The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนารูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จ.เลย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2022-05-24 10:53:22

การพัฒนารูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จ.เลย

การพัฒนารูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จ.เลย

1 ช่ือเรือ่ ง การพฒั นารูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครูผูส้ อน วทิ ยาลยั การอาชีพ
ด่านซ้าย จังหวัดเลย

2 ช่อื ผวู้ ิจัย นายมณู ดตี รษุ

3 ความเป็นมาและความสาคัญของการวิจยั

การจัดการศึกษาของประเทศไทยในระยะท่ีผ่านมาน้ันยังมีข้อบกพร่อง ทั้งในด้านการบริหาร
จัดการ ด้านบุคลากร ด้านหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ ทาให้การศึกษาของประเทศไทยไม่มีคุณภาพ
เทา่ ทีค่ วร และเม่ือเปรียบเทียบกับต่างประเทศ พบว่า ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนไทยนนั้ นอกจาก
จะไม่เป็นท่ีน่าพอใจแล้วยังด้อยกว่าประเทศเพ่ือนบ้านมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี อีกท้ังหลักสูตรที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีข้อจากัดหลายประการ คือ การกาหนดหลักสูตรจาก
ส่วนกลางไมส่ ามารถท่ีจะสะท้อนสภาพความต้องการท่ีแท้จริงของสถานศึกษา ชุมชนและท้องถ่ินได้ การจัด
หลักสูตร และการเรียนรู้ด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ไม่สามารถท่ีจะผลักดันให้ประเทศ
ไทยเปน็ ผู้นาด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้ การนาหลักสูตรไปใช้ไม่สามารถสร้างพ้ืนฐาน
ความคิด สร้างวิธีการเรียนรู้ให้คนไทยมีทักษะในการจัดการและการดาเนินชีวิตให้สามารถเผชิญปัญหา
สังคมและเศรษฐกิจท่ีเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้ การจัดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศยังไม่สามารถทาให้
ผู้เรียนใช้ภาษาต่างประเทศในการติดต่อสื่อสารและการค้นคว้าหาความรู้ได้ จากปัญหาในด้านการจัด
การศึกษาดังกล่าว จาเป็นอย่างย่ิงที่สังคมไทยต้องหันมาทบทวนรูปแบบและแนวทางการจัดการศึกษาของ
ชาติ กล่าวคือ ทุกฝ่าย ท้ังครูผู้สอน ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ผู้เรียน ชุมชน และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัด
การศึกษาต้องหันมาให้ความสาคญั กับการจดั การศึกษาและร่วมมอื กนั ปฏริ ูปการศึกษาอยา่ งจรงิ จัง เพ่ือที่จะ
ทาใหก้ ารศกึ ษาเปน็ เคร่ืองมือในการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งของประเทศอย่างแทจ้ ริง

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่งเป็นกฎหมายแม่บทที่ใช้ในการปฏิรูป
การศึกษา และเป็นเคร่ืองมือกากับช้ีนาแนวทางการจัดการศึกษาของประเทศไทย ได้กาหนดให้การศึกษา
เป็นกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม ทุกหมวดในพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ จะมุ่งประโยชน์สูงสุดให้เกิดข้ึนแก่ผู้เรียนทั้งส้ิน โดยเฉพาะหมวด 4 ท่ีเป็นบทบัญญัติ
เกี่ยวกับแนวการจัดการศึกษา ในมาตรา 22 กล่าวว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมี
ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผเู้ รียนมคี วามสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตอ้ ง
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” ดังน้ันการจัดกระบวนการเรียนรู้ซึ่ง
เป็นส่วนที่สาคัญที่สุดของการปฏิรูปการศึกษาจะต้องจัดการศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยส่งเสริมให้
ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้
ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความถนัด ตามความสามารถ และลงมือปฏิบัติค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้
แหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย และเช่ือมโยงกับชีวิตจริงจนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง และมีการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามสภาพท่ีแท้จริง ท้ังนี้ผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญที่สุดท่ีจะผลักดันให้การ

