The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padayanang, 2022-04-02 00:28:09

ความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปี

ความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปี

44

พัฒนาผ้เู รยี นอย่างสม่าเสมอ ต่อเนอ่ื ง

3 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นจัดได้อย่างมีคุณภาพเหมาะสมกับ

วยั นกั เรียน 3.92 0.70 มาก
มาก
4 โรงเรียนดาเนินการจัดกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนในช่วงเวลาท่ี มาก
ปานกลาง
เหมาะสม ทนั ตามกาหนด 3.86 0.71 มาก
มาก
5 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนท่ีวทิ ยาลัยฯ ดาเนนิ การ จัดได้
มาก
ครบถว้ นตรงกบั ความต้องการ 3.94 0.72 มาก
ปานกลาง
6 ผปู้ กครองมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นอย่าง มาก
มาก
เสมอภาค เท่าเทยี มกัน 3.19 0.63 มาก

7 ระบบการรายงานผลการจดั กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นมีความ

ต่อเน่อื ง 3.89 0.73

8 กระบวนการจัดกิจกรรมวชิ าการ ทาใหน้ ักเรียนได้รบั การ

พฒั นาทกั ษะ เต็มศักยภาพ อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกนั 3.93 0.70

9 กระบวนการจัดกิจกรรมคณุ ธรรม/ลูกเสือ ส่งเสริมให้

นกั เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมที่ดงี ามอยา่ ง

เหมาะสม 3.47 0.67

10 กระบวนการจัดกิจกรรมทศั นศกึ ษา ทาให้นกั เรยี นมี

ความรู้ เสรมิ สรา้ งประสบการณ์ อยา่ งเหมาะสม 4.06 0.72

11 กระบวนการจดั กจิ กรรมบรกิ ารสารสนเทศนักเรียนมี

ความรเู้ พมิ่ เตมิ ด้านคอมพิวเตอร์ อย่างเพยี งพอ เหมาะสม 3.12 0.65

12 นกั เรียนได้รบั ประโยชน์จากการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน

มคี วามเพยี งพอ เหมาะสม 3.95 0.76

13 ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปอี ย่าง

มีคุณภาพ 4.45 0.60

ค่าเฉล่ียรวม 3.81 0.40

จากตารางที่ 4.6 พบวา่ ผู้ปกครองนกั เรยี นในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย มีความพึง
พอใจตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมคี ุณภาพ ด้านการจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน โดยภาพรวม
อยใู่ นระดบั มาก (X = 3.81) เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ ผู้ปกครองมีความพงึ พอใจอยใู่ น
ระดบั มาก มีค่าเฉล่ยี อยู่ระหว่าง 3.86 – 4.45ยกเว้น ผู้ปกครองมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรม
พฒั นาผ้เู รียนอยา่ งเสมอภาค เท่าเทยี มกนั มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง (X = 3.19 )

45

กระบวนการจัดกิจกรรมคุณธรรม/ลกู เสอื สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี
งาม อยา่ งเหมาะสม อยู่ในระดับปานกลาง (X = 3.47 ) กระบวนการจัดกจิ กรรมบริการ
สารสนเทศ นักเรยี นมีความรเู้ พิม่ เติมดา้ นคอมพิวเตอร์ อย่างเพียงพอ เหมาะสม อยใู่ นระดับปาน
กลาง (X = 3.12 )

ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความพงึ พอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อนโยบาย
เรยี นฟรี 15 ปอี ยา่ งมีคณุ ภาพของวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย จาแนกตามอาชีพ
ระดบั การศึกษา และรายได้ของผู้ปกครอง

ตารางที่ 4.7 ผลการวเิ คราะห์เปรียบเทียบความพงึ พอใจของผูป้ กครองนักเรียนที่มตี ่อนโยบาย

เรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมีคุณภาพของวทิ ยาลัยการอาชพี ดา่ นซา้ ย จาแนกตามอาชีพ

ของผู้ปกครอง

รายการ แหล่งความ SS df MS F p

แปรปรวน

ระหว่างกลุม่ 2.48 2 1.24 7.91 0.00*

ภายในกลมุ่ 59.07 377 0.15

รวม 61.55 379

* มนี ยั สาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05

จากตารางที่ 4.7 พบวา่ ผูป้ กครองนกั เรยี นในวิทยาลยั การอาชีพด่านซ้ายที่มีอาชีพ
แตกต่างกัน มคี วามพงึ พอใจ ต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมคี ณุ ภาพ แตกตา่ งกนั อย่างมี
นยั สาคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .05

ผลการทดสอบความแตกต่างรายคู่ ความพงึ พอใจของผู้ปกครองนกั เรียนเพ่อื ทดสอบว่า
คา่ เฉล่ยี คใู่ ดท่แี ตกตา่ งกัน จงึ ทาการเปรียบเทียบรายคู่ โดยใชว้ ธิ กี ารทดสอบของแอลเอสดี
(LSD’s Method )

ผลการทดสอบ ปรากฎตามตาราง ดงั นี้

46

ตารางที่ 4.8 ผลการทดสอบความแตกตา่ งรายคู่ ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนท่ีมีตอ่

นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมีคุณภาพของวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซ้าย ดา้ นอาชีพ

ของผู้ปกครองกบั ความพึงพอใจต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมคี ุณภาพ

อาชีพ คา่ เฉลย่ี รบั ราชการ/ เกษตรกรรม/ คา้ ขายหรือ

พนกั งานของรัฐ รับจ้าง ประกอบธรุ กจิ

(3.69) (3.90) (3.73

รบั ราชการ/พนกั งานของรัฐ 3.69 -21* -04

เกษตรกรรม/รับจา้ ง 3.90 .17*

คา้ ขายหรอื ประกอบธรุ กจิ 3.73

* มนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ีระดบั .05

จากตารางที่ 4.8 พบวา่ ผปู้ กครองทีป่ ระกอบอาชีพรับราชการหรอื พนักงานของรฐั มี

ความพงึ พอใจ แตกตา่ งจากผ้ปู กครองทป่ี ระกอบอาชีพเกษตรกรรม/รบั จ้าง อยา่ งมีนัยสาคญั ทาง

สถิติท่ีระดบั .05 โดยผ้ปู กครองทป่ี ระกอบอาชพี เกษตรกรรม/รับจา้ ง มีความพงึ พอใจมากกวา่

ผู้ปกครองทปี่ ระกอบอาชพี รับราชการ/พนกั งานของรัฐ และผปู้ กครองที่ประกอบอาชพี

เกษตรกรรม/รับจา้ ง มคี วามพึงพอใจ แตกต่างจากผ้ปู กครองท่ปี ระกอบอาชีพคา้ ขายหรือ

ประกอบธุรกจิ สว่ นตัว อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิที่ระดบั .05 โดยผู้ปกครองทป่ี ระกอบอาชีพ

เกษตรกรรม/รับจ้าง มีความพงึ พอใจมากกว่า ผู้ปกครองทีป่ ระกอบอาชีพคา้ ขายหรือประกอบ

ธรุ กิจสว่ นตวั สว่ นค่าเฉลี่ยคู่อน่ื ไม่พบความแตกต่าง

ตารางที่ 4.9 ผลการวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบความพึงพอใจของผปู้ กครองนกั เรยี นที่มตี ่อนโยบาย

เรียนฟรี 15 ปี อยา่ งมีคณุ ภาพของวิทยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย จาแนกตามระดบั

การศกึ ษาของผู้ปกครอง

รายการ แหล่งความ SS df MS F p

แปรปรวน

ระหวา่ งกลมุ่ 2.81 3 0.93 6.00 0.00*

ภายในกลุ่ม 58.74 376 0.156

รวม 61.55 379

* มนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .05

47

จากตารางท่ี 4.9 พบวา่ ผ้ปู กครองนกั เรยี นในวิทยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย ทม่ี ีระดบั

การศึกษา แตกตา่ งกัน มคี วามพึงพอใจตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ุณภาพ แตกต่างกนั

อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดับ .05

ตารางท่ี 4.10 ผลการทดสอบความแตกตา่ งรายคู่ ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรยี นทีม่ ีต่อ

นโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพของวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย ดา้ นระดับ

การศกึ ษาของผู้ปกครองกับความพึงพอใจตอ่ นโยบายเรียนฟรี 15 ปี อยา่ งมี

คุณภาพ

ระดบั การศกึ ษา ค่าเฉลี่ย ระดบั ระดบั ระดบั สงู กวา่

ของผปู้ กครอง ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา ปริญญาตรี ปรญิ ญาตรี

(3.92) (3.83) (3.66) (3.51)

