ใบความรู้ท่ี 2
เร่อื ง ดนตรสี ากล
คณุ ค่าของดนตรีทีม่ ตี อ่ มนษุ ย์
ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตมนุษย์ มนุษย์รู้จักนำดนตรีมาใช้ประโยชน์ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์
หลังจากที่มนุษย์รู้จักการจดบนั ทกึ ข้อมูล จึงทำให้คนรุ่นหลังไดท้ ราบประวตั ิความเป็นมาของดนตรี การศึกษา
ประวัติศาสตร์ดนตรี ทำให้เราเข้าใจมนุษย์ด้วยกันมากขึ้น เข้าใจวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และเข้าใจการสืบทอด
ทางวัฒนธรรมดนตรี
การกำเนิดของเครื่องดนตรีเกิดขึ้นตั้งแตส่ มัยโบราณ โดยมนุษย์รู้จักการสร้างเคร่ืองดนตรีง่าย ๆ จาก
ธรรมชาติรอบข้างคือ เริ่มจากการปรบมือผิวปาก เคาะหิน หรือนำกิ่งไม้มาตีกันซึ่งต่อมาได้มีการสร้างเครื่อง
ดนตรีที่มีรูป ทรงลักษณะต่าง ๆ ที่แตกต่างกันไปในแต่ละชนชาติ โดยมีการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมและ
ลักษณะเครื่องดนตรีของชนชาติต่าง ๆ โดยเฉพาะเครื่องดนตรีสากลที่เป็นเครื่องดนตรีของชาวตะวันตกที่น
ำมาเลน่ กนั แพรห่ ลายในปจั จบุ ัน สำหรบั การกำเนดิ ของดนตรีตะวันตกนั้นมาจากเครื่องดนตรีของชนชาติ กรีก
โบราณที่ สร้างเครื่องดนตรีขึ้นมา 3 ชนิดคือ ไลรา คีธารา และออโรสจนต่อมามีการพัฒนาสร้างเครื่องดนตรี
ประเภทตา่ ง ๆ ท้งั ประเภทเครื่องสายเคร่ืองเป่า เครอ่ื งทองเหลือง เครื่องตี และเคร่ืองดีดหรือเคร่ืองเคาะ เช่น
ไวโอลนิ ฟลตุ ทรัมเปต็ กลองชดุ กตี าร์ ฯลฯโดยพบเครื่องดนตรีสากลได้ในวงดนตรสี ากลประเภทต่าง ๆ ต้ังแต่
สมยั โบราณจนถึงปัจจุบัน
การสบื สาวเรื่องราวเก่ียวกบั ความเป็นมาของดนตรีตั้งแต่สมัยโบราณมา นบั วา่ เปน็ เร่ืองยากที่จะให้ได้
เรือ่ งราว สมัยของการรู้จกั ใชอ้ ักษรหรือสญั ลักษณ์อนื่ ๆ เพ่ึงจะมีปรากฏและเร่ิมนยิ มใช้กันในสมยั เริ่มต้นของยุค
Middle age คือระหว่างศตวรรษที่ 5 - 6 และการบันทึกมีเพียงเครื่องหมายแสดงเพียงระดับของเสียง และ
จังหวะ ( Pitch and time ) ดนตรี เกิดขึ้นมาในโลกพร้อม ๆ กับมนุษย์เรานั่นเอง ในยุคแรกๆมนุษย์อาศัยอยู่
ในป่าดง ในถ้ำ ในโพรงไม้ แต่ก็รู้จักการร้องรำทำเพลงตามธรรมชาติ เช่น รู้จักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้ เป่า
ปาก เป่าเขา และเปล่งเสียงร้องตามเรื่อง การร้องรำทำเพลงไปเพื่ออ้อนวอนพระเจ้าเพื่อช่วยให้ตนพ้นภัย
บันดาลความสุขความอุดมสมบรู ณ์ตา่ งๆใหแ้ ก่ตน หรือเปน็ การบชู าแสดงความขอบคุณพระเจ้าท่ีบันดาลให้ตน
มคี วามสขุ ความสบาย
