหน็ ตอ่ คุณลักษณะของครูในปจั จบุ ัน ด้านบุคลิกภาพ

ท่ี คุณลกั ษณะของครูในปัจจบุ นั ระดบั การปฏิบัติ
1 เปน็ ผมู้ สี ขุ ภาพแขง็ แรง อดทน  S.D. แปลความหมาย
4.42 0.67 มาก

2 เป็นผมู้ ีระเบยี บ วนิ ยั 4.39 0.67 มาก

3 เปน็ ผู้มีสติ สามารถควบคุมอารมณ์ได้ 4.26 0.89 มาก

4 เปน็ ผ้มู ีกริ ยิ า วาจาสภุ าพอ่อนโยน 4.25 0.82 มาก

5 เป็นผมู้ ีอารมณ์ขนั ร่าเรงิ แจ่มใส 4.45 0.72 มาก

6 เปน็ ผ้ฝู ึกฝนคน้ คว้า หาความรู้เพ่มิ เตมิ อยู่เสมอ 4.39 0.64 มาก

7 เป็นผมู้ คี วามกระตอื รอื ร้น 4.42 0.68 มาก

8 เป็นผแู้ ตง่ กายสุภาพ เหมาะสม 4.45 0.77 มาก

9 เป็นผูม้ กี ริ ยิ าท่าทางทีส่ ุภาพ ถ่อมตน 4.30 0.78 มาก

10 เป็นผู้มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ 4.41 0.74 มาก

รวม 4.37 0.58 มาก

จากตารางที่ 3 พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ด้านบุคลิกภาพ โดยภาพรวมมีการ

ปฏิบตั ิอยูใ่ นระดับมาก (  = 4.37, S.D. = 0.58) และเม่ือพิจารณาเป็นรายการพบว่าอยู่ในระดับ

มาก จานวน 10 รายการ รายการทมี่ คี า่ เฉล่ียสงู สุดคือเปน็ ผมู้ ีอารมณข์ นั ร่าเริง แจ่มใส อยู่ใน

ระดับมาก (  = 4.45, S.D. = 0.72), เป็นผู้แต่งกายสุภาพ เหมาะสม อยู่ในระดับมาก (  =

4.45, S.D. = 0.77) รองลงมาคือเป็นผู้มีสุขภาพแข็งแรง อดทน อยู่ในระดับมาก (  = 4.42,

S.D. = 0.67) และเป็นผมู้ คี วามกระตอื รอื รน้ อยู่ในระดับมาก (  = 4.42, S.D. = 0.77) และท่ีมี

ค่าเฉล่ียตา่ สุดคือเปน็ ผมู้ กี ริ ยิ า วาจาสุภาพออ่ นโยน อย่ใู นระดบั มาก ( = 4.25, S.D. = 0.82)

151

4.3.2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเก่ียวกับคุณลักษณะของครูในปัจจุบันด้านมนุษย-

สมั พันธ์ ดังตารางท่ี 4

ตารางที่ 4 ความคิดเหน็ ตอ่ คุณลกั ษณะของครูในปัจจุบัน ด้านมนษุ ยสัมพนั ธ์

ท่ี คณุ ลักษณะของครูในปัจจุบนั ระดบั การปฏบิ ตั ิ
1 เปน็ ผู้มอี ารมณม์ ่นั คง สุขุม  S.D. แปลความหมาย
4.35 0.79 มาก

2 เป็นผมู้ ีความเป็นกันเอง มคี วามใกล้ชดิ กบั ผู้เรยี น 4.40 0.76 มาก

3 เปน็ ผมู้ คี วามเอ้อื เฟื้อเผอื่ แผ่ 4.38 0.70 มาก

4 เปน็ ผู้ทีไ่ ม่เยอ่ หยิ่ง ไม่ถือตัว 4.42 0.78 มาก

5 เปน็ ผู้มคี วามสนใจบุคคลอืน่ โดยศกึ ษาความต้องการและ 4.36 0.67 มาก

ความแตกตา่ งของบุคคลอน่ื

6 เปน็ ผู้ทีแ่ สดงความช่นื ชมบุคคลอ่นื ด้วยความจรงิ ใจ 4.36 0.75 มาก

7 เป็นผทู้ ่รี ่วมงานกับบคุ คลอื่นได้ดี และเป็นทย่ี อมรบั 4.42 0.69 มาก

8 เปน็ ผทู้ ป่ี รบั ตัวเข้ากับสงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และ 4.39 0.71 มาก

บุคคลอน่ื ไดง้ ่าย

9 เปน็ ผู้ที่มคี วามเคารพในสิทธิ ศักด์ิศรี และหน้าท่ีของผ้อู ่นื 4.41 0.70 มาก

10 เป็นผมู้ ีความยตุ ิธรรม ยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผูเ้ รียน 4.36 0.74 มาก

รวม 4.38 0.58 มาก

จากตารางที่ 4 พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ด้านมนุษยสัมพันธ์ โดยภาพรวมมีการ

ปฏบิ ัติอยู่ในระดับมาก (  = 4.38, S.D. = 0.58) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการพบว่าอยู่ในระดับ

มาก จานวน 10 รายการ รายการที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดคือเป็นผู้ที่ร่วมงานกับบุคคลอ่ืนได้ดี และ

เป็นท่ียอมรับ อยู่ในระดับมาก (  = 4.42, S.D. = 0.69), เป็นผู้ท่ีไม่เย่อหยิ่ง ไม่ถือตัว อยู่ใน

ระดับมาก (  = 4.42, S.D. = 0.78) รองลงมาคือเป็นผู้ท่ีมีความเคารพในสิทธิ ศักด์ิศรี และ

หน้าที่ของผู้อ่ืน อยู่ในระดับมาก (  = 4.41, S.D. = 0.70) และท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือเป็นผู้มี

อารมณ์มั่นคง สขุ มุ อยใู่ นระดบั มาก (  = 4.35, S.D. = 0.79)

152

4.3.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ด้านภาวะ

ความเป็นผู้นา ดงั ตารางที่ 5

ตารางที่ 5 ความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของครูในปจั จบุ นั ดา้ นภาวะความเปน็ ผ้นู า

ท่ี คุณลักษณะของครูในปจั จุบัน ระดับการปฏิบัติ
1 เปน็ ผมู้ ีความรับผิดชอบ  S.D. แปลความหมาย
4.44 0.67 มาก

2 เปน็ ผู้มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย 4.43 0.69 มาก

3 เปน็ ผมู้ ีความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปญั หาเฉพาะหน้าได้ 4.45 0.69 มาก

อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

4 เปน็ ผยู้ อมรบั ในเหตุผล 4.42 0.73 มาก

5 เปน็ ผู้มีวิสยั ทัศน์กว้างไกล ทนั สมยั ทนั เหตุการณ์ 4.42 0.73 มาก

6 เป็นผมู้ คี วามเสียสละ 4.44 0.74 มาก

7 เป็นผู้ดารงตนเรยี บงา่ ย ประหยัด เหมาะสมกบั อาชีพครู 4.52 0.62 มากทสี่ ุด

8 เป็นผทู้ ต่ี รงต่อเวลา ประพฤตติ นสม่าเสมอ 4.44 0.66 มาก

9 เป็นผู้เห็นผู้เรยี นมคี วามสาคัญ โดยพิจารณาคณุ ค่าของผเู้ รียน 4.45 0.62 มาก

แต่ละคนดว้ ยเหตุผล

10 เป็นผู้บาเพญ็ ตนเพื่อประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ ส่วนตน 4.45 0.64 มาก

รวม 4.44 0.55 มาก

จากตารางท่ี 5 พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ด้านภาวะความเป็นผู้นา โดยภาพรวม

มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (  = 4.44, S.D. = 0.55) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการพบว่าอยู่ใน

ระดับมากท่ีสุด จานวน 1 รายการ และอยู่ในระดับมาก จานวน 9 รายการ รายการที่มี

ค่าเฉล่ยี สูงสุดคือเปน็ ผดู้ ารงตนเรียบงา่ ย ประหยดั เหมาะสมกับอาชีพครู อยู่ในระดับมากท่ีสุด

(  = 4.52, S.D. = 0.62) รองลงมาคือเป็นผู้เห็นผู้เรียนมีความสาคัญ โดยพิจารณาคุณค่าของ

ผู้เรียนแต่ละคนด้วยเหตุผล อยู่ในระดับมาก (  = 4.45, S.D. = 0.62), เป็นผู้บาเพ็ญตนเพ่ือ

ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน อยู่ในระดับมาก (  = 4.45, S.D. = 0.64), เป็นผู้มี

ความสามารถในการตัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมาก ( 

= 4.45, S.D. = 0.69) และที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือเป็นผู้ยอมรับในเหตุผล และเป็นผู้มีวิสัยทัศน์

กวา้ งไกล ทันสมัย ทันเหตกุ ารณ์ อย่ใู นระดับมาก ( = 4.42, S.D. = 0.73)

153

4.3.4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ด้าน

วิชาการและการเรียนการสอน ดงั ตารางที่ 6

ตารางท่ี 6 ความคดิ เห็นตอ่ คณุ ลกั ษณะของครูในปัจจบุ ัน ดา้ นวชิ าการและการเรียนการสอน

ท่ี คุณลกั ษณะของครูในปัจจบุ ัน ระดับการปฏิบตั ิ
 S.D. แปลความหมาย

1 เป็นผู้ศกึ ษารวบรวมขอ้ มูลของผู้เรียนเปน็ รายบคุ คลเพอ่ื การ 4.52 0.61 มากทส่ี ุด

พฒั นาความสามารถของผูเ้ รยี น

2 เปน็ ผู้ที่ค้นหาศกั ยภาพของผู้เรยี นเพ่ือใหก้ ารสง่ เสริมสนบั สนุน 4.51 0.61 มากทส่ี ุด

3 เป็นผู้ทส่ี รา้ งแรงจงู ใจใหผ้ ู้เรียนมีความต้องการในการเรยี นรู้ 4.48 0.63 มาก

4 เปน็ ผทู้ ่วี างแผนการเรียนร่วมกบั ผูเ้ รียนเพ่ือพัฒนาความตอ้ งการ 4.45 0.63 มาก

ของผู้เรียน

5 เปน็ ผู้แนะนาชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นในเรอื่ งการเรยี นอยา่ งสม่าเสมอ 4.52 0.63 มากท่ีสุด

6 เป็นผู้สรรหาและสนบั สนุนสอ่ื อปุ กรณ์การเรียน เพอ่ื ให้ 4.46 0.65 มาก

ผู้เรยี นได้เกิดการเรียนรู้

7 เป็นผูท้ ี่กระตนุ้ ให้ผู้เรยี นสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง 4.50 0.65 มาก

8 เปน็ ผูท้ ่ีกระตุ้นให้ผ้เู รียนมีความตั้งใจ มีกาลังใจในการศึกษาเล่า 4.48 0.65 มาก

เรยี น

9 เปน็ ผสู้ ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนรว่ มในการประเมนิ ผลการเรยี น 4.51 0.63 มากท่ีสดุ

10 เปน็ ผทู้ ีเ่ ก็บรวบรวมขอ้ มลู เพ่ือนาไปปรับปรงุ แกไ้ ขในการจัด 4.59 0.56 มากที่สดุ

กจิ กรรมการเรยี นการสอนในคร้ังต่อไป

รวม 4.50 0.50 มาก

จากตารางท่ี 6 พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ด้านวิชาการและการเรียนการสอน

โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก (  = 4.50, S.D. = 0.50) และเมื่อพิจารณาเป็นรายการ

พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด จานวน 5 รายการ และอยู่ในระดับมาก จานวน 5 รายการ

รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือเป็นผู้ท่ีเก็บรวบรวมข้อมูล เพ่ือนาไปปรับปรุงแก้ไขในการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอนในครั้งต่อไป อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.59, S.D. = 0.56)

รองลงมาคือเปน็ ผ้ศู กึ ษารวบรวมข้อมูลของผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คลเพ่ือการพฒั นาความสามารถของ

ผู้เรียน อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.52, S.D. = 0.61), เป็นผู้แนะนาช่วยเหลือผู้เรียนในเรื่อง

การเรยี นอยา่ งสม่าเสมอ อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.52, S.D. = 0.63) และที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด

คือเป็นผูท้ วี่ างแผนการเรยี นร่วมกับผู้เรียนเพื่อพัฒนาความต้องการของผู้เรียน อยู่ในระดับมาก

(  = 4.45, S.D. = 0.63)

154

4.3.5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ด้าน

คุณธรรม จรยิ ธรรม ดงั ตารางที่ 7

ตารางท่ี 7 ความคดิ เห็นต่อคณุ ลกั ษณะของครูในปัจจบุ นั ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

ที่ คณุ ลักษณะของครูในปจั จบุ ัน ระดบั การปฏิบตั ิ
1 เปน็ ผมู้ ีความรัก เมตตาต่อศษิ ย์  S.D. แปลความหมาย
4.53 0.59 มากท่สี ุด