ระดับประถมศึกษา 3.92 .09* .26* .40*

ระดับมธั ยมศึกษา 3.83 .16* .31

ระดบั ปริญญาตรี 3.66 .14

สงู กว่าปริญญาตรี 3.51

* มีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05

จากตารางที่ 4.10 พบวา่ ผูป้ กครองที่มีระดับการศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา มีความพงึ
พอใจ แตกตา่ งจากผปู้ กครองที่มรี ะดับการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ระดบั ปริญญาตรี และสงู กวา่
ปริญญาตรี อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05 โดยผปู้ กครองทม่ี รี ะดบั การศึกษาระดบั
ประถมศกึ ษา มคี วามพึงพอใจมากกวา่ ผูป้ กครองทม่ี รี ะดบั การศึกษาระดับมัธยมศกึ ษา ระดบั
ปรญิ ญาตรี และระดับการศึกษาสูงกวา่ ปริญญาตรี ผู้ปกครองทม่ี รี ะดับการศกึ ษาระดับ
มธั ยมศกึ ษามคี วามพึงพอใจ แตกต่าง จากผปู้ กครองทีม่ รี ะดับการศึกษาระดับปริญญาตรี อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั .05 โดยผ้ปู กครองที่มีระดบั การศึกษาระดบั มัธยมศึกษามีความพึง
พอใจมากกวา่ ผปู้ กครองท่ีมรี ะดบั การศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี สว่ นค่าเฉล่ียคูอ่ นื่ ไมพ่ บความ
แตกตา่ ง

48

ตารางท่ี 4.11 ผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มตี อ่ นโยบาย

เรียนฟรี 15 ปี อย่างมคี ณุ ภาพของวิทยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย จาแนกตามรายได้

ของผู้ปกครอง

รายการ แหลง่ ความ SS df MS F p

แปรปรวน

ระหวา่ งกลุ่ม 4.08 3 1.36 8.89 0.00*

ภายในกลุ่ม 57.47 376 0.15

รวม 61.55 379

* มนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05

จากตารางท่ี 4.11 พบวา่ ผปู้ กครองนกั เรยี นในวทิ ยาลยั การอาชพี ด่านซา้ ย ทม่ี รี ายได้

แตกตา่ งกัน มคี วามพงึ พอใจต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ แตกตา่ งกัน อย่างมี

นัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .05

ตารางท่ี 4.12 ผลการทดสอบความแตกตา่ งรายคู่ ความพงึ พอใจของผปู้ กครองนกั เรียนทม่ี ีต่อ

นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ุณภาพวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย ดา้ นรายได้

ของผ้ปู กครองกับความพงึ พอใจ ตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ

รายได้/เงินเดอื น คา่ เฉล่ยี 1,000- 5,001- 10ล001- 15,000

ต่อเดือน 5,000 บาท 10,000 15,000 บาทขึ้นไป

(3.95) บาท บาท (3.59)

(3.78) (3.78)

1,000-5,000 บาท 3.95 .16* .17* .36*

5,001-10,000 บาท 3.78 .00 .19*

10,001-15,000 บาท 3.78 .19

15,000 บาทข้ึนไป 3.59

* มนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .05

จากตารางท่ี 4.12 พบว่า ผู้ปกครองทีม่ ีรายได้ 1,000-5,000 บาท ต่อเดือน มคี วามพึง
พอใจ แตกต่างจากผู้ปกครองท่ีมรี ายได้ 5,001-10,000 บาท รายได้ 10,001-15,000 บาท และ
รายได้ 15,000 บาท ขน้ึ ไป ตอ่ เดอื น อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ.05 โดยผู้ปกครองท่ีมี
รายได้ 1,000-5,000 บาท ตอ่ เดือน มีความพงึ พอใจมากกวา่ ผู้ปกครองทีม่ รี ายได้ 5,001-10,000
บาทตอ่ เดอื น ผ้ปู กครองทม่ี ีรายได้ 10,001-15,000 บาท ต่อเดอื น และ ผปู้ กครองทีม่ รี ายได้
15,000 บาท ขนึ้ ไปต่อเดอื น ส่วนผูป้ กครองท่มี ีรายได้ 5,001-10,000บาท ตอ่ เดือน มคี วามพึง

49

พอใจแตกต่างจาก ผปู้ กครองทม่ี ีรายได้ 15,000 บาท ข้นึ ไป ตอ่ เดือน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่
ระดับ.05 โดยผ้ปู กครองทมี่ รี ายได้ 5,001-10,00 บาท ตอ่ เดอื น มีความพึงพอใจมากกวา่
ผู้ปกครองท่ีมรี ายได้ 15,000 บาท ข้ึนไปต่อเดอื น ส่วนค่าเฉลย่ี คูอ่ นื่ ไม่พบความแตกต่าง

ตอนท่ี 4 ขอ้ เสนอแนะของผูป้ กครองนกั เรียนต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ุณภาพ ของ
วิทยาลัยการอาชพี ดา่ นซ้าย

ผู้วิจยั ไดร้ วบรวมวิเคราะห์ขอ้ มลู ปญั หาและขอ้ เสนอแนะตอ่ นโยบายเรียนฟรี 15 ปี อยา่ ง
มีคุณภาพ ของผู้ปกครองนกั เรียนในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย

1) ควรแจกจ่ายหนังสือเรยี นใหก้ ับนกั เรยี นเป็นสมบตั ขิ องตนเอง โดยไมต่ ้องเรียกเกบ็ คนื
นักเรียนสามารถจดบันทกึ ขีดเขียน และนาไปทบทวน อา่ นสอบเขา้ เรยี นตอ่ ได้

2) ควรแจกแบบฝกึ หดั ใหค้ รบทุกรายวิชา
3) ควรสารวจและจดั สรรเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ให้ครบถ้วน
4) ควรหาวธิ กี ารเก็บใบเสร็จรับเงนิ จากผปู้ กครองด้วยวิธกี ารใหม่ ท่ีงา่ ยและสะดวก
ยดื หยนุ่ มากกวา่ นี้
5) ควรจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนทห่ี ลากหลายกว่า 4 กจิ กรรมหลกั โดยยึดบริบทจุดเนน้
ของสถานศกึ ษาเป็นหลัก
6) ควรจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ให้กับนักเรยี นเพิ่มข้นึ และตอ่ เนอ่ื ง
7) ควรดาเนนิ การตามนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ุณภาพ ไปตลอด และตอ่ เนอื่ ง

บทท่ี 5
สรุปการวิจยั อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

การวจิ ยั เรื่อง ความพึงพอใจของผ้ปู กครองนักเรียนทม่ี ีต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมี
คุณภาพของวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย แบ่งการนาเสนอออกเปน็ 3 สว่ น คือ สรุปการวจิ ยั
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ซึง่ มสี าระสาคญั ดังตอ่ ไปนี้

1. สรุปการวจิ ยั

1.1 วัตถุประสงค์การวิจยั
1.1.1 เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนกั เรียนที่มตี อ่ นโยบายเรียนฟรี15

ปี อยา่ งมีคุณภาพของวิทยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย
1.1.2 เพื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองทม่ี ีตอ่ นโยบายเรยี น

ฟร1ี 5 ปี อยา่ งมีคุณภาพ จาแนกตามอาชพี ระดับการศกึ ษา และรายได้ของผปู้ กครองนักเรยี น
1.2 สมมตฐิ านการวิจยั
ผปู้ กครองนกั เรียนในวิทยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย ทม่ี ีอาชีพต่างกัน ระดบั

การศึกษาต่างกัน และรายได้ต่างกัน จะมคี วามพึงพอใจตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปอี ย่างมีคุณภาพ
แตกต่างกัน

1.3 วธิ ดี าเนนิ การวิจยั
1.3.1 ประชากร ประชากรที่ทาการวิจยั คอื ผูป้ กครองนกั เรยี นในวทิ ยาลยั การ

อาชีพด่านซา้ ยจานวน 450 คน
1.3.2 กลมุ่ ตัวอย่าง ทใ่ี ช้ในการวิจยั คอื ผ้ปู กครองนักเรียนในวิทยาลยั การ

อาชพี ดา่ นซา้ ย ซึง่ กาหนดขนาดกลุม่ ตัวอยา่ งโดยใชต้ าราง เครจซี่ และมอร์แกน ( Krejcie และ
Morgan 1970 : 607 ) ได้จานวน 222 คน และดาเนนิ การสุ่มแบบแบง่ ชน้ั ตามขนาดของ
สถานศึกษา ( stratified sampling )

1.4 เครื่องมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกย่ี วกับความพงึ พอใจของผู้ปกครอง
นักเรียนในวิทยาลัยการอาชพี ดา่ นซา้ ย ซงึ่ เปน็ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณคา่ 5 ระดับ และ
การสอบถามเกย่ี วกับปญั หา ข้อเสนอแนะต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ เป็น
แบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการโดยแบบสอบถามมคี ่าความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกบั
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ อยรู่ ะหว่าง 0.67-1.00 ได้ค่าความเท่ียงของแบบสอบถามท้งั ฉบับเทา่ กับ .89

51

1.4.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล สง่ แบบสอบถามจานวน 222 ฉบบั และได้
กลบั คนื มา 222 ฉบับ คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์