โลกได้ผ่านหลายยุคหลายสมัย ดนตรีได้วิวัฒนาการไปตามความเจริญและความคิดสร้างสรรค์ของ
มนษุ ย ์ เครอ่ื งดนตรีทเ่ี คยใชใ้ นสมัยเริ่มแรกก็มกี ารววิ ัฒนาการมาเป็นขั้น ๆ กลายเป็นเคร่อื งดนตรี ทเี่ ราเห็นอยู่
ทกุ วัน เพลงทรี่ อ้ งเพือ่ อ้อนวอนพระเจ้า ก็กลายมาเป็นเพลงสวดทางศาสนา และเพลงร้องโดยทั่ว ๆ ไป
ในระยะแรก ดนตรีมีเพียงเสียงเดียวและแนวเดียวเท่านั้นเรียกว่า Melody ไม่มีการประสานเสียง
จนถึงศตวรรษที่ 12 มนุษย์เราเริ่มรู้จักการใช้เสียงต่าง ๆ มาประสานกันอย่างง่าย เกิดเป็นดนตรีหลายเสียง
ข้นึ มา
การศึกษาวิชาประวตั ิดนตรตี ะวนั ตกหลายคนคงคดิ ว่าเป็นเรือ่ งไกลตั วเหลือเกนิ และมกั มีคำถามเสมอ
ว่าจะศกึ ษาไปทำไมคำตอบกค็ ือ ดนตรตี ะวันตกเป็นรากเหง้าของดนตรีทเี่ ราได้ยินได้ฟังกนั ทุกวันนี้ความเป็นมา
ของดนตรหี รอื ประวัติศาสตร์ดนตรีนนั้ หมายถึงการมองย้อนหลังไปในอดีตเพ่ือพยายามทำความเข้าใจกับแง่มุม
ต่าง ๆ ของอดีตในแตล่ ะสมยั นับเวลาย้อนกลบั ไปเป็นเวลาหลายพนั ปจี ากสภาพสังคมทแ่ี วด ล้อมทศั นะคติและ
รสนยิ มของผู้สรา้ งสรรค์และผูฟ้ ังดนตรีในแต่ละสมยั น้ันแตก ต่างกนั อยา่ งไรจากการลองผิดลองถูกลองแล้วลอง
อกี การจนิ ตนาการตาม แนวคดิ ของผู้ ประพันธเ์ พลงจนกระทั่งกล่ันกรองออกมาเป็นเพลงใหผ้ คู้ นไดฟ้ ังกันจนถึง
ปัจจบุ ันน้ี
การศึกษาเรอื่ งราวทางประวัติศาสตร์ หรอื การมองย้อนกลบั ไปในอดีตนัน้ นอกจากเป็นไปเพื่อความสุข
ใจในการได้ศึกษา เรียนรู้ และรับทราบเรื่องราวของอดีตโดยตรงแล้ว ยังเป็นการศึกษาเป็นแนวทางเพื่อทำ
ความเข้าใจดนตรีท่ีเกิดขึ้นและการเปลีย่ นแปลงในแง่ของดนตรีในปัจจุบัน และเพื่อนำมาใช้ในการทำนายหรอื
คาดเดาถงึ แนวโนม้ ของดนตรีในอนาคตด้วย
ดนตรีเกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์ และถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์ มนุษย์รู้จักการสร้าง
เสยี งดนตรเี พือ่ ใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื สื่อสาร เช่น การตเี กราะ เคาะไม้ การเปา่ เขาสตั ว์ การเปา่ ใบไม้ เพ่อื ส่งสัญญาณ
ตา่ ง ๆ มนุษย์รู้จักการร้องรำทำเพลง เพ่อื ใหห้ ายเครียด เพ่ือความบันเทงิ หรอื เพื่อการประกอบพิธกี รรมต่าง ๆ
กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องของเสียงดนตรี มนุษย์ได้ทำให้เกิดขึ้นอย่างเป็นธรรมชาติของมนุษย์มาโดยตลอด
ตอ่ มาเมื่อมนษุ ยไ์ ดส้ นใจดนตรีในดา้ นศิลปะ ดนตรจี ึงไดว้ วิ ฒั นาการข้นึ ตามลำดับ