2

ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ประสบผลสาเร็จคือ “ครูผู้สอน” ซึ่งครผู ู้สอนตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาจะ
สามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรูไ้ ด้หลากหลายและมีอิสระมากย่ิงขึ้น และในขณะเดียวกันจะต้องปรับเปล่ียน
บทบาทในการจัดการเรียนรู้จากเดิมครูผู้สอนที่เป็นผู้ช้ีนาหรือผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้ช่วยเหลือ ส่งเสริม
และสนับสนุนผู้เรียนให้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ท้ังยังต้องจัดเตรียมสถานการณ์การเรียนรู้ ส่ือการ
เรียนรู้ วัสดุอุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ ที่จะเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้รู้จักคิด วิเคราะห์ ร้จู ัก
แก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว มีคุณธรรม จริยธรรม รู้จักพึ่งตนเอง และสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิงต่อการพัฒนาการ
เรียนรู้ของผู้เรียน เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้อ่ืนๆ อีกมากมายด้วยตนเอง เป็นวิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีเรียน ผู้เรียนจะเรียนรู้มากกว่าเห็น เข้าใจมากกว่าทา ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดประการ
หน่ึง ความสาเร็จของการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญจะเกิดข้ึนหรือเป็นไปได้น้ันขน้ึ อยู่กับ
ครูผู้สอน ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ต้องปรับเปล่ียนพฤติกรรมการสอนแบบเดิมๆ โดยเปลี่ยน
บทบาทจากผู้ถ่ายทอดมาเป็นผู้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีต่างๆ อย่างลึกซ้ึง และมีการแลกเปล่ียน
เรียนรู้ ความคิด ประสบการณ์การสอน ความสัมพันธ์ของผู้สอนและผู้เรียนต้องอยู่ในลักษณะของการ
ยอมรบั นับถือซ่งึ กนั และกนั

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามยุทธศาสตร์การ
พฒั นางานสู่การปฏิรปู การศึกษาโดยการเรง่ พัฒนาการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ เน้นการ
นาหลักการไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมครบวงจร ประกอบด้วย การส่งเสริมการวิจัยในช้ันเรียน การวัดผล
ประเมินผลตามสภาพจริง การสนับสนุนให้ผู้เรียนจัดทาโครงงาน การจัดระบบข้อมูลช่วยเหลือผู้เรียน การพัฒนา
หลักสูตร การสนับสนุนให้ผู้เรียนเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน การสืบค้นภูมิปัญญาท้องถิ่น และการจัดการ
เรียนรู้แบบบูรณาการ ซึ่งในการนาแนวคิดการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญไปปฏิบัติอาจพบปัญหาและ
อุปสรรคท่อี าจเกิดข้นึ ได้ เชน่ ปัญหาจากครูผสู้ อน ได้แก่ ครผู ู้สอนเคยชินกบั วิธีสอนแบบเดิม ครผู ู้สอนร้สู กึ ว่าถูกลด
บทบาทและหมดอานาจในห้องเรยี น ครูผสู้ อนไม่ม่นั ใจในเทคนิค ทักษะ และวธิ ีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ของตนว่า
เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญเพียงใด ครูผู้สอนส่วนมากเห็นว่า การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญทาให้ผู้เรียนเรียน
ได้ช้า ไม่ทันใจ ไม่เหมาะสมที่จะใช้กับกลุ่มผู้เรียนท่ีมีระดับสติปัญญาหรือผลการเรียนต่า ปัญหาที่เกิดจาก
สถานศึกษา ได้แก่ การเตรียมการด้านต่างๆ ของสถานศึกษาไม่จริงจังต่อเนื่อง บุคลากรบางฝ่ายไม่เข้าใจแนวทาง
วิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จานวนผู้เรียนในแต่ละห้องเรียนมีมากเกินไป ปัญหาท่ีเกิดจากผู้เรียน
ได้แก่ ผู้เรียนส่วนมากขาดทักษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ การปฏิบัติ การอภิปราย วิพากษ์วิจารณ์อย่างมี
เหตุผล และการทางานเป็นกลุ่ม ผู้เรยี นเคยชินกับการรับความรู้มากกว่าปฏิบัติเพ่ือค้นหาความรู้เอง จะเห็นได้ว่า
การจัดการเรยี นร้ทู ่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญจะประสบผลสาเรจ็ ได้ขน้ึ อยู่กับปัจจัยหลายประการ การนาแนวคิด
น้ีสู่การปฏิบัติในช้ันเรียนและในสถานศึกษาจึงต้องกระทาอย่างเป็นขั้นตอน เป็นระบบอย่างชัดเจน เพ่ือให้

3
เกิดผลในการปฏิบัติอย่างจริงจังให้การเรียนรู้ประสบผลสาเร็จ มีความชัดเจนในหลักการ วิธีการ เทคนิค
และทักษะต่างๆ ในการจัดการทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ดังจะเห็นได้ว่า สานักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาได้ให้ความสาคัญในด้านการบริหารจัดการให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือให้ครูซึ่งเป็น
บุคลากรทีส่ าคญั ทส่ี ดุ ในการนาแนวคิดไปจดั การเรียนรใู้ หผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ไดส้ าเร็จจรงิ

วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในฐานะท่ีเป็น
สถานศึกษาที่จัดการทางด้านวิชาชีพ มีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมีการดาเนินงาน ให้ครูผู้สอน และ
บุคลากร ได้มีการพัฒนาตนเองตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 โดยเฉพาะอย่างย่ิงการพัฒนาด้านการจดั กระบวนการเรียนรู้ ซ่งึ เป็น
หัวใจสาคัญในการปฏิรูปการศึกษา โดยการพัฒนาครูผู้สอนให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียน
เป็นสาคญั