1.4.2 การวเิ คราะห์ข้อมูล ดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเรจ็ รูป
1.4.3 สถิติทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้แก่ ความถ่ี รอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ ค่า
เบยี่ งเบนมาตรฐาน วิเคราะหค์ วามแปรปรวน ทดสอบความแตกตา่ งรายคู่ ดว้ ยวธิ กี ารของแอลเอ
สดี (LSD’s Method )
1.5 สรุปผลการวจิ ัย
สรุปผลการวจิ ยั ดังนี้
1.5.1 ผู้ปกครองนกั เรยี นส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม/
รบั จ้าง ท่จี บการศึกษาระดบั ประถมศึกษา และมีรายไดอ้ ยู่ระหว่าง 1,000 – 5,000 บาท ตอ่
เดือน เป็นส่วนมาก
1.5.2 ความพงึ พอใจของผปู้ กครองนกั เรยี นที่มตี ่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปีอย่างมี
คุณภาพของวทิ ยาลยั การอาชีพดา่ นซ้าย โดยภาพรวมและรายดา้ นอยู่ ในระดบั มาก
1.5.3 ผปู้ กครองนกั เรียนในวิทยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย ท่มี ีอาชีพแตกต่างกัน มี
ความพึงพอใจ ต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ แตกตา่ งกัน อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ี่
ระดบั .05 เมอื่ เปรยี บเทยี บรายคู่ พบว่าผปู้ กครองท่ีประกอบอาชีพรับราชการหรือพนกั งานของ
รฐั มคี วามพงึ พอใจ แตกตา่ งจากผู้ปกครองท่ปี ระกอบอาชีพเกษตรกรรม/รับจ้าง อยา่ งมนี ยั สาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้ปกครองที่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม/รบั จ้าง มีความพึงพอใจ
มากกวา่ ผปู้ กครองท่ีประกอบอาชีพรบั ราชการ/พนกั งานของรัฐ และผู้ปกครองทปี่ ระกอบอาชีพ
เกษตรกรรม/รบั จา้ ง มคี วามพงึ พอใจ แตกตา่ งจากผ้ปู กครองที่ประกอบอาชพี ค้าขายหรือ
ประกอบธรุ กจิ ส่วนตวั อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่ีระดบั .05 โดยผู้ปกครองท่ีประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม/รับจ้าง มีความพงึ พอใจมากกว่าผ้ปู กครองท่ีประกอบอาชพี คา้ ขายหรือประกอบ
ธุรกจิ ส่วนตวั ซ่งึ สอดคล้องกบั สมมติฐานท่ีตง้ั ไว้
1.5.4 ผปู้ กครองนกั เรยี นในวิทยาลัยการอาชพี ด่านซา้ ย ท่ีมรี ะดับการศกึ ษา
แตกต่างกัน มคี วามพงึ พอใจ ตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมคี ณุ ภาพ แตกต่างกัน อยา่ งมี
นัยสาคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 เม่ือเปรียบเทยี บรายคู่ พบว่า ผปู้ กครองทม่ี รี ะดบั การศึกษาระดับ
ประถมศกึ ษา มีความพึงพอใจแตกต่างจากผู้ปกครองที่มรี ะดับการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษา ระดบั
ปรญิ ญาตรี และสงู กวา่ ปรญิ ญาตรี อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 โดยผู้ปกครองทีม่ ีระดบั
การศึกษาระดบั ประถมศึกษา มคี วามพงึ พอใจมากกวา่ ผู้ปกครองทีม่ รี ะดับการศกึ ษาระดับ
มธั ยมศกึ ษา ระดบั ปริญญาตรี และระดับการศกึ ษาสงู กว่าปรญิ ญาตรี ผูป้ กครองทีม่ ีระดบั
การศึกษาระดบั มัธยมศึกษามคี วามพึงพอใจแตกต่าง จากผู้ปกครองท่ีมีระดบั การศึกษาระดับ

52

ปริญญาตรี อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่ีระดบั .05 โดยผปู้ กครองทม่ี รี ะดับการศึกษาระดบั
มธั ยมศกึ ษามีความพงึ พอใจมากกวา่ ผู้ปกครองทีม่ รี ะดับการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี ซงึ่ สอดคล้อง
กบั สมมติฐานทีต่ ้ังไว้

1.5.5 ผูป้ กครองนกั เรียนในวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย ท่มี ีรายได้ แตกตา่ งกัน
มีความพึงพอใจ ตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมีคณุ ภาพ แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ
ทร่ี ะดบั .05 เมอื่ เปรียบเทยี บรายคู่ พบวา่ ผปู้ กครองทีม่ ีรายได้ 1,000-5,000 บาท ต่อเดือน มี
ความพึงพอใจ แตกต่างจากผปู้ กครองที่มรี ายได้ 5,001-10,000 บาท รายได้ 10,001-15,000
บาท และรายได้ 15,000 บาท ข้นึ ไป ต่อเดือน อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .05 โดย
ผู้ปกครองทม่ี รี ายได้ 1,000-5,000 บาท ต่อเดือน มีความพึงพอใจมากกว่าผู้ปกครองที่มรี ายได้
5,001-10,000 บาทตอ่ เดอื น ผู้ปกครองที่มีรายได้ 10,001-15,000 บาทตอ่ เดอื น และ ผปู้ กครอง
ท่ีมรี ายได้ 15,000 บาท ข้ึนไปตอ่ เดอื น ส่วนผ้ปู กครองทีม่ รี ายได้ 5,001-10,000บาท ตอ่ เดือน มี
ความพงึ พอใจแตกตา่ งจาก ผู้ปกครองทมี่ ีรายได้ 15,000 บาท ขึน้ ไป ต่อเดอื น อยา่ งมีนยั สาคัญ
ทางสถติ ิที่ระดบั .05 โดยผูป้ กครองที่มีรายได้ 5,001-10,00 บาท ต่อเดือน มีความพึงพอใจ
มากกวา่ ผูป้ กครองท่มี รี ายได้ 15,000 บาท ขึน้ ไป ตอ่ เดอื น ซ่งึ สอดคล้องกบั สมมติฐานที่ตง้ั ไว้

1.5.6 ขอ้ เสนอแนะต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ุณภาพ ของวทิ ยาลัยการ
อาชีพด่านซ้าย มดี งั ต่อไปน้ี

1) ควรแจกจา่ ยหนงั สือเรียนให้กับนักเรยี นเปน็ สมบตั ขิ องตนเอง โดยไมต่ อ้ ง
เรียกเกบ็ คนื นักเรยี นสามารถจดบนั ทกึ ขีดเขียน และนาไปทบทวน อา่ นสอบเข้าเรยี นตอ่ ได้

2) ควรแจกแบบฝกึ หดั ให้ครบทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้
3) ควรสารวจและจดั สรรเคร่อื งคอมพิวเตอร์ให้กบั โรงเรยี นที่ขาดแคลนก่อน
โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก และขนาดกลาง บางแหง่ ไม่สามารถจดั อบรม ICT ได้
4) ควรหาวธิ กี ารเกบ็ ใบเสร็จรับเงนิ จากผู้ปกครองด้วยวิธีการใหม่ ท่ีงา่ ย และ
สะดวกกว่าน้ี
5) ควรจดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นท่หี ลากหลายกวา่ 4 กจิ กรรมหลัก โดยยึด
บรบิ ท จุดเนน้ ของสถานศกึ ษาเป็นหลกั
6) ควรจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม ใหก้ บั นกั เรียนเพิ่มขึ้นและ
ต่อเน่อื ง
7) ควรดาเนนิ การตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อยา่ งมีคณุ ภาพ ไปตลอด และ
ตอ่ เนื่อง