2 เปน็ ผู้ที่มีความต้ังใจอบรมสัง่ สอนผู้เรยี นด้วยความบรสิ ุทธ์ิใจ 4.53 0.59 มากที่สดุ

3 เป็นผู้ทปี่ ระพฤติตนเปน็ แบบอย่างทดี่ ีแก่ผู้เรยี นท้งั ทางกาย 4.48 0.64 มาก

วาจา และจติ ใจ

4 เป็นผู้ท่สี ่งเสรมิ พัฒนาการทางกายสติปญั ญา จิตใจ อารมณ์ 4.45 0.64 มาก

และสังคมของผเู้ รียน

5 เป็นผทู้ ่ีไมแ่ สวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสนิ จา้ งจากผู้เรียน 4.47 0.65 มาก

6 เป็นผทู้ ีพ่ ฒั นาตนในดา้ นวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวสิ ัยทัศน์ 4.49 0.65 มาก

ให้ทันต่อการพัฒนาการทางวิชาการ

7 เปน็ ผทู้ ีช่ ว่ ยเหลอื เกอื้ กลู บคุ คลอ่ืนในทางสร้างสรรค์ 4.54 0.59 มากทสี่ ุด

8 เป็นผทู้ ี่มีความประพฤติในการเป็นผู้นาในการอนรุ ักษพ์ ฒั นาภูมิ 4.54 0.63 มากท่สี ุด

ปัญญา และวฒั นธรรมไทย

9 เป็นผทู้ ่มี ีความรัก และศรทั ธาในวชิ าชพี ครู 4.52 0.59 มากทส่ี ุด

10 เปน็ ผู้ท่มี ีความสามัคคใี ห้เกดิ ข้นึ ในหมูค่ ณะ 4.56 0.58 มากท่สี ดุ

รวม 4.51 0.50 มากทีส่ ุด

จากตารางที่ 7 พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยภาพรวม

มกี ารปฏิบตั อิ ยใู่ นระดับมากท่สี ดุ ( = 4.51, S.D. = 0.50) และเมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายการพบว่าอยู่

ในระดับมากที่สุด จานวน 6 รายการ และอยู่ในระดับมาก จานวน 4 รายการ รายการที่มี

ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือเป็นผู้ที่มีความสามัคคีให้เกิดข้ึนในหมู่คณะ อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.56,

S.D. = 0.58) รองลงมาคือเป็นผู้ที่ช่วยเหลือเกื้อกูลบุคคลอ่ืนในทางสร้างสรรค์ อยู่ในระดับมาก

ที่สุด (  = 4.54, S.D. = 0.59), เป็นผู้ท่ีมีความประพฤติในการเป็นผู้นาในการอนุรักษ์พัฒนา

ภูมิปญั ญา และวัฒนธรรมไทย อย่ใู นระดับมากท่ีสุด (  = 4.54, S.D. = 0.63) และท่ีมีค่าเฉลี่ย

ตา่ สุดคอื เป็นผ้ทู ส่ี ่งเสริมพัฒนาการทางกายสติปญั ญา จติ ใจ อารมณ์ และสังคมของผู้เรียน อยู่

ในระดับมาก (  = 4.45, S.D. = 0.64)

155

4.4 คณุ ลักษณะของครูตามความคาดหวังของผเู้ รยี น

ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียนตามความคิดเห็นของ

ผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดยภาพรวม ดัง

ตารางที่ 8

ตารางที่ 8 คุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวังของผเู้ รียน โดยภาพรวม

ที่ ความคาดหวังคุณลักษณะ ระดับการปฏบิ ัติ
ของครู  S.D. แปลความหมาย
4.70 0.45 มากทีส่ ดุ
1 ดา้ นบุคลิกภาพ

2 ด้านมนุษยสมั พันธ์ 4.75 0.40 มากที่สดุ

3 ด้านภาวะความเป็นผนู้ า 4.76 0.39 มากทีส่ ดุ

4 ด้านวชิ าการและการเรียนการสอน 4.78 0.36 มากที่สดุ

5 ด้านคุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.77 0.39 มากทสี่ ดุ

รวม 4.75 0.35 มากท่สี ุด

จากตารางที่ 8 พบว่าคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน โดย

ภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.75, S.D. = 0.35) และเม่ือพิจารณาเป็นรายการพบว่าอยู่

ในระดับมากที่สุด จานวน 5 รายการ รายการที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดคือด้านวิชาการและการเรียน

การสอน อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.78, S.D. = 0.36) รองลงมาคือด้านคุณธรรมและ
จริยธรรม อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.77, S.D. = 0.39) และท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุดคือด้าน

บุคลกิ ภาพ อยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ ( = 4.70, S.D. = 0.45)
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู เก่ยี วกับคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียนตาม

ความคดิ เห็นของผเู้ รียน ในวทิ ยาลัยการอาชพี ดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย ในแต่ละด้าน มดี งั นี้

156

4.4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับคณุ ลักษณะของครูตามความคาดหวังของ

ผูเ้ รยี น ดา้ นบคุ ลิกภาพ ดังตารางที่ 9

ตารางที่ 9 ความคดิ เหน็ ตอ่ คณุ ลกั ษณะของครูตามความคาดหวงั ของผเู้ รียน ดา้ นบุคลกิ ภาพ

ที่ คณุ ลกั ษณะของครูตามความคาดหวังของผ้เู รยี น ระดับการปฏิบตั ิ
1 เป็นผมู้ สี ขุ ภาพแข็งแรง อดทน  S.D. แปลความหมาย
4.74 0.52 มากทสี่ ุด

2 เปน็ ผู้มรี ะเบยี บ วนิ ยั 4.71 0.55 มากที่สุด

3 เป็นผมู้ ีสติ สามารถควบคมุ อารมณ์ได้ 4.70 0.61 มากท่ีสดุ

4 เป็นผู้มกี ิรยิ า วาจาสภุ าพอ่อนโยน 4.66 0.68 มากทส่ี ุด

5 เปน็ ผู้มีอารมณ์ขนั ร่าเรงิ แจ่มใส 4.74 0.55 มากทส่ี ุด

6 เป็นผูฝ้ ึกฝนคน้ คว้า หาความรเู้ พิ่มเตมิ อยู่เสมอ 4.66 0.65 มากท่ีสุด

7 เปน็ ผมู้ ีความกระตอื รอื ร้น 4.69 0.63 มากทสี่ ุด

8 เปน็ ผแู้ ต่งกายสุภาพ เหมาะสม 4.75 0.54 มากท่สี ดุ

9 เปน็ ผู้มีกริ ยิ าทา่ ทางทส่ี ภุ าพ ถ่อมตน 4.72 0.52 มากทีส่ ดุ

10 เปน็ ผูม้ คี วามคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ 4.67 0.60 มากท่สี ุด

รวม 4.70 0.45 มากท่สี ุด

จากตารางท่ี 9 พบว่าคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ด้านบุคลิกภาพ

โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.70, S.D. = 0.45) และเมื่อพิจารณาเป็น

รายการพบว่าอยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 10 รายการ รายการท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือเป็นผู้

แตง่ กายสุภาพ เหมาะสม อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.75, S.D. = 0.54) รองลงมาคือเป็นผู้มี

สุขภาพแข็งแรง อดทน อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.74, S.D. = 0.52), เป็นผู้มีอารมณ์ขัน

รา่ เรงิ แจ่มใส อย่ใู นระดับมากท่ีสุด (  = 4.74, S.D. = 0.55) และท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือเป็นผู้มี

กิรยิ า วาจาสภุ าพออ่ นโยน อยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ (  = 4.66, S.D. = 0.68), เป็นผู้ฝึกฝนค้นคว้า

หาความรเู้ พ่มิ เตมิ อยเู่ สมอ อย่ใู นระดับมากท่สี ุด (  = 4.66, S.D. = 0.65)

157

4.4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกย่ี วกับคณุ ลักษณะของครูตามความคาดหวังของ

ผู้เรยี น ด้านมษุ ยสัมพนั ธ์ ดงั ตารางที่ 10

ตารางท่ี 10 ความคดิ เหน็ ตอ่ คุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวงั ของผเู้ รียน ดา้ นมนุษย-

สัมพันธ์

ท่ี คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ระดับการปฏิบตั ิ
1 เป็นผู้มอี ารมณม์ น่ั คง สขุ ุม  S.D. แปลความหมาย
4.76 0.49 มากที่สดุ

2 เปน็ ผู้มีความเป็นกนั เอง มีความใกล้ชิดกบั ผู้เรียน 4.76 0.50 มากท่สี ดุ

3 เปน็ ผู้มคี วามเอื้อเฟ้อื เผ่ือแผ่ 4.71 0.51 มากท่สี ดุ

4 เป็นผทู้ ่ไี มเ่ ยอ่ หยิง่ ไม่ถือตัว 4.73 0.55 มากที่สุด

5 เป็นผมู้ คี วามสนใจบุคคลอ่ืนโดยศึกษาความตอ้ งการและความ 4.71 0.51 มากที่สุด

แตกตา่ งของบุคคลอืน่

6 เปน็ ผทู้ ่แี สดงความช่นื ชมบุคคลอืน่ ดว้ ยความจรงิ ใจ 4.74 0.51 มากท่ีสุด

7 เป็นผู้ท่รี ่วมงานกบั บุคคลอ่ืนได้ดี และเป็นที่ยอมรบั 4.80 0.44 มากทส่ี ดุ

8 เปน็ ผทู้ ป่ี รบั ตวั เข้ากบั สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และบุคคลอนื่ ได้งา่ ย 4.75 0.51 มากที่สุด

9 เป็นผู้ทม่ี คี วามเคารพในสิทธิ ศกั ดิ์ศรี และหนา้ ที่ของผูอ้ ื่น 4.74 0.54 มากทีส่ ุด

10 เปน็ ผู้มคี วามยุติธรรม ยอมรับฟังความคิดเหน็ ของผเู้ รียน 4.79 0.45 มากท่สี ดุ

รวม 4.75 0.40 มากทส่ี ุด

จากตารางที่ 10 พบว่าคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ด้านมนุษย-

สมั พันธ์ โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.75, S.D. = 0.40) และเมื่อพิจารณา
เปน็ รายการพบว่าอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ จานวน 10 รายการ รายการที่มีคา่ เฉลยี่ สงู สุดคือเป็นผู้ท่ี

ร่วมงานกับบุคคลอื่นได้ดี และเป็นท่ียอมรับ อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.80, S.D. = 0.44)

รองลงมาคอื เป็นผูม้ คี วามยุตธิ รรม ยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของผู้เรียน อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( 
= 4.79, S.D. = 0.45) และที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือเป็นผู้มีความเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ และเป็นผู้มีความ

สนใจบุคคลอนื่ โดยศกึ ษาความตอ้ งการและความแตกตา่ งของบคุ คลอ่นื อยู่ในระดับมากที่สุด ( 
= 4.71, S.D. = 0.51)

158

4.4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของ

ผ้เู รยี น ด้านภาวะความเป็นผนู้ า ดงั ตารางท่ี 11

ตารางท่ี 11 ความคดิ เห็นตอ่ คณุ ลกั ษณะของครูตามความคาดหวงั ของผูเ้ รียน ด้านภาวะความ

เปน็ ผ้นู า

ที่ คุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวงั ของผูเ้ รียน ระดบั การปฏิบัติ
1 เปน็ ผู้มีความรบั ผิดชอบ  S.D. แปลความหมาย
4.76 0.55 มากที่สดุ

2 เป็นผู้มคี วามเป็นประชาธปิ ไตย 4.78 0.47 มากที่สุด

3 เปน็ ผมู้ ีความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ 4.79 0.47 มากทีส่ ดุ

อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

4 เป็นผู้ยอมรับในเหตุผล 4.74 0.54 มากที่สดุ

5 เป็นผ้มู ีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล ทนั สมัย ทันเหตุการณ์ 4.76 0.52 มากทสี่ ุด

6 เปน็ ผมู้ ีความเสยี สละ 4.80 0.44 มากทีส่ ดุ

7 เปน็ ผดู้ ารงตนเรียบงา่ ย ประหยดั เหมาะสมกบั อาชีพครู 4.76 0.51 มากที่สดุ

8 เปน็ ผู้ท่ตี รงต่อเวลา ประพฤตติ นสม่าเสมอ 4.73 0.54 มากที่สุด

9 เป็นผู้เห็นผู้เรียนมีความสาคญั โดยพิจารณาคุณค่าของผเู้ รียน 4.75 0.47 มากที่สุด

แตล่ ะคนด้วยเหตุผล

10 เป็นผู้บาเพ็ญตนเพือ่ ประโยชน์สว่ นรวมมากกว่าส่วนตน 4.76 0.45 มากท่สี ดุ

รวม 4.76 0.39 มากทส่ี ดุ

จากตารางท่ี 11 พบวา่ คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ด้านภาวะความ