ดังนั้น เพ่ือเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้มี
ประสิทธิภาพ และใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศของผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาในการเสริมสร้าง
สมรรถภาพของครูผู้สอนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะพัฒนา
พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จงั หวัดเลย ซ่ึงข้อมูลท่ีได้
จากการวิจัยจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีเก่ียวข้องต่อการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูผู้สอนซ่ึงเป็นผู้รับผิดชอบ
โดยตรง เพอ่ื ให้การจดั การเรียนรทู้ ี่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ เกิดประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลตอ่ ไป

4 คาถามการวจิ ยั

4.1 สภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย เป็น
อยา่ งไร

4.2 กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครูผ้สู อนทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ เป็นอย่างไร
4.3 ผลการตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเป็น
ประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีมากน้อย
เพียงใด
4.4 ผลการทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั เปน็ อยา่ งไร

5 วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย

5.1 เพื่อศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย จังหวัด
เลย

4
5.2 เพ่ือสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั
5.3 เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ี
เน้นผู้เรียนเป็นสาคญั
5.4 เพ่ือพัฒนารูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ

6 เอกสารและทฤษฎที เี่ กย่ี วข้อง

การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ผู้เรียนทุกคน สามารถเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองได้ ดังน้ันกระบวนการจัดการศึกษาตอ้ งสง่ เสริมให้ผู้เรียน ได้พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม
ศักยภาพ การจัดการศึกษาทั้งสามรูปแบบในหมวด 3 ต้องเน้นท้ังความรู้ คุณธรรม และ กระบวนการเรียนรู้
ในเร่ืองสาระความรู้ ให้บูรณาการความรู้และทักษะด้านต่างๆ ให้เหมาะสมกับแต่ละระดับการศึกษา ได้แก่
ด้านความรู้เก่ียวกับตนเองและความสัมพันธ์ระหวา่ งตนเองกับสังคม ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้าน
ศาสนา ศิลป วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ด้านภาษา โดยเฉพาะการ
ใช้ภาษาไทย ด้านคณิตศาสตร์ ด้านการประกอบอาชีพ และการดารงชีวิตอย่างมีความสุข ในเรื่องการจัด
กระบวนการเรียนรู้ให้จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน และ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งให้ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการเผชิญสถานการณ์และการ
ประยุกต์ความรู้มาใช้ป้องกันและแก้ปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง ผสมผสานสาระความรู้ด้าน
ต่างๆ อย่างสมดุล และปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทุกวิชา นอกจากนั้น ใน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ยังต้องส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้
การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ครูผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพรอ้ มกันจากสื่อการเรียนรู้
และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความ
ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน รวมท้ังส่งเสริมการดาเนินงาน และการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตทุก
รูปแบบ การประเมินผลผู้เรียน ให้สถานศึกษาพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การ
สังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การรว่ มกิจกรรม และการทดสอบ ส่วนการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อ ใหใ้ ช้
วิธีการท่ีหลากหลายและนาผลการประเมนิ ผู้เรยี นมาใช้ประกอบดว้ ย

การจัดกิจกรรมการเรียนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ และ
ความต้องการของผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีบทบาทหรือมีส่วนร่วมอย่างต่ืนตัว โดยเน้นให้ผู้เรียนสามารถคิดค้น
สร้าง และสรุปข้อความรู้ด้วยตนเอง และนาข้อความรู้นั้นไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการสร้างความรู้ใหม่และ
สิ่งประดิษฐ์ใหม่โดยผ่านกระบวนการคิดด้วยตนเอง เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมุ่งประโยชน์สูงสุดแก่
ผู้เรียน ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่

5
หลากหลาย ผู้เรียนสามารถนาวิธีการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในทุกข้ันตอนเพื่อพัฒนา
ผู้เรยี น โดยมีครผู ู้สอนคอยอานวยความสะดวกใหค้ าแนะนา และเอาใจใส่อยา่ งใกลช้ ดิ

การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเกิดขึ้นจากพื้นฐานความเชื่อท่ีว่า การจัดการศึกษามี
เป้าหมายสาคัญที่สุด คือ การจัดการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนแต่ละคนได้พัฒนาตนเองสูงสุด
ตามกาลังหรือศักยภาพของแต่ละคน แต่เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งด้านความต้องการ
ความสนใจ ความถนัด และยังมีทักษะพ้ืนฐานอันเป็นเคร่ืองมือสาคัญที่จะใช้ในการเรียนรู้ อันได้แก่
ความสามารถในการฟัง พดู อา่ น เขียน ความสามารถทางสมอง ระดับสติปัญญา และการแสดงผลของการ
เรียนรู้ออกมาในลักษณะท่ีต่างกัน จึงควรมีการจัดการที่เหมาะสมในลักษณะท่ีแตกต่างกัน ตามเหตุปัจจัย
ของผู้เรยี นแต่ละคน เพื่อทาให้ผู้เรียนมีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ คือ เปน็ คนดี คนเก่ง มีความสุข ครผู ู้สอน
ก็จาเปน็ ต้องทาความเขา้ ใจและศึกษาให้รู้ข้อมลู อันเป็นความแตกต่างของผู้เรยี นแต่ละคน และหาวิธีการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเต็มที่ เพื่อพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนนั้นให้
บรรลุถึงศักยภาพสูงสุดท่ีมีอยู่ คุณค่าของการเรียนรู้คือการได้นาส่ิงท่ีเรียนรู้มาน้ันไปปฏิบัติให้เกิดผลด้วย
ดังน้ันหลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จึงมีสาระท่ีสาคัญ 2 ประการคือ การจัดการ โดย
คานึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน และการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นาเอาส่ิงที่เรียนรู้ไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต
เพ่อื พฒั นาตนเองไปสศู่ ักยภาพสงู สดุ ทแ่ี ต่ละคนจะมีและเปน็ ได้

รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครูผู้สอน จาแนกได้ออกเป็น 4
กลุ่มรูปแบบ คือ 1) กลุ่มรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบพัฒนากระบวนการคิดและการจัดการ 2)
กลุ่มรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบใช้ประสบการณ์จริง 3) กลุ่มรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้
แบบบูรณาการ และ 4) กลุ่มรูปแบบการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้จากแหล่งวิทยาการ ซ่ึงแต่ละกลุ่ม
รูปแบบจะประกอบด้วยรูปแบบ และวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลายที่เหมาะสมกับลักษณะ
ของการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ใหแ้ กผ่ ้เู รยี น

พฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ให้สอดคล้องกับผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผู้เรียนได้พัฒนากระบวนการคิด
วเิ คราะห์ ศึกษาคน้ คว้า ทดลอง และแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองตามความถนดั ความสนใจ ด้วยวธิ ีการศึกษา
จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่ือมโยงกับชีวิตจริงทั้งในและนอกห้องเรียน มีการวัดผลประเมินผลตาม
สภาพจริง ทาให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ได้ตามมาตรฐานหลกั สูตรทก่ี าหนด

7 วธิ ดี าเนนิ การวจิ ัย

7.1 กลุ่มเป้าหมาย
7.1.1 ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียน ผู้ปกครองของผู้เรียน ในวิทยาลัย

การอาชพี ด่านซา้ ย จังหวดั เลย
7.1.2 กลมุ่ ตัวอย่าง/กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่

6

7.1.2.1 กล่มุ ตัวอย่างท่ีใชใ้ นการศกึ ษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครผู ูส้ อน โดย
แบบสอบถาม คือ ครผู สู้ อน ผูเ้ รียน จานวน 214 คน

7.1.2.2 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับสภาพการจัดการเรียนรู้
ในปจั จบุ ัน คือ ครูผู้สอน ผ้เู รียน ผู้บริหารสถานศึกษา ผูป้ กครอง

7.1.2.3 กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้วิเคราะห์ SWOT เกี่ยวกับทรัพยากรที่สนับสนุน
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพ
ดา่ นซา้ ย

7.1.2.4 กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในการตรวจสอบความเหมาะสม, ความ
เป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์ ของกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครผู ูส้ อนท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั จานวน 7 คน

7.1.2.5 กลุ่มเป้าหมายที่ทดลองใช้รปู แบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน
ของครูผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพ่ือแก้ไขปัญหา จานวน 3 รายวิชา ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา
2564

7.1.2.6 กลุ่มเป้าหมายที่ทดลองใช้รูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอน
ของครผู ู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คอื ครูผสู้ อนทุกคนๆ ละ 1 รายวชิ าที่จดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นวิทยาลัย
การอาชพี ด่านซา้ ย จังหวดั เลย ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

7.1.2.7 กลุ่มเป้าหมายท่ีประเมินกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ของวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จงั หวัดเลย

7.2 การพัฒนากระบวนการมี 4 ระยะ
ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพ

ดา่ นซา้ ย จงั หวัดเลย
ระยะท่ี 2 การสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนที่เน้น

ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั
ระยะท่ี 3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคลอ้ ง และความเป็น

ประโยชน์ ของกระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั
ระยะที่ 4 การทดลองใช้กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผ้สู อนที่เน้นผเู้ รียน

เป็นสาคญั

ในแต่ละระยะมีสาระสาคัญเก่ียวกับวิธีดาเนินการวิจัยและผลลัพท์ท่ีต้องการ แสดงใน
ภาพประกอบ ดงั ตอ่ ไปนี้