สนุ ทรียศาสตรข์ องดนตรี
คำว่า "สุนทรียศาสตร์" ในภาษาอังกฤษใช้คำว่า "Aesthetics" มาจากภาษากรีกว่า "Aistheticos" ซึ่ง
แปลวา่ ร้ดู ว้ ย ผสั สะ และคำวา่ ผสั สะนี้ หมายถึงการสัมผสั รหู้ รือหยั่งรสู้ ุนทรยี ะหรือความงามอยา่ งเขา้ ใจ กล่าว
โดยสรุปคือ คำว่า สุนทรียศาสตร์ เป็นเนื้อหาว่าด้วยการศึกษาเรื่อง มาตรฐานของความงามในเชิงทฤษฎีอัน
เกี่ยวกับประสบการณ์ทางสุนทรียภาพ กฏเกณฑ์ทางศิลปะ สุนทรียศาสตร์นับเป็นแขนงหนึ่งของปรัชญาใน
ส่วนที่เกี่ยวกับการแสวงหาคุณค่า ในสมัยก่อนวิชานี้เป็นที่รู้จักกันในรูปแบบของวิชาทฤษฎีแห่งความงามหรือ
ปรัชญาแห่งรสนยิ ม
ในทางปฏิบับติจริงนั้น ศิลปินใช้ธาตุ 4 อย่าง เป็นองค์ประกอบในการสร้างงานศิลปะ ซึ้งธาตุทั้ง 4
อยา่ งนน้ั ไดแ้ ก่
1. ส่ือ (Media) เชน่ ศลิ ปะทางดนตรีใช้ เสียงเปน็ สอ่ื
2. เนื้อหา (Context) เช่น ศิลปะทางดนตรีใช้ สเกลเสียง โหมดเสียง สังคีตลักษณ์หรือไวยากรณ์
เพลงและเนอ้ื ร้องที่เปน็ เนอื้ หาของดนตรี
3. สนุ ทรยี ธาตุ (Aesthetical elements) ซงึ่ มี 3 อยา่ ง คือ ความงาม (Beauty) ความน่าเพลิดเพลิน
เจริญใจ (Picturesqueness) และความเป็นเลิศ เช่น ศิลปะทางดนตรีใช้สังคีตลักษณ์ในกระบวนแบบต่าง ๆ
เปน็ สุนทรียธาตุ
4. ศิลปินธาตุ (Artistic elements) หมายถึง ความในใจ หรือประสบการณ์เดิม หรือความใฝ่ฝันหรอื
ความเฉลียวฉลาดเฉพาะตัว ท่ีศลิ ปินแต่ละคนนำออกมาสอดแทรกไว้ในชิ้นงานของตนเอง อย่างเช่น สังคีตกวี
นำทำนองเพลงพน้ื บ้านของชนชาตติ นสอกแทรกไว้ในเพลงคลาสสิก เปน็ ต้น
การสร้างชิ้นงานศิลปะดนตรีของสังคีตกวีต้องใช้ "เสียง" (tone) เป็นสื่อ แม้ว่าตามความเป็นจริงนั้น
เสียงย่อมไม่อาจอธบิ ายความใหผ้ ู้ฟังนึกเห็น "ภาพ" ท่ชี ัดเจนได้ แตค่ วามไมช่ ดั เจนของภาพนี้เองเป็นสื่อกระตุ้น
ให้ผ้ฟู ังจนิ ตนาการตามเสยี งท่ีได้ฟังจนเกิดอารมณ์คลอ้ ยตามและปฏกิ ริ ิยาสนองตอบได้อยา่ งเต็มท่ี ตามแต่ถนัด
ความสนใจ พื้นฐานความรู้ และประสบการณ์ด้านดนตรีของแต่ละบุคคล ทั้งนี้เป็นเพราะเสียงของดนตรีมี
สว่ นประกอบสำคัญ คอื จังหวะ ทำนอง เสยี งประสาน ลีลาสอดประสาน และกระบวนแบบของดนตรี รวมกัน
เป็นเน้ือเดยี วกันอย่แู ลว้ เสียงดนตรีจึงมีพลังและความคล่องตัวทจ่ี ะเป็นสื่อกระตุ้นอารมณ์ความรูส้ ึกของผู้ฟังได้
อยา่ งดีเยี่ยม
การรับรู้ความงามหรอื สุนทรยี ะของดนตรี
ดนตรีเป็นสุนทรียะหรือทีเ่ รยี กกันว่า ความงาม ความไพเราะ เป็นเรื่องของนามธรรมยากที่จะอธิบาย