53

2. อภิปรายผล

การวจิ ัยในครั้งมีประเด็นท่สี มควรนามาอภปิ รายผล ดงั ตอ่ ไปนี้
2.1 จากผลการวจิ ัยทีพ่ บ ผู้ปกครองนกั เรียนในวทิ ยาลยั การอาชีพด่านซ้าย มีความพึง
พอใจต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมคี ณุ ภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซงึ่ แสดงว่า
นโยบายเรียนฟรี ท่ีรัฐบาลสนับสนนุ จดั สรรรายการค่าหนังสอื เรียน อปุ กรณก์ ารเรยี น เคร่อื งแบบ
นกั เรยี น และการจดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ใหก้ ับผเู้ รียน ทาใหส้ ถานศกึ ษาสามารถจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ นักเรยี นมีความพรอ้ มทจ่ี ะเรยี น ผู้ปกครองไดร้ บั การ
บรรเทาภาระคา่ ครองชพี อนั เน่ืองมาจากการลดค่าใชจ้ ่ายในเรอ่ื งค่าจัดการเรียนการสอน และ
ผปู้ กครองสามารถนาเงนิ ส่วนนไี้ ปใช้ในชวี ิตประจาวันไดใ้ นเรื่องอน่ื ๆ ตลอดจนชุมชน ผปู้ กครอง
ไดม้ ีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา นอกจากนี้ ผูป้ กครองนักเรยี นมีความพงึ พอใจต่อนโยบายเรียน
ฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ อันเนื่องมาจาก นกั เรยี นมีความพร้อมทัง้ ด้านหนังสอื เรียน อุปกรณก์ าร
เรียน เครื่องแบบนกั เรียนและการจดั กจิ กรรมภาคปฏบิ ตั ติ า่ งๆ จากสภาพจริง เสริมการเรยี นรทู้ ัง้
นอกและในห้องเรียน จากกจิ กรรมวิชาการ กจิ กรรมทศั นศึกษา ตลอดจนนักเรยี นมคี ุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์ จากการจัดกจิ กรรมคุณธรรม/ลกู เสอื -เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด และทกั ษะการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพ่อื แสวงหาความรู้และการสือ่ สารอยา่ งสร้างสรรค์
2.2 จากผลการวิจยั พบว่า แม้ว่าผูป้ กครองนักเรียนในวิทยาลัยการอาชพี ดา่ นซา้ ย มี
ความพงึ พอใจตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ในด้านการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน
โดยภาพรวมอย่ใู นระดับมาก แต่เมอื่ พจิ ารณารายข้อ พบวา่ ผู้ปกครองมีความพึงพอใจระดบั ปาน
กลางเกีย่ วกบั การจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น อย่างเสมอภาค เทา่ เทยี มกัน กระบวนการจดั กิจกรรม
คุณธรรม /ลกู เสอื – เนตรนารี/ยวุ กาชาด ส่งเสริมให้นกั เรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มทีพ่ ึง
ประสงค์ อยา่ งเหมาะสม และ กระบวนการจัดกิจกรรมบริการสารสนเทศ นกั เรยี นมีความรู้
เพ่มิ เตมิ ดา้ นคอมพวิ เตอร์ อย่างเพียงพอ เหมาะสม อย่ใู นระดับปานกลาง อาจเปน็ เพราะวา่
กระบวนการจัดกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ในวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย มีการส่งเสริม สนบั สนนุ
ใหผ้ ปู้ กครองนักเรยี น เขา้ มามีสว่ นร่วมนอ้ ย เริ่มตั้งแตก่ ารแสดงความคิดเหน็ การกาหนดกจิ กรรม
พฒั นาผเู้ รียน การวางแผน การดาเนนิ การ ตลอดจนการควบคมุ กากับติดตามและประเมนิ ผล
การจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จนทาใหก้ ารจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นไมส่ นองหรอื สอดคลอ้ งกบั
ความต้องการของผปู้ กครอง ทงั้ น้อี าจเนือ่ งมาจากโรงเรยี นขาดการประชาสมั พนั ธ์ กระตนุ้ จูงใจ
ให้ผปู้ กครอง ผ้มู สี ่วนเก่ยี วข้องอยากเข้ามามีสว่ นรว่ ม หรอื อาจเปน็ เพราะวา่ เจา้ หน้าท่ี ครู
ผ้รู ับผดิ ชอบขาดการวางแผน การกาหนดเปา้ หมาย ท่ชี ัดเจนวา่ จะให้ผปู้ กครองเข้ามามีส่วนร่วม
เร่อื งใด และนอกจากน้ี ยงั พบวา่ สถานศกึ ษาไมม่ กี ารแต่งตั้งคณะกรรมการจากชมุ ชน ผ้ปู กครอง

54

เข้ามารว่ มดาเนินการจดั กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นกับคณะครู ซงึ่ ตามเจตนารมณ์ของนโยบายเรยี น
ฟรี 15 ปี มงุ่ ใหป้ ระชาชนมสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารและจัดการศกึ ษา ซงึ่ สอดคล้องกับ บทบญั ญตั ิ
ไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545
กล่าวถงึ การมสี ว่ นรว่ มไวใ้ นมาตรา 8 (2) ให้สังคมมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา ซ่งึ สอดคลอ้ งกับ
รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ.2550 มาตรา 58 ได้บัญญัตเิ รือ่ งการมสี ว่ นร่วมไว้ว่า
บคุ คลย่อมมีสทิ ธมิ ีสว่ นรว่ มในกระบวนการพิจารณาของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั พระราชบญั ญตั ิ
การศึกษาแหง่ ชาติ ได้ปฏิบตั ิตาม โดยเน้นให้สถานศึกษาท่ีจดั การศกึ ษาทุกระดบั ต้องเปิดโอกาส
ให้ประชาชน ชมุ ชน เข้ามามีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา ซึ่งส่งผลใหผ้ ปู้ กครองและชมุ ชน
สนบั สนนุ ทรัพยากรทางการศึกษา และให้ความร่วมมอื กับสถานศึกษาในการดาเนนิ
กิจกรรมตา่ งๆ ด้วยความเตม็ ใจ

กระบวนการจัดกจิ กรรมคณุ ธรรม /ลกู เสอื – เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด ส่งเสริมใหน้ กั เรยี นมี
คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มท่ีดีงาม อย่างเหมาะสม พบวา่ ผ้ปู กครองมีความพึงพอใจอย่ใู นระดับ
ปานกลาง อาจเป็นเพราะวา่ เร่ืองคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มท่ีพึงประสงค์ เป็นเรือ่ งทเี่ กย่ี วขอ้ ง
กับสภาพจิตใจ ท่สี ถานศกึ ษา พ่อแม่ ผู้ปกครองจาเปน็ ตอ้ งมีการปลูกฝงั กล่อมเกลามาตั้งแต่เดก็
ตลอดจนเปน็ เรื่องทต่ี ้องใช้เวลาในการอบรมบ่มนสิ ัยคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป และอาจจะตอ้ งใชเ้ วลาใน
ระยะยาวถึงจะเห็นผล ตลอดจนการจัดกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นอาจไม่สอดคล้องหรือสนองความ
ต้องการของผ้ปู กครอง ประกอบกบั การจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ไม่มีการสอดแทรกคุณธรรม
จริยธรรม ใหก้ ับนักเรยี นอย่างต่อเนื่อง เป็นการถาวร จัดเพยี งปี ละ 1 ครั้ง อาจไมเ่ พยี งพอกับ
ความตอ้ งการ นอกจากน้แี ลว้ ไมไ่ ด้ใหค้ วามสาคัญกับการจดั กิจกรรมส่งเสริมศีลธรรม คณุ ธรรม
จรยิ ธรรมคา่ นยิ ม และความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ขาดการประสานสัมพันธ์ความรว่ มมอื
ระหวา่ ง บ้าน วดั โรงเรยี น ซ่ึงเป็นร้วั ป้องกนั ไมใ่ หน้ ักเรียนหลงผดิ ช่วยปลกู จิตสานึกใหม้ ีความ
รบั ผดิ ชอบท้งั ตอ่ ตนเองและสงั คม ใหก้ บั นกั เรียน และไม่เอาจริงกบั การจดั กิจกรรมเยย่ี มบา้ น
นักเรียน เพอ่ื รับทราบขอ้ มูลนักเรียนรายบุคคลอย่างชัดเจน ไม่สามารถรู้จดุ อ่อน จดุ แขง็ ขอ้ จากัด
รวมถึงสญั ญาณอันตรายหรือขอ้ บง่ บอกท่จี าเป็นให้การดูแลพิทักษ์ ปกปอ้ ง คมุ้ ครอง ชว่ ยเหลือ
มาประกอบการคัดกรองนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ไดแ้ ก่กล่มุ ปกติ กลุม่ เสยี่ ง กลุ่มนักเรียนท่มี ปี ญั หา
โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่ยังขาดมาตรการ แนวทางการจดั การกบั ปัญหา
นกั เรียนกลมุ่ เสี่ยงและกลมุ่ ทมี่ ีปญั หา

สาหรับกระบวนการจัดกจิ กรรมบริการสารสนเทศ นกั เรยี นมคี วามรู้เพ่มิ เตมิ ดา้ น
คอมพวิ เตอร์ อยา่ งเพียงพอ เหมาะสม อยู่ในระดบั ปานกลาง อาจเปน็ เพราะวา่ มีเครื่อง
คอมพิวเตอรไ์ ม่เพียงพอ ตลอดจน เครือ่ งคอมพิวเตอร์มคี วามเก่าล้าสมัย ส่วนใหญผ่ ่านการใช้งาน
มาเปน็ เวลานาน ทาให้ระบบการทางานลา่ ช้า มปี ญั หาตามมา และนอกจากน้ีวทิ ยาลยั ฯ ยงั ขาด

55

งบประมาณสนับสนนุ เงินทนุ ในการซอ่ มบารงุ ดแู ลรกั ษา ตลอดจนสร้างระบบเครือข่าย
อนิ เตอร์เน็ตให้มคี วามเร็วสูง