เป็นผู้นา โดยภาพรวมมีการปฏบิ ัตอิ ยใู่ นระดับมากท่ีสุด (  = 4.76, S.D. = 0.39) และเมื่อพิจารณา
เปน็ รายการพบวา่ อยู่ในระดบั มากที่สุด จานวน 10 รายการ รายการท่มี คี ่าเฉล่ียสูงสุดคือเป็นผู้มี

ความเสียสละ อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.80, S.D. = 0.44) รองลงมาคือเป็นผู้มี
ความสามารถในการตดั สินใจ แกป้ ัญหาเฉพาะหน้าไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ อยู่ในระดับมากที่สุด

(  = 4.79, S.D. = 0.47) และที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือเป็นผู้ที่ตรงต่อเวลา ประพฤติตนสม่าเสมอ
อยู่ในระดับมากทสี่ ุด (  = 4.73, S.D. = 0.54)

159

4.4.4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของ

ผูเ้ รียน ดา้ นวชิ าการและการเรียนการสอน ดงั ตารางที่ 12

ตารางท่ี 12 ความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผ้เู รยี น ดา้ นวิชาการ

และการเรียนการสอน

ที่ คณุ ลกั ษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ระดับการปฏิบตั ิ
 S.D. แปลความหมาย

1 เป็นผศู้ ึกษารวบรวมขอ้ มูลของผู้เรียนเป็นรายบคุ คลเพื่อการ 4.76 0.47 มากทส่ี ดุ

พฒั นาความสามารถของผ้เู รยี น

2 เป็นผ้ทู ค่ี ้นหาศักยภาพของผ้เู รยี นเพอ่ื ใหก้ ารสง่ เสริมสนับสนุน 4.76 0.49 มากทส่ี ดุ

3 เปน็ ผทู้ ส่ี ร้างแรงจูงใจใหผ้ ู้เรยี นมคี วามตอ้ งการในการเรียนรู้ 4.80 0.45 มากทส่ี ุด

4 เป็นผู้ที่วางแผนการเรียนรว่ มกับผู้เรยี นเพอ่ื พัฒนาความต้องการ 4.77 0.49 มากที่สุด

ของผูเ้ รียน

5 เปน็ ผแู้ นะนาช่วยเหลอื ผู้เรยี นในเร่ืองการเรยี นอยา่ งสมา่ เสมอ 4.78 0.48 มากทส่ี ุด

6 เปน็ ผู้สรรหาและสนบั สนนุ สือ่ อุปกรณก์ ารเรยี น เพื่อให้ 4.79 0.47 มากที่สุด

ผู้เรยี นได้เกดิ การเรียนรู้

7 เปน็ ผทู้ กี่ ระตุน้ ให้ผ้เู รยี นสามารถสร้างความรไู้ ด้ด้วยตนเอง 4.78 0.48 มากทส่ี ุด

8 เปน็ ผทู้ กี่ ระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความตั้งใจ มีกาลังใจในการศกึ ษา 4.76 0.49 มากที่สุด

เล่าเรียน

9 เป็นผู้สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการประเมนิ ผลการเรยี น 4.80 0.45 มากที่สดุ

10 เป็นผู้ทเ่ี กบ็ รวบรวมข้อมูล เพอื่ นาไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขในการจดั 4.82 0.42 มากที่สดุ

กิจกรรมการเรียนการสอนในครัง้ ต่อไป

รวม 4.78 0.36 มากทส่ี ุด

จากตารางท่ี 12 พบว่าคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ด้านวิชาการ

และการเรียนการสอน โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.78, S.D. = 0.36) และ
เมื่อพิจารณาเป็นรายการพบว่าอยู่ในระดับมากท่ีสุด จานวน 10 รายการ รายการท่ีมีค่าเฉลี่ย

สูงสดุ คือเป็นผทู้ ีเ่ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพื่อนาไปปรบั ปรุงแก้ไขในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ในครง้ั ตอ่ ไป อยูใ่ นระดับมากท่ีสุด (  = 4.82, S.D. = 0.42) รองลงมาคือเป็นผู้ท่ีสร้างแรงจูงใจ
ใหผ้ ูเ้ รียนมีความต้องการในการเรียนรู้ และเป็นผู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผล

การเรียน อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.80, S.D. = 0.45) และท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุดคือเป็นผู้ที่
คน้ หาศกั ยภาพของผ้เู รียนเพ่ือให้การส่งเสริมสนับสนุน, เป็นผู้ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความตั้งใจ มี

กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน อยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.76, S.D. = 0.49), เป็นผู้ศึกษา

160

รวบรวมข้อมลู ของผู้เรยี นเปน็ รายบุคคลเพ่ือการพฒั นาความสามารถของผเู้ รียน อยู่ในระดับมาก

ท่ีสุด (  = 4.76, S.D. = 0.47)
4.4.5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของ

ผู้เรียน ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดงั ตารางท่ี 13

ตารางท่ี 13 ความคดิ เหน็ ต่อคุณลักษณะของครูตามความคาดหวงั ของผู้เรียน ด้านคณุ ธรรม

จริยธรรม

ที่ คณุ ลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ระดับการปฏิบัติ
1 เป็นผูม้ คี วามรกั เมตตาต่อศิษย์  S.D. แปลความหมาย
4.77 0.48 มากท่ีสดุ

2 เป็นผทู้ ม่ี ีความต้งั ใจอบรมสง่ั สอนผู้เรยี นด้วยความบริสทุ ธิ์ใจ 4.82 0.39 มากทส่ี ุด

3 เปน็ ผู้ที่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ดี ีแกผ่ ู้เรยี นทง้ั ทางกาย 4.76 0.49 มากทส่ี ุด

วาจา และจิตใจ

4 เปน็ ผทู้ ส่ี ง่ เสริมพัฒนาการทางกายสติปัญญา จติ ใจ อารมณ์ 4.72 0.56 มากท่สี ดุ

และสงั คมของผูเ้ รยี น

5 เปน็ ผู้ที่ไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามสิ สินจา้ งจากผ้เู รยี น 4.72 0.52 มากทสี่ ดุ

6 เป็นผทู้ ี่พฒั นาตนในดา้ นวชิ าชีพ บุคลกิ ภาพ และวสิ ัยทัศน์ 4.74 0.52 มากที่สดุ

ให้ทนั ต่อการพัฒนาการทางวิชาการ

7 เป็นผทู้ ี่ชว่ ยเหลือเกอื้ กลู บุคคลอื่นในทางสรา้ งสรรค์ 4.77 0.51 มากที่สุด

8 เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามประพฤติในการเปน็ ผูน้ าในการอนุรักษ์ 4.77 0.51 มากทีส่ ุด

พัฒนาภมู ิปัญญา และวัฒนธรรมไทย

9 เปน็ ผทู้ ่มี ีความรกั และศรทั ธาในวชิ าชพี ครู 4.80 0.46 มากทีส่ ดุ

10 เป็นผู้ทม่ี ีความสามัคคีให้เกิดขึน้ ในหมูค่ ณะ 4.83 0.42 มากที่สดุ

รวม 4.77 0.39 มากที่สุด

จากตารางที่ 13 พบว่าคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ด้านคุณธรรม

จริยธรรม โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.77, S.D. = 0.39) และเมื่อ
พิจารณาเป็นรายการพบวา่ อยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด จานวน 10 รายการ รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด

คือเป็นผู้ท่ีมีความสามัคคีให้เกิดขึ้นในหมู่คณะ อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.83, S.D. = 0.42)
รองลงมาคือเป็นผู้ท่ีมีความตั้งใจอบรมส่ังสอนผู้เรียนด้วยความบริสุทธ์ิใจ อยู่ในระดับมากท่ีสุด

( = 4.82, S.D. = 0.39) และที่มีค่าเฉลีย่ ต่าสดุ คอื เป็นผ้ทู ี่ส่งเสริมพัฒนาการทางกายสติปัญญา
จติ ใจ อารมณ์ และสังคมของผู้เรียน อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.72, S.D. = 0.56), เป็นผู้ที่

161

ไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิส-สินจ้างจากผู้เรียน อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.72, S.D. =
0.52)

4.5 เปรียบเทียบคุณลกั ษณะของครใู นปัจจุบนั จาแนกตามระดบั การศึกษาของผเู้ รียน

การเปรยี บเทยี บคณุ ลักษณะของครูในปัจจุบัน ตามระดับการศึกษาของผู้เรียน ใน

วิทยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย จังหวัดเลย ใชก้ ารวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนทางเดียว สถิติทดสอบ

แบบเอฟ (f - test) ดงั น้ี

ตารางที่ 14 ผลการเปรยี บเทียบคณุ ลกั ษณะของครูในปจั จบุ ัน ตามระดบั การศกึ ษาของผู้เรียน

ในวิทยาลยั การอาชพี ด่านซ้าย จงั หวัดเลย โดยภาพรวม และรายดา้ น

ระดับการปฏิบตั ิ

ระดบั ระดบั

คณุ ลักษณะของครูในปัจจบุ นั ประกาศนยี บตั ประกาศนียบัตร

รวชิ าชพี วชิ าชพี ช้นั สงู

1. ด้านบุคลกิ ภาพ  S.D.  S.D. F p-value
4.42 0.57 4.19 0.60 23.38 0.00

2. ด้านมนุษยสมั พันธ์ 4.44 0.58 4.17 0.67

3. ด้านภาวะความเป็นผู้นา 4.51 0.51 4.20 0.61
4. ด้านวิชาการและการเรยี นการสอน 4.55 0.47 4.29 0.55
5. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 4.57 0.46 4.27 0.55

รวม 4.50 0.47 4.22 0.56

p<.01

จากตารางท่ี 14 พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ตามระดับการศึกษาของ
ผู้เรยี น ในวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย แตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ
.01 พบว่า นักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของ ครู
ปจั จุบนั สงู กวา่ ความคดิ เหน็ ของนกั ศกึ ษาในระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้ันสูง

162

4.6 เปรยี บเทยี บคุณลักษณะของครตู ามความคาดหวงั ของผูเ้ รยี นจาแนกตามระดับ
การศกึ ษาของผเู้ รยี น

การเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ตามระดับ

การศึกษาของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ใช้การวิเคราะห์ความ

แปรปรวนทางเดยี ว (f - test) ดังน้ี

ตารางท่ี 15 ผลการเปรียบเทยี บคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ตามระดบั

การศกึ ษาของผ้เู รยี น ในวทิ ยาลยั การอาชพี ด่านซ้าย จังหวดั เลย โดย

ภาพรวมและรายด้าน

ระดับความคาดหวงั

คณุ ลกั ษณะของครตู ามความคาดหวงั ระดบั ระดบั
ของผู้เรียน ประกาศนยี บั ประกาศนียบตั
ตรวชิ าชพี รวชิ าชพี ชน้ั สงู

1. ดา้ นบคุ ลิกภาพ  S.D.  S.D. F p-value
4.72 0.42 4.63 0.52 10.95 0.00

2. ด้านมนษุ ยสัมพันธ์ 4.78 0.36 4.60 0.50

3. ด้านภาวะความเป็นผู้นา 4.80 0.35 4.61 0.48

4. ด้านวชิ าการและการเรียนการสอน 4.81 0.32 4.64 0.44

5. ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 4.80 0.35 4.63 0.47

รวม 4.78 0.32 4.62 0.45

p<.01

จากตารางท่ี 15 พบวา่ คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ตามระดับ

การศกึ ษาของผูเ้ รียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ

ทางสถิติท่ีระดับ .01 พบว่า นักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพมีความคิดเห็นต่อ

คณุ ลกั ษณะของครูตามความคาดหวังสูงกว่าความคิดเห็นของนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตร

วชิ าชีพชนั้ สูง

163

4.7 เปรียบเทยี บคุณลักษณะของครใู นปัจจุบนั และตามความคาดหวงั ของผู้เรียน

การเปรยี บเทยี บคณุ ลักษณะของครูในปัจจุบันและตามความคาดหวังของผู้เรียน ใน

วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (f - test)

ดงั น้ี

ตารางที่ 16 ผลการเปรียบเทยี บคุณลกั ษณะของครู ในปัจจบุ ันและตามความคาดหวงั ของ

ผ้เู รียน ในวิทยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย โดยภาพรวมและรายด้าน

คุณลักษณะของครู ระดับการปฏบิ ตั ิ
ปัจจุบนั คาดหวงั

1. ด้านบุคลิกภาพ  S.D.  S.D. F p-value
4.37 0.58 4.70 0.45 16.11 0.00

2. ด้านมนุษยสัมพนั ธ์ 4.38 0.61 4.75 0.40

3. ดา้ นภาวะความเป็นผูน้ า 4.45 0.55 4.76 0.39

4. ด้านวชิ าการและการเรียนการสอน 4.50 0.50 4.78 0.36

5. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 4.51 0.50 4.77 0.39

รวม 4.44 0.51 4.75 0.35

p<.01

จากตารางท่ี 16 พบว่าคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและตามความคาดหวังของ

ผู้เรยี น ในวทิ ยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย จังหวดั เลย แตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ

.01 พบว่า คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผ้เู รียนสูงกวา่ คณุ ลักษณะของครูในปจั จบุ นั

บทที่ 5
สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

การวิจัยครั้งน้ี เป็นการศึกษาคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและตามความคาดหวังของ
ผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ซึ่งผู้วิจัยขอนาเสนอการสรุปผลการวิจัย
อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ ตามลาดับดงั นี้

5.1 วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย
5.2 สมมติฐานของการวจิ ยั
5.3 วิธดี าเนินการวจิ ัย
5.4 สรุปผลการวจิ ัย
5.5 อภิปรายผลการวิจยั
5.6 ข้อเสนอแนะ

5.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย

5.1.1 เพื่อศึกษาคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวดั เลย

5.1.2 เพอื่ ศกึ ษาคุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวงั ของผู้เรยี น ในวิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซา้ ย จังหวัดเลย

5.1.3 เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันจาแนกตามระดับการศึกษาของ
ผูเ้ รยี น ในวิทยาลยั การอาชพี ด่านซา้ ย จังหวดั เลย

5.1.4 เพื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียนจาแนกตาม
ระดบั การศกึ ษาของผู้เรยี น ในวิทยาลัยการอาชีพดา่ นซ้าย จงั หวัดเลย

5.1.5 เพ่ือเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและคุณลักษณะของครูตามความ
คาดหวงั ของผเู้ รยี น ในวิทยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย

166

5.2 สมมุตฐิ านของการวิจยั

5.2.1 ผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมี
ความคดิ เหน็ ตอ่ คุณลักษณะของครูในปจั จุบัน แตกตา่ งกัน

5.2.2 ผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมี
ความคิดเห็นต่อคณุ ลักษณะของครูตามความคาดหวัง แตกตา่ งกัน

5.2.3 ผูเ้ รียนในวิทยาลยั การอาชพี ด่านซ้าย จังหวัดเลย มีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะ
ของครูในปจั จุบนั และคุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวงั แตกตา่ งกนั

5.3 วิธีดาเนนิ การวิจัย

5.3.1 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
5.3.1.1 ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ ผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย

จังหวดั เลย ในปีการศึกษา 2563 โดยแยกเป็น นกั เรยี นระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน 321
คน และนกั ศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง จานวน 144 คน รวมเปน็ 465 คน

5.3.1.2 กลุ่มตวั อยา่ ง
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ันภูมิ
ได้แก่ ผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ในปีการศึกษา 2563 โดยแยกเป็น
นกั เรียนระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ จานวน 190 คน และนกั ศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชน้ั สงู จานวน 52 คน รวมเป็น 242 คน
5.3.2 เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู
เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ เป็น แบบสอบถาม (Questionnaires) 1 ชุด มี 2
ตอน มีลักษณะดังน้ี
ตอนที่ 1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ
(Checklist) ได้แก่ ระดบั การศึกษา และสาขาวชิ า
ตอนที่ 2 แบบสอบถามคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน วิทยาลัย
การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวดั เลย เป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ

167

5.3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ท้ังในระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จานวน 242 คน ในปีการศึกษา
2563 ผู้วจิ ัยไดร้ บั แบบสอบถามกลับคืน จานวน 242 ฉบบั คดิ เป็นรอ้ ยละ 100
5.3.4 วิธกี ารวเิ คราะห์ข้อมูล
ในการวจิ ยั ครงั้ นี้ ทาการวิเคราะหข์ อ้ มูลที่เก็บรวบรวมมาโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทาง
สถิติ สาหรบั การวจิ ยั ทางสงั คมศาสตร์ การวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิจัย ดงั ต่อไปน้ี

5.3.4.1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ใชแ้ จกแจงความถี่และหาค่ารอ้ ยละ
5.3.4.2 คุณลักษณะของครูในปัจจุบัน และตามความคาดหวังของผู้เรียน โดย
ใช้ค่าเฉล่ียและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้สเกลของลิเคิร์ท (Likert) เป็นมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) ไดจ้ ากการวิเคราะห์รายขอ้
5.3.4.3 การแปลความหมายของข้อมูล พิจารณาจากระดับคะแนนเฉลี่ยโดยใช้
เกณฑด์ งั น้ี (บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2543)

4.51 - 5.00 หมายถงึ มีการปฏิบตั ิ/มคี วามคาดหวงั อยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด
3.51 - 4.50 หมายถึง มกี ารปฏิบัต/ิ มีความคาดหวงั อยูใ่ นระดบั มาก
2.51 - 3.50 หมายถึง มกี ารปฏิบัต/ิ มคี วามคาดหวังอยู่ในระดบั ปานกลาง
1.51 - 2.50 หมายถงึ มีการปฏิบัต/ิ มีความคาดหวังอยู่ในระดบั นอ้ ย
1.00 - 1.50 หมายถึง มีการปฏิบตั ิ/มีความคาดหวงั อยู่ในระดับน้อยทีส่ ุด
5.3.4.4 การเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันจาแนกตามระดับ
การศึกษาของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย โดยใช้สถิติทดสอบแบบเอฟ
(f - test)
5.3.4.5 การเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน
จาแนกตามระดับการศึกษาของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย โดยใช้สถิติ
ทดสอบแบบเอฟ (f - test)
5.3.4.6 การเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและตามความคาดหวัง
ของผูเ้ รียน ในวทิ ยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวดั เลย โดยใชส้ ถิติทดสอบแบบเอฟ (f - test)

168

5.4 สรปุ ผลการวจิ ยั

ในการวจิ ัยคุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวังของผเู้ รยี น วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวัดเลย ในคร้งั นี้ มผี ลการวิเคราะห์ข้อมูลซง่ึ สามารถสรุปเป็นประเด็นสาคัญได้ดังนี้

5.4.1 ขอ้ มลู สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากการวิจัยคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน วิทยาลัยการอาชีพ
ด่านซ้าย จังหวัดเลย พบว่า กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคร้ังน้ี ส่วนใหญ่เป็นผู้เรียนในระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน 190 คน คิดเป็นร้อยละ 78.50 และเป็นผู้เรียนในระดับ
ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง จานวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 21.50 และเมื่อพิจารณาตามสาขาวิชา
พบว่าส่วนใหญ่เป็นผู้เรียนในสาขาวิชาช่างยนต์ คิดเป็นร้อยละ 29.80 รองลงมาคือ ผู้เรียนในสาขาวิชา
ไฟฟา้ กาลงั คิดเป็นร้อยละ 17.40 และตา่ สุดคือสาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.40
5.4.2 วเิ คราะหค์ า่ สถิติพนื้ ฐาน
ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในแบบสอบถามตอนที่ 2
คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย มี
รายละเอียดดังน้ี

5.4.2.1 คุณลักษณะของครูในปัจจุบัน
คุณลักษณะของครูในปัจจุบัน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยส่วนใหญ่มี
ความคิดเหน็ วา่ คณุ ลักษณะของครูทีเ่ ดน่ ชดั คือ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นวชิ าการและการเรียน
การสอน ด้านภาวะความเป็นผู้นา ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านบุคลิกภาพ ตามลาดับ โดยมี
รายละเอียดดังนี้
คุณลกั ษณะของครูด้านคุณธรรมและจริยธรรม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
และเมื่อพจิ ารณาเปน็ รายการ พบวา่ รายการท่ีมีค่าเฉลย่ี สูงสุดคอื เป็นผ้ทู ม่ี ีความสามัคคีให้เกิดข้ึนใน
หมูค่ ณะ อยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ รองลงมาคอื เป็นผูท้ ่ีช่วยเหลือเกื้อกูลบุคคลอื่นในทางสร้างสรรค์ อยู่
ในระดับมากท่ีสุด, เป็นผู้ท่ีมีความประพฤติในการเป็นผู้นาในการอนุรักษ์พัฒนาภูมิปัญญา และ
วฒั นธรรมไทย อยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ และรายการทม่ี คี า่ เฉลย่ี ตา่ สดุ คือเป็นผทู้ ่สี ่งเสริมพัฒนาการทาง
กายสติปญั ญา จติ ใจ อารมณ์ และสงั คมของผู้เรยี น อยู่ในระดบั มาก
คุณลักษณะของครูด้านวิชาการและการเรียนการสอน ในภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก และเม่ือพิจารณาเป็นรายการ พบว่า รายการท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือเป็นผู้ท่ีเก็บรวบรวมข้อมูล
เพ่ือนาไปปรับปรุงแก้ไขในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในครัง้ ต่อไป อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ รองลงมาคือ

169

เป็นผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลของผู้เรียนเป็นรายบุคคลเพื่อการพัฒนาความสามารถของผู้เรียน อยู่ใน
ระดบั มากทีส่ ดุ และเป็นผแู้ นะนาชว่ ยเหลือผู้เรียนในเรื่องการเรียนอย่างสม่าเสมอ อยู่ในระดับมาก
ท่ีสุด และรายการที่มีค่าเฉล่ียต่าสุดคือเป็นผู้ที่วางแผนการเรียนร่วมกับผู้เรียนเพื่อพัฒนาความ
ตอ้ งการของผเู้ รยี น อย่ใู นระดับมาก

คุณลักษณะของครูด้านภาวะความเป็นผู้นา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเม่ือ
พิจารณาเป็นรายการ พบว่า รายการท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุดคือเป็นผู้ดารงตนเรียบง่าย ประหยัด
เหมาะสมกับอาชีพครู อยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมาคือเป็นผู้เห็นผู้เรียนมีความสาคัญ โดย
พิจารณาคุณค่าของผู้เรียนแต่ละคนด้วยเหตุผล อยู่ในระดับมาก, เป็นผู้บาเพ็ญตนเพื่อประโยชน์
ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน อยู่ในระดับมาก และเป็นผู้มีความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปัญหา
เฉพาะหนา้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมาก และรายการที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือเป็นผู้ยอมรับ
ในเหตผุ ล และเปน็ ผมู้ ีวิสยั ทัศนก์ ว้างไกล ทนั สมยั ทันเหตกุ ารณ์ อยู่ในระดับมาก

คุณลักษณะของครูด้านมนุษยสัมพันธ์ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเม่ือพิจารณา
เป็นรายการ พบวา่ รายการที่มคี ่าเฉล่ียสงู สดุ คือเป็นผูท้ ี่รว่ มงานกับบุคคลอ่ืนได้ดี และเป็นท่ียอมรับ
อยู่ในระดับมาก และเป็นผู้ที่ไม่เย่อหยิ่ง ไม่ถือตัว อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือเป็นผู้ที่มีความ
เคารพในสทิ ธิ ศักดิศ์ รี และหน้าทีข่ องผอู้ ่ืน อยใู่ นระดับมาก และรายการทมี่ คี า่ เฉล่ียต่าสุดคือเป็นผู้
มีอารมณ์ม่ันคง สขุ มุ อยใู่ นระดับมาก

คุณลักษณะของครูด้านบุคลิกภาพ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็น
รายการ พบว่า รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือเป็นผู้มีอารมณ์ขัน ร่าเริง แจ่มใส อยู่ในระดับมาก
และเปน็ ผู้แต่งกายสุภาพ เหมาะสม อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือเป็นผู้มีสุขภาพแข็งแรง อดทน
อยใู่ นระดบั มาก และเป็นผู้มีความกระตือรือร้น อยู่ในระดับมาก และรายการที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือ
เปน็ ผมู้ กี ิรยิ า วาจาสุภาพอ่อนโยน อยู่ในระดับมาก

5.4.2.2 คณุ ลกั ษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรยี น
คณุ ลกั ษณะของครูตามความคาดหวงั ของผ้เู รยี น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด
โดยสว่ นใหญ่มคี วามคิดเห็นว่าคุณลักษณะของครูที่เด่นชัด คือ ด้านวิชาการและการเรียนการสอน
ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านภาวะความเป็นผู้นา ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านบุคลิกภาพ
ตามลาดับ โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี
คณุ ลกั ษณะของครูดา้ นวชิ าการและการเรยี นการสอน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
ทส่ี ุด และเมือ่ พิจารณาเป็นรายการ พบว่า รายการท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุดคือเป็นผู้ที่เก็บรวบรวมข้อมูล
เพอ่ื นาไปปรับปรงุ แก้ไขในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในครั้งต่อไป อยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมา

170

คอื เปน็ ผู้ที่สร้างแรงจงู ใจให้ผูเ้ รยี นมคี วามต้องการในการเรยี นรู้ และเปน็ ผสู้ ่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วม
ในการประเมินผลการเรียน อยู่ในระดับมากท่ีสุด และรายการที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือเป็นผู้ท่ีค้นหา
ศกั ยภาพของผเู้ รยี นเพอ่ื ให้การสง่ เสรมิ สนับสนุน, เป็นผู้ท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความตั้งใจ มีกาลังใจใน
การศึกษาเล่าเรียน อยู่ในระดับมากท่ีสุด เป็นผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลของผู้เรียนเป็นรายบุคคลเพ่ือ
การพฒั นาความสามารถของผู้เรียน อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ

คุณลักษณะของครูด้านคุณธรรม จริยธรรม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
และเมอื่ พิจารณาเป็นรายการ พบวา่ รายการท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุดคอื เป็นผ้ทู ่มี ีความสามัคคีให้เกิดข้ึนใน
หมู่คณะ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือเป็นผู้ท่ีมีความตั้งใจอบรมส่ังสอนผู้เรียนด้วยความ
บริสทุ ธใ์ิ จ อยู่ในระดับมากที่สุด และรายการที่มีค่าเฉล่ยี ต่าสุดคือเป็นผู้ท่ีส่งเสริมพัฒนาการทางกาย
สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของผู้เรียน และเป็นผู้ท่ีไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็น
อามสิ สนิ จ้างจากผู้เรียน อยใู่ นระดบั มากที่สุด

คุณลักษณะของครูดา้ นภาวะความเป็นผู้นาในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ
เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายการ พบว่า รายการที่มีคา่ เฉล่ียสงู สุดคอื เป็นผ้มู คี วามเสียสละ อยู่ในระดับมาก
ทสี่ ดุ รองลงมาคือเป็นผูม้ คี วามสามารถในการตัดสินใจ แกป้ ญั หาเฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อยู่ในระดับมากท่ีสุด และรายการที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดคือเป็นผู้ที่ตรงต่อเวลา ประพฤติตนสม่าเสมอ
อยูใ่ นระดับมากท่สี ุด

คุณลักษณะของครูด้านมนุษยสัมพันธ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด และเม่ือ
พิจารณาเป็นรายการ พบวา่ รายการทมี่ คี า่ เฉล่ยี สงู สุดคือเปน็ ผู้ท่ีร่วมงานกบั บุคคลอื่นได้ดี และเป็น
ที่ยอมรับ อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือเป็นผู้มีความยุติธรรม ยอมรับฟังความคิดเห็นของ
ผู้เรยี น อย่ใู นระดบั มากทส่ี ดุ และรายการท่ีมีค่าเฉลีย่ ต่าสุดคือเปน็ ผูม้ ีความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ และเป็น
ผู้มีความสนใจบุคคลอื่นโดยศึกษาความต้องการและความแตกต่างของบุคคลอ่ืน อยู่ในระดับมาก
ที่สุด

คุณลักษณะของครูด้านบุคลิกภาพในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด และเมื่อ
พิจารณาเป็นรายการ พบว่า รายการท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุดคือเป็นผู้แต่งกายสุภาพ เหมาะสม อยู่ใน
ระดับมากท่สี ดุ รองลงมาคอื เปน็ ผู้มสี ุขภาพแขง็ แรง อดทน และเป็นผู้มีอารมณ์ขัน ร่าเริง แจ่มใส
อย่ใู นระดับมากทสี่ ุด และรายการทม่ี ีค่าเฉลย่ี ตา่ สดุ คอื เป็นผู้มกี ริ ยิ า วาจาสุภาพอ่อนโยน และเป็นผู้
ฝกึ ฝนค้นควา้ หาความรู้เพม่ิ เติมอยู่เสมอ อยใู่ นระดับมากท่ีสดุ

5.4.2.3 เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันจาแนกตามระดับการศึกษา
ของผเู้ รยี น

171

พบว่า คุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ตามระดับการศึกษาของผู้เรียน ใน
วทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย จังหวดั เลย แตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 พบว่า
นักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของ ครูปัจจุบันสูงกว่าความ
คดิ เหน็ ของนักศึกษาในระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู

5.4.2.4 เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังจาแนกตามระดับ
การศึกษาของผู้เรยี น

พบว่า คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน ตามระดับการศึกษา
ของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จงั หวดั เลย แตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ
.01 พบว่า นกั เรยี นในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของครูตามความ
คาดหวังสงู กว่าความคิดเห็นของนักศกึ ษาในระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชั้นสงู

5.4.2.5 เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันและตามความคาดหวังของ
ผ้เู รยี น

พบว่า คุณลักษณะของครูในปัจจุบันและตามความคาดหวังของผู้เรียน ใน
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 พบว่า
คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผเู้ รียนสงู กว่าคุณลักษณะของครูในปจั จุบัน

5.5 อภิปรายผลการวิจัย

ผลจากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลในการศึกษาคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียน
ในวทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย จังหวัดเลย ผู้วิจัยจะกล่าวถึงประเด็นสาคัญและอภิปรายผลจากข้อ
คน้ พบทไี่ ดจ้ ากการศึกษาวจิ ยั ดังน้ี

5.5.1 คุณลกั ษณะของครูในปัจจุบัน
ผลจากการศึกษาคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวัดเลย พบวา่ ผูเ้ รียนมคี วามคิดเหน็ วา่ ครูผสู้ อนมีคุณลักษณะในด้านคุณธรรม จริยธรรมสูงสุด
เช่น มีความสามคั คีในหมู่คณะ, เป็นผู้เกื้อกูลบุคคลอ่ืนในทางสร้างสรรค์ เป็นผู้มีความประพฤติใน
การเปน็ ผ้นู าในการอนุรักษ์พฒั นาภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย เป็นผู้ท่ีมีความตั้งใจอบรมส่ังสอน
ผู้เรียนด้วยความบริสุทธ์ิใจ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ นิคม ผดาวัลย์. 2549 : บทคัดย่อ ที่
พบว่า ผ้บู ริหาร ครู และประธานนกั เรยี น มคี วามคิดเห็นตอ่ คณุ ลกั ษณะของครูโดยรวมอยู่ในระดับ
มาก โดยเฉพาะคณุ ลกั ษณะทางดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ท่ีมีค่าสูงสุด ; สุภาณี สิมประวัติ. 2545 :

172

บทคัดย่อ ที่พบว่า คุณลักษณะของครูในยุคปฏิรูปการศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา สังกัด
กรุงเทพมหานคร สานกั งานเขตหลกั สี่ อยู่ในระดับมาก โดยคุณธรรม จริยธรรม เป็นอันดับแรก ;
เฉลียว บุรีภักดี และคณะ (2520 อ้างถึงใน พิมใจ ศิริวัฒน์, 2552) ได้สรุปผลการวิจัย ลักษณะ
ของครูท่ีดี 8 ด้าน โดยในด้านแรก คือ ด้านคุณธรรมและความประพฤติ มีความเที่ยงธรรม
ซอื่ สัตย์สจุ ริต ตรงตอ่ เวลา รับผิดชอบในหนา้ ท่กี ารงาน วางตนเหมาะสม และรู้จักประเมินผลและ
ปรบั ปรุงตนเอง

ส่วนในด้านอื่นๆ เช่น ด้านวิชาการและการเรียนการสอน ด้านภาวะความเป็นผู้นา
ด้านมนุษยสมั พันธ์ และด้านบุคลิกภาพ ผ้เู รยี นมคี วามคดิ เหน็ ในระดับรองลงไปตามลาดบั

5.5.2 ความคาดหวงั คณุ ลักษณะของครู
ผลจากการศึกษาคุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวัดเลย พบวา่ ผู้เรียนมีความคิดเหน็ ว่า ครผู สู้ อนมคี ุณลกั ษณะในดา้ นวิชาการและการเรียนการ
สอน โดยเฉพาะในเรอื่ งของการทตี่ ้องการให้ครผู สู้ อนเกบ็ รวบรวมข้อมลู เพื่อนาไปปรับปรุงแก้ไขใน
การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในคร้ังต่อไป, ต้องการให้ครูผู้สอนสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนมีความ
ต้องการในการเรียนรู้ และเป็นผู้ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน ซ่ึง
สอดคล้องกับงานวิจัยของ สุวัฒน์ งามย่ิง. 2547 : บทคัดย่อ ท่ีพบว่า ครู – อาจารย์วิทยาลัย
สารพัดช่าง สงั กัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 และภาคกลาง 5 มีคุณลักษณะท่ีดีในระดับ
มาก โดยเฉพาะด้านความรู้ และด้านการสอน ; ริเรืองรอง รัตนวิไลสกุล. 2545 : บทคัดย่อ ที่
พบว่า นักศึกษาและอาจารย์ มจธ. มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูที่จะทาให้นักศึกษา
เปน็ บณั ฑิตทพ่ี งึ ประสงคข์ องสงั คมได้ จะต้องเป็นผู้ที่มีความพร้อมในด้านวิชาการ ; ธีรศักด์ิ อัคร-
บวร. 2545 : บทคัดย่อ ได้สรุปลักษณะที่ดีของครูไว้ 3 ด้าน โดยในด้านแรก คือ ภูมิรู้ ลักษณะ
ของครูทดี่ ใี นด้านนี้ ได้แก่ คุณสมบัตสิ ่วนตวั ทเ่ี กี่ยวข้องกับความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการ
ที่จะสอน ตลอดจนการเป็นผู้ที่มีสติปัญญาดี เฉลียวฉลาด เชื่อม่ันในตนเอง มีความคิดสร้างสรรค์
รู้จักแสวงหาความรู้ใหม่ๆ เป็นต้น ภูมิรู้ท่ีสาคัญอีกประการหนึ่งของครู ได้แก่ การสอนดีและ
ปกครองดี สามารถอธิบายได้รวบรดั ชัดเจน สอนสนุก ทาเร่ืองที่ยากให้ง่ายได้ ควบคุมช้ันเรียนให้
อยู่ในระเบยี บวนิ ัย ; องอาจ พิจติ ร์. 2546 : บทคัดย่อ ได้ศึกษาเร่ือง คุณลักษณะของครูพลศึกษา
ที่เป็นจริงและท่ีพึงประสงค์ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนในโรงเรียนเขตพื้นที่การศึกษา
ปราจีนบุรี ปีการศึกษา 2546 พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาระดับโรงเรียนประถมศึกษา มีความ
คิดเห็นเกีย่ วกบั คุณลักษณะทเี่ ป็นจริงของครูพลศึกษา ด้านวิชาการ ด้านการสอน ด้านการวัดการ
ประเมินผล อยใู่ นระดบั สูง

173

ส่วนในด้านอ่ืนๆ เชน่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านภาวะความเป็นผู้นา ด้านมนุษย-
สมั พนั ธ์ และด้านบคุ ลิกภาพ ผู้เรียนมีความคิดเห็นในระดบั รองลงไปตามลาดบั

5.5.3 เปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปจั จบุ ันจาแนกตามระดบั การศกึ ษาของผูเ้ รียน
ผลจากการเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันจาแนกตามระดับการศึกษาของ
ผ้เู รียนในวิทยาลัยการอาชพี ดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย พบว่า คุณลักษณะของครูในปัจจุบัน ตามระดับ
การศึกษาของผเู้ รียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถติ ทิ รี่ ะดบั .01 พบวา่ นกั เรยี นในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของ
ครปู จั จุบันสงู กว่าความคิดเห็นของนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ซ่ึงสอดคล้องกับ
สมมติฐานท่ีกาหนดไว้ ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะว่าผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเป็นช่วงที่
ต้องการปรับตวั ในการเรียนร้จู ากระดับมัธยมเข้าสู่ระดับวิชาชีพ ท่ีต้องมีการฝึกปฏิบัติจริงตามสาขา
วิชาชีพท่ีตนศึกษา จึงมีความต้องการที่ให้ครูผู้สอนได้ดูแลอย่างใกล้ชิด ยังต้องการครูผู้สอนท่ีเป็น
ต้นแบบที่ดี ต้องการครูผู้สอนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อตอบสนองความต้องการของตน ซึ่ง
สอดคลอ้ งกับงานวจิ ยั ของ อุไรวรรณ จันทรสวัสด์ิ. 2552 : บทคัดย่อ ได้ศึกษาเร่ือง คุณลักษณะ
ของครูท่ีดีตามความคิดเห็นของผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาพาณิชยกรรมโรงเรียน
มิตรพลพณชิ ยการเขตคลองสานกรุงเทพมหานคร ผลการวิจยั พบว่าความคิดเห็นของผู้เรียนเก่ียวกับ
คุณลกั ษณะของครูท่ีดโี ดยคณุ ลกั ษณะของครูท่ีตรงกับความคิดเห็นของผู้เรียนมากที่สุดคือ ด้านการ
ใหบ้ ริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่ง
หน้าที่โดยมิชอบ โดยเฉพาะเรื่องท่ีครูทาหน้าท่ีการสอนอย่างเต็มความสามารถ รองลงมาคือด้าน
การประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีท้ังทางกาย วาจา ใจ ด้านการไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความ
เจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจอารมณ์ และสังคมของศิษย์ ด้านความรักความเมตตาเอาใจใส่
ช่วยเหลอื ให้กาลงั ใจ และดา้ นการสง่ เสริมใหเ้ กิดการเรยี นรู้ทักษะและนสิ ัยท่ีถกู ตอ้ งดีงาม
5.5.4 เปรยี บเทียบคุณลักษณะของครูตามความคาดหวงั จาแนกตามระดับการศกึ ษา
ของผู้เรียน
ผลจากการเปรียบเทยี บคุณลกั ษณะของครูตามความคาดหวังจาแนกตามระดับการศึกษา
ของผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย พบว่าคุณลักษณะของครูตามความคาดหวัง
ของผเู้ รียน ตามระดับการศกึ ษาของผู้เรียน ในวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย จังหวัดเลย แตกต่างกัน
อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .01 พบวา่ นักเรยี นในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพมีความคิดเห็น
ต่อคุณลักษณะของครูตามความคาดหวังสูงกว่าความคิดเห็นของนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตร
วิชาชพี ช้ันสูง ซง่ึ สอดคล้องกับสมมติฐานที่กาหนดไว้ ทั้งน้ีจะมีลักษณะคล้ายกับคุณลักษณะของครู