ใหเ้ ขา้ ใจด้วยภาษาเพราะแต่ละคนจะมีรสนิยมในเร่ืองของความงามท่ีตา่ งกนั ทัง้ นีข้ ึ้นอยกู่ ับลักษณะเฉพาะของ
แต่ละบุคคล ประสบการณ์ที่แต่ละคนได้รับจะมีอิทธิพลต่อความชอบ ความรัก ความไพเราะ ความงาม ที่
เกิดขึ้นในแตล่ ะคน ถึงแม้ว่าสุนทรยี ะทางดนตรีเป็นเรื่องนามธรรมเกดิ ขึ้นจำเพาะตัวบุคคลแตเ่ ราสามารถสร้าง
ประสบการณใ์ ห้เกิดการเรียนรไู้ ด้
*ขั้นตอนในการสรา้ งประสบการณ์การเรยี นร้ทู างสุนทรียะทค่ี วรคำนงึ ถึง คือ
1. ความตั้งใจจดจ่อ ประสบการณ์ทางสุนทรียะต้องผนวกความตั้งใจจดจ่อต่อศิลปะ หรืออาจจะพูด
อีกแง่หนึ่งว่าต้องมีความศรัทธาต่องานศิลปะ ความตั้งใจจดจ่อหรือความศรัทธามีความจำเป็นอย่างยิ่งในการ
เขา้ ถงึ งานศลิ ปะ และในทำนองเดยี วกนั ความไม่ตงั้ ใจไร้ศรัทธาเปน็ การปิดก้ันสุนทรียะของศิลปะต้ังแต่แรกเร่ิม
การฟังดนตรดี ้วยความต้งั ใจจดจ่อ ฟงั ดว้ ยความศรัทธา โอกาสที่จะตอบสนองต่อเสียงดนตรีที่ได้ยินมีสูงทั้งทาง
ร่างกายและทางความรู้สึก การที่ได้ยินเสียงดนตรีตามภัตตาคารต่าง ๆ ในระหว่างการรับประทานอาหารหรือ
เสียงดนตรีในงานเทศกาลตา่ ง ๆ เสียงดนตรีเหล่านั้นได้ยินผ่าน ๆ หูเราไปโดยมิได้ตัง้ ใจฟัง ซึ่งไม่สามารถสร้าง
ความงามทางสนุ ทรยี ะใหเ้ กดิ ข้นึ ได้ สนุ ทรียะทางศิลปะเน้นความรู้สึกทางจิตมากกวา่ ความรสู้ ึกทางกาย
2. การรับรู้ ประสบการณ์ทางสุนทรียะต้องอาศัยการรับรู้ การรับรู้ เป็นความรู้ที่จะรู้ว่าสิ่งนั้นๆ คือ
อะไร คุณภาพดีไหม และมีความเกี่ยวพันกันอย่างไร เป็นเรื่องของความรู้ไม่ใช่เรื่องของความจำหรือการ
จินตนาการ การรับรู้เป็นการรวบรวมความรู้สึกทั้งภายนอกและภายในที่มีผลต่อสิ่งเร้า แล้วเอามาสร้ างเป็น
ความคดิ รวบยอดต่องานศลิ ปะนน้ั ๆ ซึง่ สามารถแยกออกเป็นขั้นตอนได้วา่ เป็นความรู้สกึ การรับรู้ และการหยั่ง
รูห้ รอื การสร้างมโนภาพ
3. ความประทับใจ ประสบการณ์ทางสุนทรียะต้องอาศัยความกินใจหรือประทับใจในการสร้าง
ประสบการณ์ทางสุนทรียะนั้น อารมณ์ที่กระทบต่องานศิลปะสามารถแยกออกเป็นสองขั้นตอนด้วยกันคือ
สภาพของจิตที่เปลี่ยนไปกับความรู้สึกที่สนองต่อจิต ซึ่งเกิดขึ้นตามในลำดับต่อมา เช่น ความดันเลือดใน
ร่างกายเปลี่ยนแปลงให้หน้าแดง หน้าซีด การหายใจถี่แรง หรือการถอนหายใจ ความรู้สึกโล่งอกหรืออัดแน่น
รู้สึกง่วงนอนหรือกระปรี้กระเปร่า สิ่งเหล่านี้เปน็ ความรู้สึกท่ีมีผลมาจากแรงกระทบทางอารมณ์ท้ังสิ้นความกนิ
ใจต่อเหตุการณ์และเสียงที่ได้ยนิ ทง้ั เหตุการณ์และเสียงทก่ี ินใจจะจารึกจดจำไว้ในสมอง ถา้ โอกาสหวนกลับมา