ข้ันตอนการวจิ ัย 7 ผลลัพท์
1 กระบวนการพัฒนา
วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู พฤติกรรมการสอน
ของครผู สู้ อนทเ่ี นน้
ระยะที่ 1 การศกึ ษาสภาพพฤตกิ รรมการสอนของครผู สู้ อน 1 วิเคราะหเ์ อกสารตา่ งๆ เก่ียวกบั การ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั
ในวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็
สาคญั 1 กระบวนการพัฒนา
ข้นั ท่ี 1 ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัย 2 ใชแ้ บบสอบถามสารวจพฤติกรรมการ พฤติกรรมการสอน
ขั้นท่ี 2 สอบถามสารวจพฤตกิ รรมการสอนของครูผสู้ อน สอนของครผู ้สู อนในวทิ ยาลยั การอาชีพ ของครผู สู้ อนทเ่ี นน้
ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย จงั หวดั เลย ด่านซ้าย จงั หวัดเลย ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
ขน้ั ท่ี 3 พหกุ รณศี กึ ษา 3 ตรวจสอบเอกสารการสอน, สังเกต
ขน้ั ที่ 4 ประชุมกลุ่มเพื่อวเิ คราะห์ SWOT การสอน, สัมภาษณ์ครผู ู้สอน ผเู้ รยี น 1 กระบวนการพฒั นา
ขน้ั ที่ 5 ประชุมหวั หน้าสาขาวชิ าเพอื่ สรปุ ผลการศกึ ษา ผบู้ ริหาร ผปู้ กครอง พฤติกรรมการสอน
สภาพพฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอน 4 ประชุมกลุ่มเพอื่ วเิ คราะห์ SWOT ของครผู สู้ อนทเ่ี นน้
ขน้ั ที่ 6 จดั ทากระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอนของ 5 ผลสรปุ จากการประชมุ ผู้เรียนเปน็ สาคญั
ครผู สู้ อนทเี่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั
1 สรุปผลการสนทนากลุม่ ผลการทดลองใช้
ระยะที่ 2 การสรา้ งรปู แบบกระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรม 2 การปรับปรงุ กระบวนการพัฒนา กระบวนการพฒั นา
การสอนของครผู สู้ อนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ของครผู สู้ อนที่ พฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนทเ่ี น้น พฤติกรรมการสอน
เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ผู้เรยี นเปน็ สาคญั ของครผู สู้ อนทเ่ี นน้
ผู้เรียนเปน็ สาคัญ
ขั้นท่ี 1 ประชุม สนทนากลุ่มกับหัวหน้าสาขาวิชาเพ่ือหา 1 ใช้แบบสอบถาม สอบถามในวงกว้าง กระบวนการพัฒนา
ฉนั ทามติ เกีย่ วกับความเหมาะสม, ความเปน็ ไป พฤติกรรมการสอน
ได้, ความสอดคล้อง และความเปน็ ข อ ง ค รู ผู้ ส อ น ที่ เ น้ น
ข้ันท่ี 2 สรุปผลและนาเสน อกระบวน การพัฒ น า ประโยชน์ ของกระบวนการพฒั นา ผู้เรียนเป็นสาคัญ
พฤตกิ รรมการสอนของครผู ู้สอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ พฤติกรรมการสอนของครูผสู้ อนท่ีเน้น
ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ
ระยะท่ี 3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเปน็ ไปได,้ 2 สรุปผลการประชมุ กลมุ่ เพอื่ หาฉนั ทา
ความสอดคลอ้ ง และความเปน็ ประโยชน์ ของ มติสอบถาม สอบถามในวงกวา้ ง
กระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอนของครผู สู้ อนทเี่ นน้ เกยี่ วกับความเหมาะสม, ความเป็นไป
ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ได้, ความสอดคล้อง และความเปน็
ประโยชน์ ของกระบวนการพฒั นา
ขัน้ ที่ 1 สอบถามในวงกวา้ งเกี่ยวกับความเหมาะสม, พฤตกิ รรมการสอนของครูผู้สอนทเ่ี น้น
ความเป็นไปได้, ความสอดคลอ้ ง และความเปน็ ประโยชน์ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ
ของกระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการสอนของครผู สู้ อนที่
เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั 1 ทดลองใชก้ ระบวนการพฒั นา
พฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้น
ขนั้ ที่ 2 จดั ประชมุ สัมมนากลมุ่ เพอื่ หาฉนั ทามตเิ ก่ยี วกบั ผู้เรียนเปน็ สาคัญทกุ สาขาวิชา ใน
ความเหมาะสม, ความเปน็ ไปได้, ความสอดคล้อง และ วทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย จงั หวัด
ความเปน็ ประโยชน์ ของกระบวนการพฒั นาพฤตกิ รรมการ เลย
สอนของครผู ูส้ อนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั 2 ตดิ ตามผลการทดลองใช้โดยใช้แบบ
ประเมนิ การสงั เกต การวเิ คราะห์
ระยะที่ 4 การทดลองใช้กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการ เอกสาร
สอนของครผู ูส้ อนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั
ขน้ั ที่ 1 ประเมินเพอื่ แกไ้ ขปญั หา
ขัน้ ท่ี 2 ทดลองใชก้ ระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผสู้ อนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ
ข้ันที่ 3 ติดตามผลการทดลองใช้กระบวนการพัฒนา
พฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ
ขน้ั ที่ 4 ปรับปรงุ กระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของ
ครูผ้สู อนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั

ภาพประกอบ วธิ ดี าเนินการวิจยั

8

8 ผลการวจิ ยั

8.1 การศึกษาสภาพพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย
จังหวดั เลย

ผู้วิจัยได้ดาเนินการศึกษาสภาพพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ในวิทยาลัย
การอาชีพด่านซ้าย จังหวัดเลย ด้วยเครื่องมือต่างๆ เช่น แบบสอบถามสารวจพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้
ของครผู ู้สอน แบบตรวจสอบเอกสารการสอน แบบสงั เกตการจัดการเรยี นรู้ แบบสมั ภาษณ์ และการประชุม
กลุ่มเพ่ือการวิเคราะห์ SWOT ซึ่งสรุปได้วา่ การจัดทาแผนการเรียนรู้ของครูผู้สอนไม่สอดคลอ้ งกับหลักสูตร
และความต้องการของผู้เรียนและบางส่วนไม่ได้นาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนขาดความสนใจในการมี
ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนขาดทักษะในการปฏิบัติงานเป็นกลุ่ม, การแลกเปล่ียนเรียนรู้,
สรุปองค์ความรู้ร่วมกัน, การคิดแก้ปัญหา และวางแผนแก้ปัญหา เครื่องมือการวัดผลประเมินผลไม่
สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์รายวชิ าและไม่มเี กณฑก์ ารประเมนิ ผลอย่างชัดเจน

8.2 การสร้างรูปแบบกระบวนการพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั

ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาเอกสารเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและจากการเก็บรวมข้อมูล กาหนดเป็นรูปแบบกระบวนการพฒั นาพฤติกรรม
การสอนของครูผู้สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ "การเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดย
กระบวนการกลุ่ม" ซ่ึงได้มีการประชุมเพื่อหาฉันทามติ แสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะต่อรูปแบบฯ
ผลการประชุมกลมุ่ ท่นี าเสนอมฉี ันทามติเหน็ ดว้ ยเป็นเอกฉันท์

8.3 การตรวจสอบความเหมาะสม, ความเป็นไปได้, ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์
ของกระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครผู ู้สอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั

โดยสอบถามในวงกว้างใช้แบบสอบถามเพ่ือตรวจสอบความเหมาะสม ความเป็นไปได้
ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบฯ ต่างเห็นว่ารูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้
ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม ที่ผู้วิจัยพัฒนาข้ึนมีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความสอดคล้อง
และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากท่ีสุด และจากผลการประชุมสนทนากลุ่มเกี่ยวกับความเหมาะสม
ความเป็นไปได้ ความเป็นประโยชน์ และความสอดคล้องของรูปแบบฯ โดยคณะกรรมการบริหาร
สถานศกึ ษา เพือ่ หาฉนั ทามติ พบวา่ มมี ตเิ ปน็ เอกฉนั ท์

8.4 การทดลองใช้กระบวนการพฒั นาพฤติกรรมการสอนของครูผู้สอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ
ผู้วิจัยได้นา รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม

ทดลองใช้ จานวน 3 รายวิชา คือ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประเภทวิชาพาณิชยกรรม และวิชาสามัญ ทา
การประเมินเพ่ือแกป้ ัญหาท่ีเกิดขึ้น และปรับปรุงรูปแบบฯ ให้สามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ได้อย่างแท้จริง และได้นาไปทดลองใช้ ซึ่งมอบหมายให้ครูผู้สอนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซ้ายทุกคนนาไป
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมกี ารตดิ ตามผลการทดลองใช้ด้วยวิธีการนเิ ทศ ติดตาม บันทกึ ผล ครผู ูส้ อนจดั ทา

9
วิจัยในชั้นเรียนเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ซ่ึงก็
เป็นผลทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนสูงข้ึน ผู้วิจัยได้พัฒนาปรับปรุงให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
เป็น "รูปแบบการเรยี นรู้ที่เน้นการปฏิบตั ิซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลมุ่ "

9 รปู แบบกระบวนการพัฒนาพฤตกิ รรมการสอนของครูผูส้ อนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
(รปู แบบการเรยี นรู้ท่เี น้นการปฏิบตั ซิ ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลมุ่ )

9.1 การนาเข้าสู่บทเรยี น/เสนอปัญหา/ประเด็น
เป็นข้ันตอนที่ครูผู้สอนเสนอปัญหา เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ แก่ผู้เรียน หรือให้ผู้เรียนมี