174

ในปัจจุบนั จาแนกตามระดับการศกึ ษาของผู้เรียน กล่าวคือ ผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
เป็นชว่ งทีต่ อ้ งการปรับตวั ในการเรยี นรู้จากระดับมัธยมเข้าสู่ระดับวิชาชีพ ท่ีต้องมีการฝึกปฏิบัติจริง
ตามสาขาวิชาชีพท่ีตนศึกษา จึงมีความต้องการท่ีให้ครูผู้สอนได้ดูแลอย่างใกล้ชิด ยังต้องการ
ครผู สู้ อนที่เปน็ ตน้ แบบทด่ี ี ตอ้ งการครผู สู้ อนทจ่ี ัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พอื่ ตอบสนองความต้องการของ
ตน ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ อุไรวรรณ จันทรสวัสดิ์. 2552 : บทคัดย่อ ได้ศึกษาเร่ือง
คณุ ลักษณะของครูทีด่ ีตามความคิดเห็นของผ้เู รยี นระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาพาณิชยกรรม
โรงเรยี นมติ รพลพณชิ ยการเขตคลองสานกรุงเทพมหานคร ผลการวิจยั พบว่าความคิดเห็นของผู้เรียน
เก่ียวกับคุณลักษณะของครูท่ีดีโดยคุณลักษณะของครูที่ตรงกับความคิดเห็นของผู้เรียนมากท่ีสุดคือ
ดา้ นการให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาคโดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้
ตาแหนง่ หน้าทโี่ ดยมิชอบ โดยเฉพาะเรื่องที่ครูทาหน้าที่การสอนอย่างเต็มความสามารถ รองลงมา
คือด้านการประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีทั้งทางกาย วาจา ใจ ด้านการไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์
ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจอารมณ์ และสังคมของศิษย์ ด้านความรักความเมตตา
เอาใจใสช่ ่วยเหลือให้กาลงั ใจ และดา้ นการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรทู้ ักษะและนสิ ัยทถี่ กู ตอ้ งดงี าม

5.5.5 เปรยี บเทยี บคุณลักษณะของครูในปจั จบุ ันและตามความคาดหวังของผูเ้ รยี น
ผลจากการเปรียบเทียบคุณลักษณะของครูในปัจจุบันจาแนกตามระดับการศึกษาของ
ผเู้ รยี นในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวดั เลย พบว่าคุณลกั ษณะของครูในปัจจุบันและตามความ
คาดหวังของผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิตทิ ีร่ ะดับ .01 พบว่า คุณลักษณะของครูตามความคาดหวังของผู้เรียนสูงกว่าคุณลักษณะของครู
ในปจั จุบนั ซึ่งสอดคลอ้ งกับสมมตฐิ านท่ีกาหนดไว้ อาจเป็นเพราะว่า ความคาดหวังของผู้เรียน คือ
ความรู้สึกความต้องการที่มีต่อครูผู้สอนท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบันไปจนถึงอนาคตข้างหน้า เป็นการ
คาดคะเนที่ต้องการให้ครูผู้สอนมีคุณลักษณะตามท่ีตนต้องการท่ีจะส่งผลต่อการเรียนรู้ของตนเอง
โดยใชป้ ระสบการณ์การเรียนรขู้ องตนเองเปน็ ตวั บ่งบอก ซึ่งต้องการให้ครูผู้สอนมีคุณลักษณะที่ดีข้ึน
ในทุกๆ ด้าน ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ สมชาย สันกลกิจ. 2545. ที่พบว่า นักเรียนมีความ
คาดหวังในคุณลักษณะของครูช่างอุตสาหกรรม ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา อยู่ในระดับมากทุก
ข้อ ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านความรู้ทักษะความชานาญ
กระบวนการถ่ายทอด ด้านความรู้ความเข้าใจแนวทางปฏิรูปการศึกษา ด้านเทคนิคการสอนเน้น
นักเรยี นเป็นสาคัญ ดา้ นบุคลกิ ภาพและความเป็นผ้นู า และด้านความปลอดภยั

175

5.6 ข้อเสนอแนะ

5.6.1 ข้อเสนอแนะท่ัวไป มีดงั นี้
5.6.1.1 ครูควรศึกษาผลการวิจัยน้ี เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนา

ตนเองให้มีคุณลกั ษณะตรงตามความคาดหวังของผู้เรยี น
5.6.1.2 ผลการวิจัยเป็นข้อมูลพื้นฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนมีความคิดเห็นต่อ

คุณลักษณะของครูทั้งโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีด้านคุณธรรมและจริยธรรมมีค่าเฉล่ียสูงสุด
ส่วนด้านบุคลิกภาพมีค่าเฉลี่ยต่าสุด ควรได้มีการเผยแพร่ให้ครูทราบ เพ่ือการวิพากษ์อันเป็น
จุดเริ่มต้นในการดาเนินการพัฒนาต่อไป

5.6.1.3 สถานศึกษาควรได้มีการนาแบบวัดคุณลักษณะของครู ไปสร้างเป็น
แบบประเมนิ พฤติกรรมของครูในดา้ นตา่ งๆ เพ่อื ให้เกดิ การพัฒนาต่อไป

5.6.1.4 ควรได้มีการกาหนดมาตรการร่วมกันในการพัฒนาคุณลักษณะของครู
ซ่งึ อาจจะประกอบไปด้วย ผบู้ ริหาร ครู ผเู้ รยี น ผปู้ กครอง เป็นต้น

5.6.1.5 คุณลักษณะของครูท่ีมี่ค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ด้านบุคลิกภาพ ควรได้ให้
ความสาคัญเปน็ อันดบั แรกในการพัฒนาครู

5.6.1.6 ควรได้มีการศึกษาคุณลักษณะของครู หรือการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก
กลมุ่ ประชากรอน่ื ๆ เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้มีส่วนได้เสียอ่ืนๆ กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
ครู

5.6.2 ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ มีดังนี้
5.6.2.1 การวิจัยครั้งนี้เป็นเพียงการวิจัยเชิงสารวจเบ้ืองต้น เพ่ือให้ได้

ผลการวิจยั ทจ่ี ะเปน็ ขอ้ มูลพืน้ ฐานสาหรบั การวิจยั ต่อไป
5.6.2.2 ควรมีการเก็บข้อมูลด้วยเคร่ืองมือแบบอ่ืนๆ เพ่ิมเติม เช่น การ

สมั ภาษณ์ การสังเกต หรอื การประชมุ กลุ่มย่อย เพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่เี ป็นจรงิ มากยิ่งข้ึน
5.6.2.3 ควรได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างต่อเน่ือง เพ่ือนาผลไปพัฒนา

ปรบั ปรงุ คณุ ลักษณะของครู
5.6.2.4 ควรได้มีการศึกษาในสถานศึกษาอื่นๆ เพื่อจะได้นาผลการวิจัยไป

ปรับปรุงและพฒั นาได้อยา่ งกวา้ งขวาง

บรรณานกุ รม

178

บรรณานกุ รม

กรมวชิ าการ. (2541). การสอนตามสภาพท่แี ท้จริง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพรา้ ว.
กรมวชิ าการ. (2546). การศึกษาสภาพการจดั การเรยี น การสอนภาษาอังกฤษทีม่ ุง่ เน้น

ทกั ษะการสอ่ื สารตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน. กรุงเทพฯ : กรมวชิ าการ.
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2545). สรปุ ผลการดาเนนิ งาน 2 ปีกับการปฏริ ปู การเรียนรขู้ อง

กระทรวงศกึ ษาธิการ. กองวิจัยทางการศกึ ษา. กรมวิชาการ.
กฤษฎาพร อาษาราช. (2555). คณุ ลักษณะของครูมืออาชพี ของโรงเรยี นในสังกตั สานักงาน

เขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาชลบุรี เขต 1. สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
กันดศิ ชลสินธุ์. (2545). การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบคณุ ลกั ษณะความเปน็ ครูของครูกลุ่ม
กรงุ ธนใต้ สงั กัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั
ศรีนครนิ ทรวิโรฒ.
จักรแก้ว นามเมอื ง. (2555). บคุ ลกิ ภาพของครแู ละลักษณะการสอนทดี่ ี. วารสาร
บัณฑิตศกึ ษานิทรรศน์ ฉบบั พเิ ศษ วิทยาเขตพะเยา.
จนั ทร์ตรี คาสอน. (2549). การเปรยี บเทยี บมนษุ ยสัมพันธใ์ นการทางานระหว่างพนักงานที่
ทางานเวลาปกตแิ ละพนักงานท่ที างานเป็นกะ. สารนิพนธส์ าขาวชิ าจติ วทิ ยา
อตุ สาหกรรมและองค์การภาควชิ ามนษุ ยศาสตร์บัณฑิตวิทยาลยั สถาบนั เทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนอื .
จิระศกั ดิ์ สงวนชีพ. (2547). ศกึ ษาการปฏิบัตติ นด้านคุณธรรมจริยธรรมสาหรับครู-อาจารย์
โรงเรียนมัธยมศกึ ษา สังกดั กรมสามญั ศกึ ษา จงั หวดั นครพนม. รายงาน
การศึกษาค้นควา้ อิสระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยสารคาม.
จฑุ า บรุ ีภกั ดี. (2547). มนุษย์สมั พันธส์ าหรับครู. กรงุ เทพมหานคร : สถาบนั ราชภฏั
สวนสุนันทา.
เฉลมิ ศกั ด์ิ นามเชยี งใต้. (2544). การรบั รองมาตรฐานการสอนของครู (การประกัน
คณุ ภาพคร)ู .
แหล่งท่มี า. http://www.thaiedresearch.org.result0/result.php?id=7186.
ชาตชิ าย พทิ กั ษธ์ นาคม. (2544). จติ วทิ ยาการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ : ภาควิชา
ปรยิ ัตธิ รรมและจรยิ ธรรม คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั จุฬาลงกรณร์ าชวิทยาลยั .

179

ทศิ นา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน : องคค์ วามรูเ้ พอ่ื การจดั กระบวนการเรียนรู้ทม่ี ี
ประสทิ ธิภาพ. (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 6). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์แหง่ มหาจุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.

ธญั ญาภรณ์ สมบรู ณ์. (2548). คุณลักษณะของครทู ด่ี ตี ามความคิดเห็นของนกั เรียนโรงเรยี น
เอกชนระดับประถมศึกษา เขตพนื้ ท่ีการศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 3. ปรญิ ญา
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี.