อีกความกนิ ใจทเ่ี คยจดจำไวก้ ็จะปรากฏขึ้นในความรสู้ ึกอีก การที่เราเคยไดย้ ินเสียงดนตรใี นงานศพของคนที่เรา
เคารพรกั และหวงแหน หรือในขณะท่ีเราอยู่ในอารมณ์เศร้า เรามกั จะจำเหตุการณ์วันนน้ั และเสียงเพลงท่ีได้ยิน
อย่างแมน่ ยำ
4. ความรู้ ประสบการณ์ทางสุนทรียะต้องอาศัยความรู้ การเรียนรู้ของคนอาศัยประสบการณ์
สนุ ทรยี ะเปน็ สว่ นหนึ่งของประสบการณ์ ความรู้ความเข้าใจเป็นประสบการณ์ที่สามารถแยกแยะหรือวิเคราะห์
การนำมาปะติดปะต่อหรือการสังเคราะห์การสรุปรวบยอด การจัดหมวดหมู่หรือแม้การประเมินผล สิ่งเหล่าน้ี
อาศยั ประสบการณ์ ความรู้ ความเข้าใจ เป็นตวั สำคัญ
5. ความเข้าใจวัฒนธรรม ประสบการณ์ทางสุนทรียะต้องอาศัยความเข้าใจวัฒนธรรมที่เป็น
องค์ประกอบของศิลปะนั้น ๆ เพราะศิลปะเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการที่เราเข้าใจวัฒนธรรมเปน็ ผลใหเ้ รา
เขา้ ใจศลิ ปะอีกโสตหนง่ึ ด้วยเพราะ ศลิ ปะของชนกล่มุ ใดย่อมเหมาะกับชนกล่มุ นั้น
องค์ประกอบของดนตรีสากล
องค์ประกอบของดนตรี คอื สว่ นสำคัญพื้นฐานทางดนตรซี ่ึงรวมกนั ทำให้เกิดดนตรหี รือบทเพลงต่าง ๆ
เปน็ รปู รา่ งขึ้นมาได้ โดยประกอบด้วยองคป์ ระกอบต่าง ๆ ดงั น้ี
1. เสียง (Tone)
2. จงั หวะ (Rhythm)
3. ทำนอง (Melody)
4. เสียงประสาน (Harmony)
5. รูปพรรณหรือพนื้ ผวิ (Texture)
6. รปู แบบ (Form)
7. สสี นั ของเสยี ง (Tone Color)
1. เสียง (Tone) เสียง ในทางดนตรี หมายถึง เสียงที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของอากาศอย่าง
สมำ่ เสมอ โดยจะเกิดจากการร้อง การเปา่ การดีด และการสี เสยี งจะประกอบด้วยคุณสมบตั ิเสียง 4 อย่าง คือ
ระดับเสยี งความยาวของเสียง ความเขม้ ของเสยี งและคุณภาพของเสียง
1.1 ระดับเสียง (Pitch) คือ ความสูงต่ำของเสียง ซึ่งเกิดจากความถี่ในการสั่นสะเทือน ถ้า
ความถข่ี องการสนั่ สะเทือนเรว็ เสียงจะสูง ความถี่ของการสนั่ สะเทือนช้าเสียงจะต่ำ
1.2 ความยาวของเสียง (Duration) คือ ความยาวสั้นของเสียง เสียงดนตรีอาจมีควานยาว
เสยี งเช่น เสยี งส้ันๆ เสียงยาวมาก ซง่ึ เปน็ พ้นื ฐานในเร่ืองของจังหวะ (Rhythm)
1.3 ความเข้มของเสียง (Intensity) คือ ความแตกต่างของเสียงจากค่อยไปจนถึงดัง ซึ่งเป็น
พ้นื ฐานเรื่องจงั หวะเน้นในทางดนตรี
1.4 คณุ ภาพของเสยี ง (Quality) คอื คุณภาพของเสียงแตล่ ะชนิด เกดิ จากการสัน่ สะเทือนของ
วัตถุทที่ ำให้เกดิ เสยี งนัน้ ๆ ซึ่งเปน็ พื้นฐานเรอ่ื งสสี ันของเสียง (Tone Color)