2.3 จากผลการวจิ ัยพบว่า ผู้ปกครองนกั เรยี นในวทิ ยาลัยการอาชพี ด่านซ้าย ทมี่ ีอาชพี
แตกตา่ งกนั มีความพงึ พอใจตอ่ นโยบายเรียนฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ แตกต่างกัน โดย
ผู้ปกครองที่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม/รบั จา้ ง มคี วามพงึ พอใจมากกวา่ ผู้ปกครองที่ประกอบ
อาชพี คา้ ขาย/ประกอบธรุ กิจและอาชีพรับราชการ/พนกั งานของรฐั อาจเปน็ เพราะวา่ ผูป้ กครอง
ท่ีประกอบอาชพี เกษตรกรรม มีรายไดท้ ่ีไม่แนน่ อน หลักประกันที่ไมม่ ่ันคง เมอื่ ไดร้ บั การศกึ ษา
อย่างทว่ั ถึง เพียงพอ เหมาะสมและลดค่าใชจ้ ่ายก็พงึ พอใจแล้ว ประกอบกับอุปนสิ ัยของผปู้ กครอง
ทปี่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นพวกทีพ่ อเพียง เพราะอาชพี มีความเสี่ยงสงู ได้แคไ่ หนก็เอา ตา่ ง
กบั ผปู้ กครองทีป่ ระกอบอาชีพรบั ราชการ และผ้ปู กครองท่ปี ระกอบอาชพี ธุรกิจสว่ นตัว ทีเ่ นน้ และ
เห็นความสาคญั ของคุณภาพผู้เรียนมากกวา่ ถึงแมร้ ัฐบาลจะเก็บคา่ ใชจ้ ่ายจากการศกึ ษาเล่าเรยี น
ก็ตาม ทงั้ น้อี าจเหน็ ได้จาก ผู้ปกครองส่วนหน่งึ ที่ประกอบอาชพี รบั ราชการและผปู้ กครองท่ี
ประกอบอาชีพธรุ กิจสว่ นตวั ได้แจง้ ความจานงสละสิทธิ์ไมข่ อรับเงินตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี
อยา่ งมคี ุณภาพ บางรายการ ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นวา่ ผู้ปกครองทปี่ ระกอบอาชีพรบั ราชการและอาชีพ
ประกอบธรุ กจิ สว่ นตัว เงนิ คา่ การศกึ ษาเล่าเรียนฟรี ไม่ใช่เรื่องสาคญั แต่คณุ ภาพการศกึ ษา
ต่างหากท่สี าคญั กวา่ ซง่ึ สอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ ภมรศรี สิงหไ์ ฝแก้ว ( 2553 : บทคดั ยอ่ ) ซ่ึง
ไดท้ าการศกึ ษาความพงึ พอใจของผปู้ กครองที่มีต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมคี ุณภาพ สงั กัด
สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาตาก เขต 1 พบว่า ภาพรวมผู้ปกครองทม่ี อี าชพี ตา่ งกันมีความพงึ
พอใจในระดับมาก เมือ่ เปรยี บเทียบความพึงพอใจของผ้ปู กครองทม่ี ตี อ่ นโยบายเรียนฟรี 15 ปี
อยา่ งมคี ณุ ภาพ ท่รี ะดับการศึกษาตา่ งกัน มีความพึงพอใจแตกต่างกันอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ี่
.05 ส่วนผปู้ กครองทม่ี รี ะดบั การศึกษา แตกต่างกัน มคี วามพึงพอใจตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี
อย่างมคี ุณภาพ แตกต่างกนั น้ัน อาจเป็นเพราะว่า ผ้ปู กครองนักเรยี นทม่ี ีระดบั การศกึ ษาระดบั
ปริญญาตรีขึ้นไป จะมงุ่ เน้นและเหน็ ความสาคญั ของระบบการศกึ ษาที่ผา่ นมา ซง่ึ ไมจ่ าเป็นจะตอ้ ง
ฟรที ุกรายการ อาจจะเรยี กเก็บจากผปู้ กครองบา้ ง หรอื ใหผ้ ูป้ กครองจดั หามาใหก้ ับนกั เรยี นบ้าง
จะทาใหน้ ักเรียนเหน็ คณุ คา่ ประโยชน์การใชส้ อย เกิดความรกั ความหวงแหนในสงิ่ ของทีต่ นจัดหา
มาเอง เชน่ ค่าเครือ่ งแบบนักเรียน ค่าอปุ กรณก์ ารเรียน เป็นตน้ สว่ นคา่ หนงั สอื เรียน และการจดั
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนนน้ั ให้เป็นหน้าทรี่ บั ผดิ ชอบของโรงเรียนโดยการสนบั สนุนจากรฐั บาล
ประกอบกับในชว่ งเศรษฐกจิ ของประเทศไมค่ ่อยดี รฐั บาลตอ้ งไปยมื เงินจากตา่ งประเทศมาลงทุน
เพ่อื การศกึ ษาจึงสมควรท่ีจะลดภาระคา่ ใชจ้ ่ายของประเทศ เพือ่ นาเงินไปพัฒนาประเทศในส่วน
อื่น จึงทาใหผ้ ู้ปกครองท่มี รี ะดบั การศกึ ษาระดบั ประถมศึกษามคี วามพึงพอใจมากกวา่ ผปู้ กครองท่ี
มีระดบั การศึกษาระดบั มัธยมศึกษา ระดับปริญญาตรี และสงู กว่าปรญิ ญาตรขี ึ้นไป ตามลาดบั ซง่ึ

56

สอดคล้องกบั งานวิจยั ของ ณรงค์ แผว้ พลสง (2552 : บทคัดย่อ) ซึง่ ได้ทาการศกึ ษาเรอื่ ง ความพงึ
พอใจของผู้ปกครองนักเรยี นต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมคี ณุ ภาพ สานกั งานเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษาบรุ รี ัมย์ เขต 1 พบวา่ ผู้ปกครองทีม่ วี ฒุ ิทางการศกึ ษาตา่ งกันมคี วามพงึ พอใจตอ่ นโยบาย
เรียนฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก เมื่อทาการเปรียบเทียบผปู้ กครองที่
มวี ฒุ /ิ ระดับการศกึ ษาแตกตา่ งกัน พบวา่ ผู้ปกครองมคี วามพึงพอใจตอ่ นโยบายโดยภาพรวม
แตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05

สาหรบั ผู้ปกครองท่ีมรี ายไดแ้ ตกต่างกนั มีความพงึ พอใจต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ ง
มคี ุณภาพ แตกตา่ งกนั อาจเป็นเพราะวา่ ผปู้ กครองท่มี รี ายได้ต้ังแต่ 10,000 บาท ต่อเดือนขึน้ ไป
มคี วามพึงพอใจน้อยกวา่ ผ้ปู กครองที่มรี ายได้ต่ากว่า 10,000 บาท ตอ่ เดือน ลงมา ซง่ึ ส่วนหนง่ึ
อาจมาจาก ผู้ปกครองบางสว่ นเห็นวา่ คา่ การศึกษาเลา่ เรียนสาหรับลูก หลาน นกั เรยี น ไมไ่ ด้
สง่ ผลกระทบ หรือสร้างความเดอื ดร้อน กับคา่ ใช้จ่ายของผ้ปู กครองมากนัก นอกจากน้ี ผปู้ กครอง
นกั เรยี นยังคดิ ว่า การศึกษาคอื การลงทนุ ซึ่งเป็นการลงทนุ ท่ไี มห่ วงั ผลกาไร เป็นการลงทุนเพื่อ
พฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ให้มีความสมบรู ณท์ ้ังทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ สงั คมและสตปิ ัญญา ซ่ึงไม่
สามารถที่จะคิดเปน็ ตวั เงินหรือทรพั ย์สินได้ จงึ ยอมเสยี คา่ ใช้จ่ายในส่วนนี้ ซง่ึ ตา่ งกับผู้ปกครองท่มี ี
รายได้นอ้ ย ไมแ่ น่นอน จากการประกอบอาชพี ทางการเกษตร/รบั จ้าง ทมี่ รี ายได้สว่ นใหญม่ าจาก
การทาพชื ผลทางการเกษตร ซ่ึงหลังจากหมดฤดกู าลเก็บเกีย่ วผลผลติ กไ็ ม่มรี ายได้ จงึ ส่งผล
กระทบตอ่ การศกึ ษาเล่าเรยี นของนักเรยี น แต่เมื่อมนี โยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมคี ุณภาพท่ี
รฐั บาลใหก้ ารสนับสนนุ ค่าหนงั สือเรยี น คา่ อปุ กรณก์ ารเรียน ค่าเคร่ืองแบบนกั เรียน และค่าการ
จดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ทาใหน้ กั เรยี นลดการออกกลางคนั เพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษา นักเรียน
ได้เรียนตอ่ ในระดับสงู ขน้ึ ไป

3. ข้อเสนอแนะ

3.1 ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวจิ ัยไปใช้
ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยเรอ่ื ง ความพงึ พอใจของผูป้ กครองนักเรยี นท่ีมตี ่อ
นโยบายเรียนฟรี 15 ปี อยา่ งมีคุณภาพของวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย ไปใช้ มีดงั นี้

3.1.1 วทิ ยาลยั การอาชีพด่านซา้ ยควรมีการนิเทศ กากบั ติดตาม ประเมินผลการ
ดาเนนิ การตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ ทจ่ี ะส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพตาม
หลกั สูตรกาหนด อยา่ งต่อเนอ่ื ง

3.1.2 วิทยาลยั การอาชีพด่านซ้ายควรจัดใหม้ กี ารประชาสมั พนั ธ์ สร้างความเข้าใจ ถึง
แนวทางการปฏิบตั ิอย่างชัดเจน

57

3.1.3 วิทยาลยั การอาชีพด่านซ้ายควรมกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของ
นักเรยี น ควบคู่กบั การดาเนินการตามนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมีคุณภาพ

3.1.4 วทิ ยาลยั การอาชพี ด่านซ้ายควรมกี ารกาหนดแนวทาง ในการดาเนินการตาม
นโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมคี ุณภาพ โดยเปิดโอกาสให้ครู ผปู้ กครอง ชุมชน คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา และนกั เรยี น ได้มีส่วนรว่ มในการกาหนดกจิ กรรม อยา่ งแท้จรงิ

3.1.5 การจดั กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน โดยเฉพาะการบริการสารสนเทศ (ICT) วทิ ยาลัย
การอาชีพดา่ นซ้ายควรมกี ารสารวจเคร่อื งคอมพวิ เตอรก์ ่อน ตลอดจนควรมีการอบรมครู
ผ้รู บั ผดิ ชอบในการจัดการเรยี นการสอนด้านคอมพวิ เตอร์พรอ้ มกันไปด้วย

3.1.6 สถานศกึ ษาควรหาวิธีการ แนวทางจดั กิจกรรมเพ่ือปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม
ให้กบั ผ้เู รยี น

3.2 ข้อเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอ่ ไป
ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ มดี งั น้ี
3.2.1 ควรมกี ารศึกษาวิจยั เร่ืองความสมั พันธ์ของผลการดาเนนิ งานตามนโยบายเรยี น

ฟรี 15 ปี อย่างมีคณุ ภาพกับโอกาสทางการศกึ ษาของนกั เรียน
3.2.2 ควรมีการศึกษาวิจยั เรือ่ งการมีสว่ นรว่ มของผ้ปู กครองนกั เรียน ในการ

ดาเนนิ การตามนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ
3.2.3 ควรมีการศกึ ษาวิจยั บทบาทของผ้ปู กครองนักเรียนท่ีสง่ ผลตอ่ ความสาเร็จ ใน

การดาเนนิ งานตามนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมีคุณภาพ
3.2.4 ควรมีการศึกษาวิจยั เชงิ คุณภาพ ปัจจยั สง่ ผลที่ทาใหก้ ารดาเนนิ งานตามนโยบาย

เรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ุณภาพสง่ ผลต่อผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเพม่ิ ขึ้น

58

บรรณานกุ รม

59

บรรณานกุ รม

กาญจนา อรณุ สขุ รจุ ี (2546) ความพงึ พอใจของสมาชกิ สหกรณ์ตอ่ การดาเนินงานของ
สหกรณก์ ารเกษตรไชยปราการจากัด อาเภอชัยปราการ จังหวดั เชยี งใหม่
วทิ ยานิพนธ์ปริญญาวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะเกษตรศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่

กลุ นดา โชติมกุ ตะ (2538) ความพงึ พอใจของประชาชนต่อระบบและกระบวนการให้บริการ
ของกรุงเทพมหานคร ศกึ ษากรณีสานักงานเขตบางซอ่ื ภาคนพิ นธป์ รญิ ญา
บรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑิต คณะบรหิ ารธรุ กิจ สถาบนั บัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร์

คอทเลอร์, ฟิลลิป (2545) หลกั การตลาด แปลโดย วารณุ ี ตันติวงศ์วานิช กรุงเทพมหานคร เพยี ร์
สนั เอด็ ดูเคชัน่ อนิ โดไชนา่

จิตตนิ นั ท์ เดชะคปุ ต์ (2543) รปู แบบและระบบการจดั บริการสถานเลีย้ งดเู ด็กที่มคี ุณภาพใน
ประเทศไทย สถาบนั วิจัยประชากรและสังคม มหาวทิ ยาลยั มหิดล

จนิ ดาพร พนมศลิ ป์ (2545) ความต้องการคณุ ภาพบรกิ ารของศูนยส์ ขุ ภาพของลกู คา้ ในเขต
อาเภอเมอื งจงั หวดั อดุ รธานี วิทยานพิ นธ์ปริญญาบริหารธรุ กจิ มหาบัณฑติ คณะ
วทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฎภูเก็ต

ชรนิ ี เดชจนิ ดา (2535) ความพึงพอใจของผปู้ ระกอบการต่อศูนย์กาจดั กากอุตสาหกรรม
แขวงแสมดา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร วทิ ยานพิ นธป์ ริญญาสังคม
ศาสตรมหาบัณฑติ สาขาส่ิงแวดลอ้ ม บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหดิ ล

ณรงค์ แผ้วพลสง และคณะ (2552) ความพงึ พอใจของผู้ปกครองที่มีตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี
อยา่ งมคี ุณภาพ กลุ่มนโยบายและแผน สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1

ธีระ อัมพรพฤติ (2542) ความพึงพอใจของลกู คา้ ทม่ี ีต่อการให้บรกิ ารของห้างอัมพรดีพารท์
เมน้ ท์สโตร์ โครงการปริญญาโทสาหรับผูบ้ ริหาร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

บุญชม ศรีสะอาด (2552) การวิจัยเบื้องต้น พิมพค์ รั้งที่ 8 กรุงเทพมหานคร สุวีริยาสาส์น
การพิมพ์

ปญั ญา กาฬหว้า (2548) ความพึงพอใจของผปู้ กครองนักเรียนต่อการบริหารงานดา้ น
ความสมั พันธ์ระหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชนของโรงเรยี นเขมราฐพิทยาคม เขตพ้นื ท่ี
การศึกษาอุบลราชธานี เขต 2 วิทยานพิ นธป์ ริญญาครศุ าสตรมหาบัณฑติ
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฎั อบุ ลราชธานี

“พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545” (2545) ราชกิจจานเุ บกษาฉบับกฤษฎีกา เล่ม
116 ตอน 74 ก หนา้ 1-23

60

“พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญ วา่ ดว้ ยผู้ตรวจการแผ่นดินของรฐั สภา พ.ศ. 2542”
สานกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ ของรฐั สภา (2544) กรงุ เทพมหานคร

พทิ กั ษ์ ตรุษทิม (2538) “ความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ ระบบและกระบวนการใหบ้ รกิ ารของ
กรงุ เทพมหานคร ศึกษาเฉพาะกรณีสานักงานเขตยานนาวา” วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญา
บริหารธรุ กจิ มหาบณั ฑิต คณะบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์

ภมรศรี สงิ ห์ไฝแก้ว (2553) ความพงึ พอใจของผปู้ กครองนักเรยี นทีม่ ีตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปี
อย่างมคี ณุ ภาพ ผลงานทางวิชาการ สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาตาก เขต 1

มณวี รรณ ตน้ั ไทย (2533) พฤติกรรมการให้บริการของเจ้าหน้าท่คี วบคุมยา สานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยาต่อประชาชนผ้มู าติดตอ่ วทิ ยานิพนธป์ ริญญา
รัฐศาสตรมหาบัณฑติ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (2552) จิตวิทยาการใหบ้ รกิ าร มหาสารคาม ประสานการพมิ พ์
มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช (2535) ปจั จัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผูร้ บั บรกิ าร

นนทบรุ ี สานักพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
“รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550” (2550) กรงุ เทพมหานคร สานักพมิ พ์

คณะรฐั มนตรแี ละราชกจิ จานุเบกษา
ราชบณั ฑิตยสถาน (2546) พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พิมพ์ครัง้ ท่ี 4 กรุงเทพมหานคร

นานมีบุค๊ พับลิเคช่ัน
วัลลภ พรเรืองวงศ์ (2549) ความเป็นเลศิ ในงานบรกิ ารขององคก์ าร คน้ คนื วนั ท่ี 12 พฤษภาคม

2563 จาก http://gotoknow.org/blog/talk2u/33810
วชิ ยั เหลอื งธรรมชาติ (2531) ความพึงพอใจในการปรับตัวตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มใหม่ของประชากร

หมู่บา้ นอพยพโครงการเขอื่ นรัชประภาจงั หวดั สุราษฎรธ์ านี วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาโท
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
วริ ุฬ พรรณเทวี (2542) ความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ การให้บรกิ ารของหนว่ ยงาน
กระทรวงมหาดไทย ในอาเภอเมือง จังหวัดแมฮ่ ่องสอน วิทยานิพนธป์ รญิ ญาวิทยา
ศาสตรมหาบณั ฑิต คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่
วรี ะพงษ์ เฉลิมจิระรตั น์ (2539) คุณภาพในงานบรกิ าร พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2 กรงุ เทพมหานคร สมาคม
สง่ เสริมเทคโนโลยไี ทย – ญ่ีปนุ่
สภาลกั ษณ์ ชยั อนนั ต์ (2546) ความพงึ พอใจของเกษตรกรท่ีมตี อ่ โครงการสง่ เสริมการปลูก
มะเขอื เทศแบบมีสญั ญาผูกพนั ในจังหวัดลาปาง วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาวิทยาศาสตร
มหาบณั ฑติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
สมติ สัชฌุกร (2548) ศลิ ปะการให้บริการ กรงุ เทพมหานคร สายธารการพมิ พ์

61

สาโรช ไสยสมบตั ิ (2543) ความพงึ พอใจต่อการตัดสินใจทางานของครูอาจารยโ์ รงเรยี น
มัธยมศึกษา จงั หวดั ร้อยเอ็ด วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาการศึกษามหาบณั ฑติ คณะ
ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา (2552) ข้อเสนอ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ.
2552-2561) กรุงเทพมหานคร พรกิ หวานกราฟฟคิ