ธรี ศักดิ์ อัครบวร. (2542). ความเปน็ ครู. กรุงเทพมหานคร : ก.พลพิมพ์ (1996) จากดั .
ธรี ศักดิ์ อัครบวร. (2545). ความเป็นครู. กรุงเทพฯ : พมิ พ์ลกั ษณ์.
นฤมล บุลนมิ . (2544). การศกึ ษาคณุ ลกั ษณะและกระบวนการถา่ ยทอดของครไู ทยในอดีต

และปจั จุบนั . วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาครุศาสตรด์ ุษฎบี ัณฑติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิคม ผดาวัลย.์ (2549). การศกึ ษาคณุ ลักษณะของครยู คุ ปฏริ ปู การศกึ ษาในสถานศึกษาขน้ั

พ้นื ฐาน สังกัดสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาสรุ นิ ทร์. การบริหารการศกึ ษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ นิ ทร.์
นติ ยา สุวรรณศรี. (2545). หลักสูตรสูก่ ารเรียนรู้. คณะครศุ าสตร์ สถาบนั ราชภฏั อุตรดิตถ.์
บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจยั เบอ้ื งต้น. (พิมพค์ ร้งั ที่ 2). กรุงเทพฯ : สุวรี ิยสาสน์ .
บุดดี วฒุ ิเสลา. (2549). ปัจจัยคณุ ลักษณะของครผู สู้ อนวชิ าคณิตศาสตรต์ ามทศั นะของ
นกั เรียนท่ีมอี ทิ ธิพลตอ่ ผลสัมฤทธว์ิ ชิ าคณติ ศาสตร์ของนักเรียนช่วงชน้ั ที่ 3
โรงเรยี นอัสสมั ชัญธนบรุ ี. วทิ ยานพิ นธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวจิ ยั
การศึกษา) มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง.
ประภา ธานีรัตน์. (2552). บทบาทครใู นยุคปฏริ ูปการเรียนร.ู้ วารสารรามคาแหง ปีท่ี 24
ฉบบั ที่ 4 : 120 - 128.
ปราณี บุญชมุ่ . (2546). ครูภาษาไทยในยคุ ปฏริ ปู การเรียนร้.ู วารสารวิชาการ. ปีที่ 6
ฉบับที่ 7 (กรกฎาคม) : 15 - 24.
ปรีชา ทดแทน. (2553). คณุ ลักษณะของครทู ี่พึงประสงค/์ การรบั รขู้ องนกั เรยี นชนั้
ประกาศนียบตั รวิชาชีพ. สาขาการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา.
ปรีชา นิพนธ์พทิ ยา. (2544). ทางส่มู าตรฐานวิชาชพี ครู. ประชากรศกึ ษา, 52 (1), 29 - 34.
ปรียาพร วงศอ์ นตุ รโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ อื่ เสรมิ
กรงุ เทพ.
ผกา สตั ยธรรม. (2544). คณุ ธรรมของครู. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์พลอยเพลท.

180

พรรณทพิ ย์ ศริ ิวรรณบศุ ย์. (2547). ทฤษฎีจติ วิทยาพฒั นาการ. กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

พระครปู รชี าวชิรธรรม สวุ ชโิ ร (โลท่ อง). (2549). การศกึ ษาพฤตกิ รรมมนษุ ยสัมพันธ์ตามหลกั
พุทธธรรมของเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ตามทศั นะของพระภิกษุ สามเณร
และกรรมการวดั ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ ภาค 11. ครศุ าสตรมหาบัณฑิต
สาขาบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

พิมใจ ศิรวิ ัฒน์. (2552). สภาพและคณุ ลกั ษณะของครูผ้สู อนภาษาอังกฤษในระดบั การศึกษา
ขัน้ พนื้ ฐาน สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาตาก เขต 2. วิทยานิพนธ์
ปรญิ ญาครศุ าสตร์มหาบณั ฑิต สาขาหลกั สตู รและการสอน บณั ฑติ วิทยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ.์

มณทิรา จารุเพ็ง. (2551). ความรู้คูค่ ณุ ธรรมสาหรบั ครู. บทความวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

ยนต์ ช่มุ จิต. (2535). การพฒั นาครู. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ยนต์ ชุ่มจิต. (2544). การศึกษาและความเปน็ ครูไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์.
ยนต์ ชุ่มจิต. (2546). การศึกษาและความเปน็ ครูไทย. กรงุ เทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์.
ยนต์ ชุ่มจิต. (2553). ความเปน็ ครู. (พิมพ์ครง้ั ท่ี 5). กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส พร้ินต้งิ เฮา้ ส์.
ราชบัณฑติ ยสถาน. (2539). พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พทุ ธศักราช 2525.

(พิมพ์คร้ังท่ี 5). กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทศั น์.
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ :

นานมบี คุ ส์พบั ลเิ คชน่ั ส์.
ริเรืองรอง รตั นวไิ ลสกลุ . (2545). การศึกษาคุณลักษณะครพู งึ ประสงคข์ องนกั ศึกษาและ

อาจารย์มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี. วารสารวจิ ยั และพฒั นา
ปีที่ 5 ฉบับท่ี 2 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ .ี
ลญั ชนา สุดานิช. (2546). การศึกษาบุคลกิ ภาพของครูวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศกึ ษา
ตอนต้น สงั กดั กรมสามญั ศกึ ษา เขตการศึกษา 10. ปรญิ ญาการศกึ ษา
มหาบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
วรัทยา ธรรมกิตตภิ พ. (2548). แนวทางการจัดการเรยี นการสอนตามแนวทาง สาขางาน
การบญั ชี หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2545 (ปรับปรงุ
พทุ ธศักราช 2546). วทิ ยานพิ นธศ์ ลิ ปศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาอาชวี ศึกษา
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์

181

วิไล ตง้ั จิตสมคดิ . (2544). การศกึ ษาและความเป็นครูไทย. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์.
วิไลพร สุยอย. (2545). คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของครูสังคมศกึ ษา ตามทศั นะของ

ผปู้ กครองนกั เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น : กรณศี ึกษาอาเภอท่าล่ี จงั หวดั เลย.
วทิ ยานพิ นธ์ ศษ.ม. ขอนแกน่ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.
วีระพนั ธ์ สิทธิพงศ.์ (2550). ลกั ษณาการแห่งครอู าชีวศกึ ษา. คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม
สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล.
สถติ ย์ วงศ์สวรรค.์ (2544). การพัฒนาบุคลิกภาพ. (พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ : รวมสาส์น
(1977).
สมชาย สนั กลกิจ. (2545). คุณลักษณะของครูชา่ งอุตสาหกรรม ตามแนวทางปฏิรปู
การศึกษาตามความคาดหวังของนกั เรยี น ในสหวิทยาเขตอนิ ทนนท์ จงั หวัด
เชียงใหม.่ ศกึ ษาศาสตร์มหาบัณฑิต บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
สมหวงั ไชยศรฮี าด. (2547). มนษุ ยสัมพนั ธข์ องผ้บู ริหารโรงเรยี นสงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษาเลย เขต 1. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาการบรหิ าร
การศึกษา สานักงานบณั ฑติ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
สนั ติ บญุ ภริ มย์. (2552). การบริหารงานวิชาการ. (พิมพ์ครั้งท่ี 1). นนทบรุ ี : บริษทั บุ๊ค-
พอยทจ์ ากดั .
สาโรช เลย่ี มสกลุ . (2547). คณุ ลักษณะของครูพลศกึ ษาตามแนวปฎิรูปการศึกษาในทรรศนะ
ของผบู้ ริหารและครูพลศกึ ษา โรงเรยี นเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาพษิ ณุโลก. ปริญญา-
นพิ นธ์ กศ.ม. (พลศึกษา). กรงุ เทพฯ : บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทร-
วิโรฒ.
สานักงานเลขาธิการคุรุสภา, กองวิชาชพี คร.ู (2541). แบบแผนพฤตกิ รรมจรรยาบรรณครู
พ.ศ. 2539. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว.
สทุ ศั น์ สุวรรณโน. (2549). คุณลักษณะของครทู ีส่ ่งผลตอ่ คุณลกั ษณะของนักเรียนใน
โรงเรียนมธั ยมศกึ ษา สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษานครพนม เขต 1.
ปริญญาครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั
สกลนคร.
สุเทพ พงศ์ศรวี ัฒน.์ (2550). ภาวะความเปน็ ผ้นู า. กรงุ เทพฯ : เอกซเปอรเ์ น็ท.
สนุ ทร โคตรบรรเทา. (2551). ภาวะผ้นู าในองคก์ ารการศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร :
สานกั พมิ พ์ปญั ญาชน.

182

สุนีพร รัฐการววิ ัฒน์. (2549). ระดับการปฏบิ ัติตนเปน็ ครูท่ีดีตามคู่มือครู ครูดผี ู้พฒั นา
ทรัพยากรมนุษย์ของชาติ ของข้าราชการครูโรงเรียนท่เี ปิดสอนช่วงชั้นที่ 1 - 2
สังกัดสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามหาสารคาม เขต 2. ปริญญาครุศาสตรมหา-
บณั ฑติ สาขาบริหารการศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั
มหาสารคาม.

สภุ าณี สมิ ประวตั .ิ (2545). การศึกษาคุณลกั ษณะของครูในยุคการปฏริ ปู การศึกษา
โรงเรยี นประถมศกึ ษา สงั กัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเขตหลักสี่. ครุศาสตร-
มหาบณั ฑิต สาขาการบรหิ ารการศึกษา สถาบนั ราชภัฏพระนคร.

สวุ ฒั น์ งามยงิ่ . (2547). คุณลกั ษณะครูทดี่ ีของครู – อาจารย์วิทยาลัยสารพัดชา่ งสังกัด
สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคกลาง 1 และภาคกลาง 5. สารนพิ นธ์ กศ.ม. (การ
บริหารการศกึ ษา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ.

โสภติ แสนทวีสขุ . (2552). องคป์ ระกอบคณุ ลกั ษณะของครคู ุณภาพตามทศั นะของ
ผปู้ กครองนกั เรียนโรงเรยี นพลู เจรญิ วิทยาคม. ศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิต (การวิจยั
การศึกษา) มหาวิทยาลัยรามคาแหง.

องอาจ พจิ ติ ร์. (2546). คุณลักษณะของครูพลศึกษาทเ่ี ปน็ จรงิ และที่พึงประสงคต์ าม
ความคิดเห็นของผ้บู รหิ ารโรงเรยี นในโรงเรยี นเขตพื้นทก่ี ารศึกษาปราจีนบุรี
ปกี ารศึกษา 2546. ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ม. (พลศึกษา). กรุงเทพฯ : บณั ฑิต
วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.

อัญชลี สมใจ. (2549). การศกึ ษาความสมั พันธ์ระหว่างคณุ ลักษณะของครูผู้สอนกับ
พฤติกรรมการสอนของครใู นโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตบางกะปิ
กรงุ เทพมหานคร. ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ (การวดั และประเมินผลการศกึ ษา)
มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง.

อาภรณ์ ใจเท่ยี ง. (2546). หลกั การสอน. (พิมพค์ รัง้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
อไุ รวรรณ จนั ทรสวสั ดิ.์ (2552). คุณลักษณะของครูผูส้ อนทีด่ ีตามความคดิ เหน็ ของนกั เรยี น

ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพสาขาพาณิชยกรรม โรงเรียนมติ รพลพณิชยการ
เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร. ปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการ
บรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบุร.ี

183

สภุ าณี สมิ ประวตั ิ. (2545). การศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของครูในยคุ การปฏริ ูปการศึกษา
โรงเรียน

ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร สานักงานเขตหลักส่ี. ครุศาสตรม์ หาบณ
ฑิต

สาขาการบรหิ ารการศึกษา สถาบนั ราชภฏั พระนคร.
นคิ ม ผดาวลั ย์. (2549). การศกึ ษาคณุ ลกั ษณะของครูยุคปฏริ ูปการศกึ ษาในสถานศกึ ษาขั้น

พื้นฐาน สังกดั สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาสุรินทร์. การบริหารการศึกษา
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สรุ นิ ทร์.
รเิ รอื งรอง รัตนวิไลสกลุ . (2545). การศึกษาคุณลักษณะครูพึงประสงค์ของนกั ศึกษาและ
อาจารย์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี. วารวจิ ยั และพฒั นา ปีที่ 5 ฉบับท่ี 2
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบรุ .ี
สวุ ฒั น์ งามยิง่ . (2547). คุณลกั ษณะครูท่ีดีของครู – อาจารยว์ ทิ ยาลัยสารพดั ช่าง สังกัด
สถาบนั
การอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง 1 และภาคกลาง 5. สารนิพนธ.์ การบรหิ ารการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ
สมชาย สนั กลกจิ . (2545). คุณลกั ษณะของครูช่างอุตสาหกรรม ตามแนวทางปฏริ ปู
การศกึ ษา
ตามความคาดหวังของนกั เรยี น ในสหวิทยาเขตอนิ ทนนท์ จังหวัดเชียงใหม.่
ศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิต บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่

184

ยนต์ ชุ่มจิต. (2553). ความเป็นคร.ู โอ.เอส พรน้ิ ตงิ้ เฮ้าส์ กรงุ เทพมหานคร พมิ พค์ รั้งที่ 5
บดุ ดี วุฒิเสลา. (2549). ปจั จยั คุณลักษณะของครูผูส้ อนวชิ าคณติ ศาสตร์ตามทัศนะของ
นกั เรยี นท่มี อี ทิ ธิพลต่อผลสมั ฤทธิ์วชิ าคณิตศาสตรข์ องนักเรยี นชว่ งช้นั ท่ี 3 โรงเรียนอสั สมั ชัญ
ธนบรุ .ี วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวจิ ัยการศึกษา), มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง.
ยนต์ ชมุ่ จิต. (2553). ความเป็นคร.ู โอ.เอส พร้นิ ตง้ิ เฮ้าส์ กรงุ เทพมหานคร พิมพค์ ร้ังที่ 5

185

บดุ ดี วุฒิเสลา. (2549). ปจั จยั คุณลกั ษณะของครผู สู้ อนวิชาคณติ ศาสตร์ตามทัศนะของ
นักเรยี นที่มีอทิ ธิพลตอ่ ผลสมั ฤทธว์ิ ชิ าคณติ ศาสตรข์ องนักเรียนช่วงชน้ั ที่ 3 โรงเรียนอัสสมั ชญั
ธนบรุ .ี วิทยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต (การวจิ ัยการศึกษา), มหาวิทยาลยั รามคาแหง.