สว่ นร่วมในการกาหนดปัญหา ซง่ึ ต้องมคี วามสัมพันธก์ ับสาระการเรียนรู้ในบทเรียน เหตุการณ์หรือปัญหาท่ี
ครูผู้สอนเสนอต้องชัดเจน สามารถอธิบายได้ มีข้อมูลมายืนยันได้ แปลกใหม่ น่าฉงน ก่อให้เกิดความรู้
ประการสาคัญคือ ปรากฏการณ์ควรเป็นปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ และมีรายละเอียดต่างๆ และหากเป็น
ปรากฏการณ์ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงของผู้เรียนก็จะทาให้เกิดแรงกระตุ้นมากย่ิงขึ้น เพ่ือเป็นการกระตุ้นให้
ผู้เรียนสนใจและมองเห็นปัญหาต่างๆ สามารถกาหนดส่ิงท่ีเป็นปัญหาที่อยากรู้อยากเรยี นได้ และเกิดความ
สนใจใคร่รทู้ ี่จะค้นหาคาตอบ

9.2 ศึกษาวเิ คราะห์ กระตุ้นใหผ้ ูเ้ รียนคดิ แก้ปญั หาและวางแผนแก้ปัญหา
เป็นข้ันตอนท่ีผู้เรียนต้องทาความเข้าใจในปัญหา หรือเป็นการกาหนดสมมติฐานเพื่อ

นาไปสู่วิธีการวางแผนแก้ปัญหา ผู้เรียนอาจเสนอแนวคิด วธิ ีการหาคาตอบ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
ภายในกลุ่ม และกลุ่มอื่นๆ ครูผู้สอนอาจนาเสนอและเพิม่ เติมให้ชัดเจนก็ได้ เพ่ือนาไปสู่การกาหนดแนวทาง
ในการแกป้ ัญหาร่วมกัน

9.3 การเกบ็ ข้อมลู
เป็นขั้นตอนท่ีผู้เรียนได้เก็บข้อมูล ได้ค้นคว้าหาความรู้ ได้ลงมือปฏิบัติ ทดลอง เพื่อหา

คาตอบของคาถามหรือประเด็นท่ีกาหนดไว้ ซ่ึงการดาเนินการในข้ันนี้ผู้เรียนควรแบ่งหน้าที่ให้กับสมาชิก
ภายในกลุ่มให้ชัดเจน เพ่ือร่วมกันค้นหาคาตอบอย่างอิสระ ตรงตามสมมติฐานที่กาหนดข้ึน และครอบคลุม
มิติทุกดา้ นของสมมติฐาน และมีการจดบันทึกข้อมูล ครผู ู้สอนเปน็ ผสู้ ังเกตและอานวยความสะดวก

9.4 การวิเคราะหข์ ้อมูล/รวบรวมความรู้ เสนอผลการเรยี นรู้
เป็นขั้นตอนท่ีผู้เรียนพิจารณาการเก็บข้อมูลของกลุ่ม แลกเปล่ียนความรู้ ทาการอภิปราย

และสังเคราะห์ความรทู้ ่ีได้มาว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ ถูกต้องและเพียงพอท่ีจะนามาใช้เป็นคาตอบหรอื ไม่
หากข้อมูลที่ได้มายงั ไม่มีความเหมาะสมกลุ่มจะต้องช่วยกันวิเคราะห์ว่าต้องการข้อมูลอะไรเพิ่มเติมและแบ่ง
หน้าท่ีให้สมาชิกไปค้นหาข้อมูลเพ่ิมเติม ผู้เรียนกลุ่มย่อยส่งตัวแทนนาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรม ผู้เรียน
ร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ครูผู้สอนบูรณาการแนวคิดจากการนาเสนอของผู้เรียน อธิบาย
แนวคดิ ของผ้เู รยี นใหช้ ัดเจน สรปุ ประเดน็ และขยายแนวคิด

10
9.5 สรุปและประเมนิ คา่ คาตอบ

เป็นข้ันตอนที่ผู้เรยี นแต่ละกลุ่มสรุปผลงานของตนเองและประเมินผลงานของตนว่าข้อมูล
ทีค่ ้นคว้ามามีความเหมาะสมหรือไม่ มากน้อยเพียงใด ความรู้ได้มามีความลุ่มลึกและตอบคาถามหรือปัญหา
ท่กี าหนดไว้ตอนตน้ ได้เพียงพอหรือไม่ ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายข้อมูลท่ีได้มา ครูผสู้ อนและผู้เรียนร่วมกันสรุป
สาระสาคัญองค์ความรู้ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการนาความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ครูผู้สอนเสนอแนะ
การปฏิบตั ิงานของกลุม่ อธิบาย สรปุ ประเด็นและขยายแนวคิดของผู้เรยี นใหช้ ดั เจน

9.6 การปรบั ปรงุ การเรียนร้แู ละนาไปใช้
เปน็ ขั้นตอนพัฒนาทกั ษะรายกลุ่ม และทกั ษะรายบุคคลในการฝกึ การแก้ปญั หาด้วยตนเอง

และการแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นการแกป้ ญั หา

10 ขอ้ เสนอแนะ

10.1 ข้อเสนอแนะทว่ั ไป มดี งั นี้
10.1.1 ครูผู้สอนควรศึกษาผลการวิจยั น้ี เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาตนเอง

ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
10.1.2 ครูผู้สอนควรศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น

ผู้เรียนเป็นสาคัญในรูปแบบต่างๆ ให้ถ่องแท้ เพ่ือที่จะสามารถนามาประยุกต์ใช้กับรูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้น
การปฏิบตั ซิ ง่ึ ใชป้ ัญหาเปน็ ฐานโดยกระบวนการกลุม่

10.1.3 ครูผู้สอนควรใหค้ วามสาคัญในเรอื่ งการเตรยี มการสอน โดยเฉพาะการวิเคราะห์
ผู้เรียนร่วมกับการวิเคราะห์หลักสูตร และการจัดเตรียมสื่อการเรียนรู้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้

10.1.4 การให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ซง่ึ ถือวา่ สาคญั เพราะจะทาใหผ้ ูเ้ รียนมีความสนใจในการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง

10.1.5 การแสวงหาคาตอบตอ่ ประเดน็ คาถามตามขั้นตอนของรูปแบบการเรียนร้ทู ่ีเน้น
การปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม ควรให้ผู้เรียนมีอิสระ มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
ภายในกลุ่ม หรือระหวา่ งกลุ่ม

10.1.6 ครูผู้สอนควรได้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันถึงรูปแบบการ
เรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดการพัฒนา ปรับปรุงรูปแบบ
เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั สภาพของผเู้ รยี นมากยิ่งข้นึ

11
10.2 ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ มดี งั น้ี

10.2.1 สถานศึกษาควรให้การส่งเสริม สนับสนุนในการอบรม สัมมนา เพื่อพัฒนา
ปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติซึ่งใช้ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่ม เพื่อให้ครูผู้สอนมี
ความมนั่ ใจถึงการใชร้ ปู แบบฯ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

10.2.2 สถานศึกษาควรสนับสนุนให้มีการใช้รูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้
ปัญหาเป็นฐานโดยกระบวนการกลุ่มอย่างต่อเน่ือง และมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการนิเทศ
กระบวนการเรียนรู้ เพือ่ ให้มกี ารพฒั นาต่อไป

10.2.3 ควรได้มีการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติซ่ึงใช้ปัญหาเป็นฐาน
โดยกระบวนการกล่มุ ในสถานศกึ ษาอนื่ ๆ เพอ่ื จะไดน้ าผลการวจิ ยั ไปปรบั ปรุงและพัฒนาได้อยา่ งกวา้ งขวาง

11 เอกสารอ้างองิ

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักงาน. (2545). ตัวบ่งช้ีการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสาคัญที่สุด.
กรุงเทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ.

ทิศนา แขมมณี. (2542). การจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : โมเดลซิปปา
(cippa model). วารสารวิชาการ, 2(5), 3-30.

ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ.
(พิมพ์คร้งั ที่ 2). กรงุ เทพฯ : ดา่ นสทุ ธาการพมิ พ์.

ทิศนา แขมณี. (2546). 14 วิธีสอนสาหรับครูมืออาชีพ. พิมพ์ครั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.

ธรี ะ รุญเจรญิ . (2545). การบรหิ ารเพือ่ การปฏิรูปการเรียนร้.ู กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั เยลโล่การพมิ พ.์
นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์. (2545). การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ . กรุงเทพฯ :

สานักงานปฏิรูปการศึกษา.
นุชวนา เหลืองอังกูร. (2545). การจัดการเรียนการสอนตามแนวปฏิรูปการศึกษา. วารสารวิชาการ.

5(10) : 11; ตุลาคม.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจากัด 9119

เทคนคิ พร้ินตงิ้ .
ปรยี าพร วงศอ์ นตุ รโรจน์. (2546). การบรหิ ารงานวชิ าการ. (พมิ พค์ รัง้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ : พมิ พ์ด.ี
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แนวคิด วธิ ีและเทคนิคการสอน 2.

กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอรก์ รปุ๊ .
พิมพันธ์ เตชะคปุ ต์. (2548). การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ ศูนย์กลาง. กรงุ เทพฯ : เดอะมาสเตอรก์ รุ๊ป

แบเนจเมน็ ท์.

12

เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2548). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธ์ิ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่ง
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

วรภัทร์ ภู่เจริญ. (2546). การบริหารการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ . (พิมพ์ครั้งท่ี 5). กรุงเทพฯ
: ส.เอเซียเพลส.

วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). แผนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์แอล ที เพลส.

วัลลี สัตยาศัย. (2547). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักรูปแบบการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง.
กรงุ เทพฯ : เบรน็ เนท็ .

สมนึก นนทิจันทร์. (2545). การเรียนการสอน การวัดและประเมินผลจากสภาพจริงของผู้เรียนโดยใช้
แฟ้มสะสมงาน. (พิมพค์ ร้งั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.


Click to View FlipBook Version