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (2552) แนวทางการดาเนนิ งานตามนโยบายเรยี นฟรี
15 ปี อย่างมคี ุณภาพ โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (2554) แนวทางการดาเนนิ งานตามนโยบายเรียนฟรี
15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย

สิรนิ ทร์พร วงศพ์ รี กุล (2552) การติดตามและประเมินกระบวนการนานโยบายเรียนฟรี 15 ปี
ไปปฏิบัตใิ นสถานศึกษา ภาควิชาวจิ ัยและจติ วทิ ยา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั

สุริยะ วิริยะสวสั ด์ิ (2530) พฤติกรรมการให้บริการของเจา้ หน้าท่อี งคก์ รราชการกบั ปจั จัย
สภาพแวดล้อมในเขตเทศบาลเมอื งกาฬสนิ ธ์ุ วทิ ยานพิ นธป์ ริญญารัฐศาสตร
มหาบณั ฑติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์

แสวง รัตนมงคลมาศ และคณะ (2537) ความพงึ พอใจของประชาชนตอ่ ระบบและกระบวนการ
ใหบ้ ริการของกรุงเทพมหานคร วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาบรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑิต คณะ
บริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร์

อดศิ ร สุขกมล (2541) แนวคิดความพึงพอใจ กรงุ เทพมหานคร เนชน่ั การพมิ พ์
อนวุ ฒั น์ ศุภชาติกุล (2546) การพฒั นาคุณภาพบรกิ ารเพอื่ ความอยู่รอดของบรกิ ารสุขภาพใน

ภาครัฐ กรงุ เทพมหานคร สรุ สีห์การพมิ พ์
อรณุ ทิพย์ วรชวี ัน (2545) การบรกิ าร สารานกุ รมไทยฉบับราชบัณฑติ ยสถาน หนา้ 463
ออ่ งจิต เมธยะประภาส (2552) การพัฒนาแนวทางการดาเนนิ งานตามนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี

อยา่ งมีคุณภาพ สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา สาระสังเขป
ออนไลน์ คน้ คนื วนั ที่ 12 เมษายน 2563 จาก
http://www.kroobannok.com/board_view.php
อัมมันดา ไชยกาญจน์ (2546) การประเมินชุมชนแบบมสี ่วนร่วมเพอื่ สงั เคราะห์แนวทางการ
ปอ้ งกนั การดืม่ สุราในกลมุ่ วัยร่นุ กรุงเทพมหานคร สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ
อทุ ยั สีดาว (2552) การศึกษาความพึงพอใจท่ีมีต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปอี ยา่ งมีคุณภาพ
กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา
อุทัยธานี เขต 1

62

Adey, L.A., and Anderson, R (1975). Access to medical care. Ann Arbor Michigan :
Health Administation Press.

Cowell, D.F. (1986). The Marketing of Service. London : William Henemann
Fitzgerrald, Michael R. And Robert F. Durant. (1980). Citizen Evaluation and

Urban Management:Service Delivery in an Era of Protest. Public
Administration Review.
Herberg, F. Mausner, B. and Snyderman B. (1995). The motivation to work 2nd
ed. New York:Wiley
Heskett, J. L., Glaskowsky, N. A., & Ivie, R. M. (1973). Business logistics. New York :
The Ronald Press.
Kotler, P. (2000). Marketing Management 5th ed. New Jersey: Prentice-Hall.
Millet, Jonh D (1973). Management in the Public Service. New York : McGraw –
Hill.
Morse, N.C. (1967). Satisfation in the White Collar Job. Ann Arbor: University of
Michigan.
Rosenberg, R.J. and Hovland, C.I (1960). Attitude Organization and Change : An
Analysis of Consistency Among Attitude Components. Wesport :
Greenwood Press.
Vroom, V.H (1964). Industrial Social Psychology. Management and Motivation
91-103.

63

ภาคผนวก

64

แบบสอบถาม

65

แบบสอบถาม
เรอ่ื ง ความพึงพอใจของผู้ปกครองนกั เรียนทม่ี ตี ่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปอี ยา่ งมคี ณุ ภาพของวิทยาลัยการอาชีพ

ด่านซา้ ย
คาช้ีแจงทว่ั ไป

1. แบบสอบถามน้ี มีวัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกับความพงึ พอใจของผปู้ กครองนกั เรยี น
ในวทิ ยาลัยการอาชีพดา่ นซา้ ย ต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ

2. แบบสอบถามนมี้ ที ั้งหมด 3 ตอน ดงั น้ี
2.1 ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกีย่ วกบั ข้อมูลท่ัวไปของผ้ตู อบ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม

ได้แก่ เพศ อาชพี วฒุ ิทางการศกึ ษา รายไดข้ องผูป้ กครอง และระดบั การศกึ ษาของนักเรยี นและขนาดของ
สถานศึกษา เปน็ แบบสอบถาม แบบสารวจรายการ (Checklist)

2.2 ตอนท่ี 2 แบบสอบถามมาตราประมาณค่า (Rating Scale) สอบถามเกี่ยวกับระดับความพงึ
พอใจของผู้ปกครองนกั เรยี นในวทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซา้ ย ต่อนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ซ่ึงแบ่ง
ออกเปน็ 4 ด้าน ได้แก่ ความพึงพอใจตอ่ หนงั สือเรียน อุปกรณก์ ารเรยี น เครื่องแบบนกั เรยี น และกิจกรรม
พฒั นาผู้เรียน แตล่ ะด้านจะมขี ้อย่อย ซง่ึ กาหนดความของระดบั คะแนน 5 ระดับ

2.3 ตอนท่ี 3 แบบสอบถามปลายเปดิ (Opened – end questionnaire) เก่ียวกบั ปญั หา และ
ข้อเสนอแนะต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ

3. ในการตอบแบบสอบถาม ขอความกรุณาทา่ นตอบตามความเป็นจรงิ และครบถว้ นทุกขอ้ จึงจะทา
ใหผ้ ลการศึกษาค้นคว้าครงั้ น้สี มบูรณ์ มคี ณุ ค่า และเป็นประโยชน์ตอ่ การนาไปพฒั นาเปน็ ข้อมลู สารสนเทศ
และปรับปรุงเก่ยี วกับการดาเนนิ งานตามนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพ

4. คาตอบจากการตอบแบบสอบถามของท่านในครง้ั น้ี ผ้ศู ึกษาคน้ คว้าจะเกบ็ รักษาไวเ้ ป็นความลับ
และจะใช้ในการศึกษาคน้ ควา้ ครง้ั นเ้ี ท่านนั้

5. เมือ่ ท่านตอบแบบสอบถามจนครบถว้ นทกุ ขอ้ แลว้ ขอความกรุณาสง่ แบบสอบถามคืนผูศ้ ึกษา
คน้ ควา้ ดว้ ย หวังเป็นอย่างยง่ิ ว่าจะได้รบั ความร่วมมอื จากทา่ นเปน็ อยา่ งดี

จงึ ขอขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู ในการให้ความอนเุ คราะหต์ อบแบบสอบถาม

นายมณู ดีตรุษ
รองผู้อานวยการวทิ ยาลัยการอาชีพด่านซา้ ย

66

ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไปเก่ียวกับของผูต้ อบแบบสอบถาม

คาชแ้ี จง

โปรดทาเครื่องหมาย ✔ ในชอ่ ง □ หนา้ ข้อความท่ตี รงกับสภาพความเปน็ จรงิ เกยี่ วกบั ตวั ทา่ น

1. เพศ

□ ชาย □ หญิง

2. อาชีพของท่าน (ตอบได้เพยี งข้อเดียว)

□ รับราชการหรือพนกั งานของรฐั □ เกษตรกรรม/รบั จ้าง

□ ค้าขายหรือประกอบธุรกจิ ส่วนตวั □ อ่นื ๆ..................................