ยนต์ ชุ่มจติ . (2544). การศึกษาและความเปน็ ครูไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์.

บุดดี วุฒเิ สลา. (2549). ปจั จัยคุณลักษณะของครูผูส้ อนวิชาคณติ ศาสตร์ตามทัศนะของ
นกั เรียนทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อผลสัมฤทธ์ิวิชาคณิตศาสตรข์ องนกั เรียนช่วงช้นั ที่ 3 โรงเรียนอสั สัมชัญ
ธนบุรี. วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต (การวจิ ยั การศกึ ษา), มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง.

พมิ ใจ ศริ วิ ฒั น.์ (2552). สภาพและคณุ ลักษณะของครผู สู้ อนภาษาองั กฤษในระดบั การศึกษา
ขน้ั พ้ืนฐาน สังกัดสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาตาก เขต 2. วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญาครศุ าสตร์
มหาบณั ฑิต สาขาหลกั สตู รและการสอน : บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ.์

ยนต์ ช่มุ จติ . ความเปน็ ครู. พมิ พค์ ร้ังท่ี 5 กรงุ เทพ : โอ.เอส. พริน้ ติง้ เฮ้าส์. 2553

สนุ ีพร รัฐการววิ ฒั น์. (2549). ระดบั การปฏิบตั ิตนเป็นครทู ี่ดีตามคู่มือครู ครดู ีผ้พู ัฒนา
ทรพั ยากรมนษุ ย์ของชาติ ของขา้ ราชการครูโรงเรยี นท่ีเปิดสอนช่วงช้ันที่ 1-2 สงั กัดสานกั งานเขต
พนื้ ที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2. ปรญิ ญาครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา
บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม.

ปรยี าพร วงศอ์ นตุ รโรจน์. การบรหิ ารงานวชิ าการ. กรงุ เทพฯ : ศนู ยส์ ่อื เสรมิ กรงุ เทพ 2553

บุดดี วฒุ ิเสลา. (2549). ปัจจัยคณุ ลักษณะของครผู ้สู อนวชิ าคณิตศาสตร์ตามทัศนะของ
นักเรยี นทีม่ ีอิทธิพลตอ่ ผลสมั ฤทธิว์ ชิ าคณิตศาสตรข์ องนักเรยี นช่วงช้ันที่ 3 โรงเรียนอสั สัมชญั
ธนบรุ .ี ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต (การวจิ ยั การศึกษา). มหาวิทยาลยั รามคาแหง.

186

อุไรวรรณ จันทรสวสั ดิ์. (2552). คุณลักษณะของครูผู้สอนทด่ี ตี ามความคิดเห็นของนักเรียน
ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี สาขาพาณิชยกรรมโรงเรียนมติ รพลพณิชยการเขตคลองสาน
กรุงเทพมหานคร. ปริญญาครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลัย
ราชภัฏธนบรุ ี.

พมิ ใจ ศริ วิ ัฒน.์ (2552). สภาพและคุณลักษณะของครผู ู้สอนภาษาองั กฤษในระดับการศกึ ษา
ขนั้ พ้ืนฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาตาก เขต 2 ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขา
หลกั สตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถ์.

ภาคผนวก

184

ภาคผนวก ก
แบบสอบถามเพ่ือการวจิ ยั

185

แบบสอบถามเพอื่ การวิจัย
เรอื่ ง

คณุ ลักษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวงั ของผเู้ รียน วทิ ยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย
จงั หวัดเลย

---------------------------------------------------------------------

คาช้แี จง ในการตอบแบบสอบถาม
1. แบบสอบถามน้ีเป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษาวิจัย มวี ัตถุประสงค์เพือ่ ท่ีจะศกึ ษา

คุณลกั ษณะของครูผสู้ อนตามความคาดหวงั ของผู้เรียน ในวิทยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย จังหวดั
เลย เพือ่ นาผลการวิจัยไปใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลประกอบการตัดสินใจปรับปรุง พฒั นา กิจกรรมการเรียนการ
สอนในวิทยาลยั การอาชีพด่านซา้ ย จงั หวัดเลย

2. ขอ้ มลู ทไี่ ดร้ ับจากแบบสอบถามน้ี นาไปใช้เพ่อื การวิจัยเท่าน้ัน จะไม่มีผลใดๆ ต่อ
ผู้ตอบแบบสอบถามแต่ประการใด จึงขอให้ท่านตอบแบบสอบถามน้ีให้ครบทุกข้อคาถามตา ม
ความเปน็ จรงิ

3. แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 คุณลักษณะของครูผู้สอนตามความคาดหวังของผู้เรียน ในวิทยาลัย

การอาชีพดา่ นซ้าย จังหวัดเลย
4. ผู้ตอบแบบสอบถาม คือ นักเรียน นักศึกษา ทุกสาขาวิชา ทั้งระดับ ปวช. และ

ระดบั ปวส.
ผูว้ จิ ัยหวังเปน็ อย่างยง่ิ วา่ จะได้รับความร่วมมอื จากท่านเป็นอย่างดี จึงขอขอบคุณมา

ณ โอกาสนเี้ ป็นอยา่ งสูง

(นายมณู ดีตรุษ)
รองผอู้ านวยการวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย

ตอนที่ 1

186
สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
คาชีแ้ จง โปรดเขียนเคร่ืองหมาย  ลงใน ( ) หน้าขอ้ ความทต่ี รงกับความเปน็ จรงิ เกีย่ วกบั
ผตู้ อบแบบสอบถาม
1. ระดับการศึกษา
( ) ปวช.
( ) ปวส.
2. สาขาวิชา
( ) สาขาวชิ าเคร่ืองมือกลและซอ่ มบารุง
( ) สาขาวชิ าโลหะการ
( ) สาขาวชิ าไฟฟ้ากาลงั
( ) สาขาวิชาอเิ ล็กทรอนิกส์
( ) สาขาวิชาการบัญชี
( ) สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ
( ) สาขาวชิ าคหกรรม
( ) สาขาวชิ าเคร่อื งกล

ตอนท่ี 2

187

คณุ ลกั ษณะของครูผสู้ อนตามความคาดหวังของผเู้ รียน วทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย
จงั หวัดเลย

--------------------------------------------------

คาชแ้ี จง

ในฐานะที่ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย โปรดพิจารณาว่า

คณุ ลักษณะของครูผู้สอนต่อไปน้ีมากน้อยเพียงใด โปรดเขียนเคร่ืองหมาย  ลงในช่องที่ตรง

กบั ความเป็นจริง โดยมีเกณฑ์การพจิ ารณาดงั นี้

5 หมายถึง มีการปฏิบัต/ิ มีความคาดหวงั อยู่ในระดับมากที่สดุ

4 หมายถึง มีการปฏบิ ตั ิ/มคี วามคาดหวังอยใู่ นระดับมาก

3 หมายถึง มีการปฏบิ ตั ิ/มีความคาดหวังอยใู่ นระดับปานกลาง

2 หมายถงึ มกี ารปฏบิ ัติ/มีความคาดหวังอยู่ในระดับนอ้ ย

1 หมายถงึ มีการปฏิบัติ/มีความคาดหวังอย่ใู นระดับน้อยท่สี ดุ

ข้อที่ รายการ ระดบั คณุ ลักษณะของ ระดบั คณุ ลักษณะของ
ครูผูส้ อนปัจจุบนั ครูผ้สู อนตามความ

คาดหวัง

5432154321

ดา้ นบคุ ลกิ ภาพ

1 เปน็ ผู้มีสขุ ภาพแขง็ แรง อดทน

2 เป็นผู้มีระเบียบ วินัย

3 เป็นผมู้ สี ติ สามารถควบคุมอารมณ์ได้

4 เป็นผมู้ ีกริ ยิ า วาจาสุภาพอ่อนโยน

5 เปน็ ผู้มอี ารมณ์ขนั ร่าเรงิ แจ่มใส

6 เปน็ ผฝู้ ึกฝนคน้ คว้า หาความรู้เพม่ิ เติมอยู่

เสมอ

7 เปน็ ผู้มีความกระตือรอื รน้

8 เป็นผแู้ ต่งกายสุภาพ เหมาะสม

9 เปน็ ผู้มกี ริ ิยาทา่ ทางที่สุภาพ ถ่อมตน

10 เป็นผมู้ คี วามคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์

188

ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั คณุ ลกั ษณะของ ระดับคณุ ลกั ษณะของ
ครูผสู้ อนปัจจบุ ัน ครูผู้สอนตามความ
ด้านมนุษยสัมพันธ์
11 เป็นผู้มีอารมณ์มนั่ คง สุขุม 54321 คาดหวัง
12 เปน็ ผมู้ คี วามเปน็ กนั เอง มคี วามใกล้ชดิ 54321

กับผูเ้ รียน
13 เปน็ ผู้มีความเออ้ื เฟื้อเผอ่ื แผ่
14 เปน็ ผทู้ ไ่ี ม่เยอ่ หยง่ิ ไมถ่ อื ตัว
15 เป็นผมู้ ีความสนใจบุคคลอ่นื โดยศึกษา

ความตอ้ งการและความแตกตา่ งของ
บคุ คลอืน่
16 เป็นผทู้ ่แี สดงความช่ืนชมบคุ คลอน่ื ดว้ ย
ความจริงใจ
17 เป็นผูท้ ่ีร่วมงานกับบคุ คลอนื่ ไดด้ ี และ
เป็นทยี่ อมรบั
18 เป็นผ้ทู ป่ี รบั ตัวเขา้ กับสงั คม สิง่ แวดล้อม
และบุคคลอน่ื ได้ง่าย
19 เป็นผู้ทีม่ คี วามเคารพในสิทธิ ศักดิ์ศรี
และหนา้ ทีข่ องผูอ้ ื่น
20 เปน็ ผู้มคี วามยุติธรรม ยอมรบั ฟังความ
คดิ เห็นของผู้เรียน
ดา้ นภาวะความเป็นผู้นา
21 เป็นผู้มีความรับผิดชอบ
22 เป็นผมู้ ีความเปน็ ประชาธิปไตย
23 เป็นผมู้ คี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ
แก้ปญั หาเฉพาะหน้าไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
24 เปน็ ผยู้ อมรับในเหตุผล

189

ขอ้ ท่ี รายการ ระดบั คุณลกั ษณะของ ระดบั คณุ ลักษณะของ
ครูผู้สอนปัจจุบนั ครูผสู้ อนตามความ

คาดหวัง

5432154321

25 เป็นผมู้ ีวิสัยทัศน์กวา้ งไกล ทนั สมยั ทนั

เหตุการณ์

26 เปน็ ผมู้ ีความเสยี สละ

27 เปน็ ผู้ดารงตนเรยี บง่าย ประหยดั

เหมาะสมกับอาชพี ครู

28 เปน็ ผทู้ ่ีตรงต่อเวลา ประพฤติตน

สม่าเสมอ

29 เปน็ ผเู้ ห็นผู้เรยี นมีความสาคญั โดย

พจิ ารณาคุณค่าของผเู้ รียนแต่ละคนด้วย

เหตผุ ล

30 เป็นผ้บู าเพญ็ ตนเพ่อื ประโยชนส์ ว่ นรวม

มากกวา่ ส่วนตน

ด้านวิชาการและการเรียนการสอน

31 เปน็ ผู้ศกึ ษารวบรวมข้อมูลของผู้เรยี นเป็น

รายบคุ คลเพื่อการพฒั นาความสามารถ

ของผู้เรยี น

32 เปน็ ผทู้ ี่คน้ หาศักยภาพของผ้เู รียนเพอื่ ให้

การสง่ เสรมิ สนับสนนุ

33 เป็นผู้ทส่ี รา้ งแรงจงู ใจให้ผูเ้ รียนมคี วาม

ต้องการในการเรยี นรู้

34 เป็นผทู้ ว่ี างแผนการเรยี นร่วมกบั ผเู้ รยี น

เพ่อื พฒั นาความต้องการของผูเ้ รียน

35 เป็นผู้แนะนาช่วยเหลือผู้เรียนในเร่ืองการ

เรยี นอยา่ งสม่าเสมอ

36 เป็นผ้สู รรหาและสนับสนุนสื่อ อปุ กรณ์

การเรยี น เพื่อใหผ้ ู้เรียนได้เกดิ การเรียนรู้


Click to View FlipBook Version