3. ระดบั การศึกษา/วุฒกิ ารศกึ ษาสูงสุด ของท่าน

□ ระดบั ประถมศึกษา □ ระดับมธั ยมศึกษา

□ ระดับปริญญาตรี □ สงู กวา่ ปริญญาตรขี ้ึนไป

4. รายได้/เงินเดอื น

□ ต้งั แต่ 1,000 – 5,000 บาท ต่อเดือน □ ตง้ั แต่ 5,001–10,000 บาท ต่อเดือน

□ ตง้ั แต่ 10,001 –15,000 บาท ตอ่ เดอื น □ ตั้งแต่ 15,000 บาทขึน้ ไป ตอ่ เดือน

5. ระดับการศกึ ษาของนักเรยี น

□ ระดับช้ัน ปวช.1 □ ระดับชน้ั ปวช.2

□ ระดับช้ัน ปวช.3

ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจของผู้ปกครองนกั เรยี นทม่ี ตี อ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปีอย่างมีคณุ ภาพของวทิ ยาลัยการ
อาชพี ด่านซา้ ย

คาชแ้ี จง
โปรดอ่านคาถามแตล่ ะขอ้ แลว้ พจิ ารณาวา่ ในแต่ละข้อสง่ ผลใหเ้ กิดความพงึ พอใจต่อนโยบายเรียนฟรี

15 ปี อยา่ งมคี ณุ ภาพอยู่ในระดับใด โดยแตล่ ะข้อจะมคี าตอบใหท้ า่ นเลอื ก คอื มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย

นอ้ ยทีส่ ดุ โดยทาเครื่องหมาย ✔ ในชอ่ งทที่ ่านเลือกเพยี งช่องเดยี วท่ีตรงกบั ความคิดเหน็ ของทา่ น
5 หมายถงึ ความพึงพอใจ ระดบั มากท่สี ดุ
4 หมายถึง ความพึงพอใจ ระดบั มาก
3 หมายถงึ ความพึงพอใจ ระดับปานกลาง
2 หมายถึง ความพงึ พอใจ ระดับนอ้ ย
1 หมายถึง ความพึงพอใจ ระดบั น้อยท่สี ุด

67

ระดบั ความพงึ พอใจ
ขอ้ ความพึงพอใจต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมคี ุณภาพ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย

ทสี่ ดุ (4) กลาง (2) ท่ีสดุ
(5) (3) (1)
ดา้ นหนังสอื เรยี น
1 หนงั สือเรยี นมีจานวนเพยี งพอเหมาะสม
2 ข้นั ตอนการคัดเลอื กหนังสือเรียน มคี วามสะดวก รวดเร็ว
3 ระบบการจัดซอื้ หนงั สือมีความสะดวก เหมาะสม
4 การจัดลาดับขั้นตอนการรบั หนงั สอื เรยี นมีความคลอ่ งตัว
5 ระบบใหย้ ืมและสง่ คนื มีความเหมาะสม
6 นักเรียนไดร้ บั หนงั สือทนั ตามเวลากาหนด
7 หนังสอื เรียนท่ีไดร้ บั มคี วามครบถ้วน
8 หนังสอื เรยี นมคี ณุ ภาพตรงกับความตอ้ งการ
9 การให้ยมื หนงั สอื เรยี นชว่ ยลดภาระค่าใช้จ่ายของผ้ปู กครอง
ดา้ นอุปกรณก์ ารเรยี น
10 อุปกรณก์ ารเรียนที่ได้รับมีจานวนเพียงพอ เหมาะสม
11 นกั เรยี นไดร้ บั อุปกรณ์การเรียนทันตามกาหนดเวลา
12 อปุ กรณก์ ารเรยี นมคี ณุ ภาพตรงกบั ความต้องการ
13 ระบบการจัดซอ้ื อุปกรณ์การเรียนมคี วามสะดวก รวดเร็ว
14 ขนั้ ตอนการแจกจ่ายอปุ กรณ์การเรยี นมีความคล่องตวั รวดเรว็
15 ขั้นตอนการรับอปุ กรณก์ ารเรยี นมคี วามสะดวก รวดเรว็
16 การให้อุปกรณก์ ารเรียนชว่ ยทาให้ผู้ปกครองลดภาระคา่ ใช้จา่ ย
ดา้ นเครื่องแบบนักเรยี น
17 ระบบแจ้งการจัดซ้ือเครอื่ งแบบนักเรยี น มีความสะดวก รวดเร็ว
18 ข้นั ตอนการแสดงหลักฐานประกอบการรับเงนิ ค่าเครื่องแบบนักเรยี น
มคี วามเหมาะสม
19 ลาดับขน้ั ตอนการรับ-จา่ ยเงินในการจดั ซ้ือเคร่ืองแบบนกั เรียนมี
ความสะดวก รวดเรว็
20 ระบบการจัดสรรเงินค่าซือ้ เครอ่ื งแบบนกั เรยี นมีความโปร่งใส
21 จานวนเงินทไี่ ดร้ ับในการจดั ซอ้ื เครื่องแบบนักเรียนจานวนเพยี งพอ
เหมาะสม
22 ผู้ปกครองสามารถเลือกซื้อเคร่อื งแบบนกั เรยี นได้ตรงตามความ

68

ต้องการ
23 กระบวนการตดิ ตามใบเสรจ็ รับเงินค่าเครือ่ งแบบนักเรียน ทว่ี ิทยาลยั

ฯกาหนด มีความเหมาะสม
24 โรงเรยี นมกี ระบวนการกากับดแู ลใหน้ ักเรียนมีเครื่องแบบนักเรียน ท่ี

เหมาะสม
25 การไดร้ ับเงินค่าเครือ่ งแบบนักเรยี นเป็นการชว่ ยลดภาระคา่ ใช้จ่าย

ของผปู้ กครอง
ด้านการจดั กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน
26 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นท่ีวิทยาลัยฯ กาหนดมีจานวนเพียงพอ
เหมาะสม
27 วิทยาลัยฯ แจ้งขน้ั ตอนก่อน-หลงั ดาเนนิ การจัดกิจกรรมพฒั นา
ผ้เู รยี นอยา่ งสม่าเสมอ ต่อเนอื่ ง
28 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นจัดได้อยา่ งมคี ณุ ภาพเหมาะสมกบั วยั นกั เรียน
29 โรงเรยี นดาเนินการจดั กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนในชว่ งเวลาทเี่ หมาะสม
ทนั ตามกาหนด
30 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนท่ีวิทยาลัยฯ ดาเนนิ การ จดั ไดค้ รบถว้ นตรงกบั
ความต้องการ
31 ผูป้ กครองมีสว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนอย่างเสมอภาค
เทา่ เทียมกนั
32 ระบบการรายงานผลการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนมีความตอ่ เนอื่ ง
33 กระบวนการจดั กจิ กรรมวชิ าการ ทาให้นกั เรยี นไดร้ ับการพัฒนา
ทกั ษะ เตม็ ศักยภาพ อยา่ งเสมอภาคเทา่ เทียมกนั
34 กระบวนการจดั กจิ กรรมคุณธรรม/ลกู เสือ ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นมี
คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมที่ดงี ามอย่างเหมาะสม
35 กระบวนการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา ทาให้นกั เรียนมคี วามรู้
เสรมิ สรา้ งประสบการณ์ อยา่ งเหมาะสม
36 กระบวนการจดั กจิ กรรมบรกิ ารสารสนเทศนกั เรยี นมคี วามรเู้ พม่ิ เตมิ
ด้านคอมพิวเตอร์ อยา่ งเพยี งพอ เหมาะสม
37 นกั เรียนไดร้ บั ประโยชน์จากการจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น มีความ
เพยี งพอ เหมาะสม
38 ผูป้ กครองมคี วามพึงพอใจตอ่ นโยบายเรยี นฟรี 15 ปอี ย่างมีคุณภาพ

69

ตอนท่ี 3 ปัญหาและข้อเสนอแนะเป็นคาถามปลายเปดิ ให้ผูต้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ ในประเดน็
ปัญหา และข้อเสนอแนะต่อนโยบายเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมคี ุณภาพ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณทุกท่านท่ีให้ความรว่ มมอื

70

ประวัติผ้วู จิ ยั

71

ประวัติผวู้ จิ ยั

ช่ือ ช่อื สกลุ นายมณู ดีตรุษ
วนั เดือน ปเี กิด 18 เมษายน 2508
สถานทเ่ี กิด อาเภอพรหมพิราม จังหวดั พิษณโุ ลก
สถานที่อยปู่ ัจจุบัน 231 หมู่ 1 ตาบลโคกงาม อาเภอด่านซา้ ย จงั หวัดเลย 42120
ประวัตกิ ารศึกษา พ.ศ. 2520 ประถมศึกษา(ป.7) โรงเรียนผดงุ วทิ ยา อาเภอพรหม

ตาแหนง่ งานปัจจบุ ัน พริ าม จังหวดั พษิ ณโุ ลก
สถานทที่ างานปัจจบุ ัน พ.ศ. 2523 มธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.ศ.3) โรงเรียนพรหมพิรามวิทยา

อาเภอพรหมพิราม จงั หวัดพษิ ณโุ ลก
พ.ศ. 2526 ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) วทิ ยาลัยเทคนคิ

พิษณุโลก อาเภอเมือง จงั หวัดพษิ ณุโลก
พ.ศ. 2528 ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) วิทยาลยั

เทคโนโลยี วิทยาเขตเทคนิคภาคพายัพ อาเภอเมอื ง
จงั หวดั เชียงใหม่
พ.ศ. 2532 ปริญญาตรี การศึกษานอกระบบ (คบ.) วิทยาลยั ครู
เพชรบูรณ์ อาเภอเมอื ง จงั หวัดเพชรบูรณ์
พ.ศ. 2548 ประกาศนียบัตรบณั ฑติ บรหิ ารการศึกษา
มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย อาเภอเมอื ง จงั หวัดเลย
พ.ศ. 2551 ครุศาสตรม์ หาบัณฑติ บริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏเลย อาเภอเมอื ง จังหวดั เลย
รองผูอ้ านวยการวทิ ยาลยั การอาชีพดา่ นซา้ ย
วทิ ยาลยั การอาชพี ดา่ นซ้าย ตาบลโคกงาม อาเภอดา่ นซ้าย จงั หวัด
เลย 42120


Click to View FlipBook Version