2. จังหวะ (Rhythm) จังหวะ คือ สัญลักษณ์ที่บอกความยาว ส้ัน (Duration) ของตัวโน้ตและตัว
หยดุ โดยไม่มีระดบั เสยี ง ในบทเพลงจะมอี งค์ประกอบจังหวะ ดังนี้
2.1 ความเร็วของจังหวะ (Tempo) เทมโป มาจากภาษาอิตาเลียน หมายถึง เวลา ในทาง
ดนตรี หมายถึง ความเรว็ ช้า ปานกลาง ซึง่ ถกู กำหนดไว้ในบทเพลง โดยมเี ครือ่ งกำหนดความเรว็ ท่ีเรยี กวา่ เมโท
รนอม (Metronome) และมชี ือ่ เรียกกำหนดความเรว็ จงั หวะ ได้แก่
Presto เร็วมาก
Allegro เรว็
Moderato ความเรว็ ปานกลาง
Adagio ชา้ ๆ ไม่รีบร้อน
Largo ชา้ มาก
2.2 อัตราจังหวะ (Time) คือ การจัดกลุ่มจังหวะตบ (Beat) เป็น 2, 3, 4 จังหวะเคาะเน้น
จงั หวะหนัก เบา ของจังหวะตบทเี่ กิดข้นึ
จังหวะตบ (Beat) หมายถงึ จงั หวะทด่ี ำเนนิ ไปเรื่อยๆ คลา้ ยการเต้นของหัวใจตัวอย่างอัตราเช่น
2.3 รปู แบบจังหวะ(Rhythm Pattern) คอื รปู แบบกระสวนจังหวะของจังหวัดท่ีถูกกำหนดไว้
เพื่อเป็นจังหวะในการบรรเลงบทเพลง เช่น จังหวะมาร์ช (March) จังหวะวอลซ์ (Waltz) จังหวะร็อค (Rock)
เป็นตน้
3. ทำนอง (Melody) ทำนอง คือ การจัดเรียงลำดับสูง ต่ำ และความยาว สั้น ของเสียงตาม
แนวนอน ทำนองเปน็ องค์ประกอบดนตรีท่ีงา่ ยต่อการจำเหมือนภาษาพดู ท่ีเป็นประโยค เพอ่ื สนองความคิดของ
ผพู้ ูดดังน้ันการเขา้ ใจดนตรีจึงต้องจำทำนองให้ได้
4. เสียงประสาน (Harmony) เสียงประสาน คือ การผสมผสานเสียงตั้งแต่ 2 เสียงขึ้นไป โดย
บรรเลงพร้อมกันการประสานเสียงมีทั้งให้ความกลมกลืนไพเราะ และไม่กลมกลืน การนำเสียง 2 เสียงมา
บรรเลงพร้อมกันจะเรียกว่า ขั้นคู่เสียง (Interval) ถ้านำเสียง 3 เสียงขึ้นไปมาบรรเลงพร้อมกันจะเรียกว่า
คอร์ด (Chord)
5. รปู พรรณหรือพื้นผิว (Texture) รูปพรรณ คอื ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทำนองกับเสยี งประสาน ซง่ึ
ทำให้เกดิ เปน็ ภาพรวมของดนตรี รปู พรรณดนตรมี หี ลายแบบ คอื
5.1 แบบโมโนโฟนี (Monophony) คือ ดนตรีแนวทำนองแนวเดียว ไม่มีเสียงประสานหรือ
องค์ประกอบใด
5.2 แบบโฮโมโฟนี (Homophony) คือ ดนตรีที่มีแนวทำนองหลักเป็นแนวที่สำคัญที่สุดใน
ขณะท่แี นวอ่นื ๆ เปน็ เพียงแนวประสานเสียงด้วยคอร์ดเข้ามาชว่ ยใหท้ ำนองหลักไพเราะขึน้ เชน่ เพลงไทยสากล
เพลงพ้ืนบ้าน (Folk Song) เป็นตน้
5.3 แบบโพลิโฟนี (Polyphony) คือ ดนตรีที่ใช้แนวทำนองหลายแนวเพื่อมาประสานกับ
ทำนองหลัก ทำนองหลักจะเป็นแนวที่สำคัญ แต่แนวอื่น ๆ ก็เป็นทำนองรองและเป็นแนวประสานเมื่อเล่นจะ
พบว่าแต่ละแนวเปน็ ทำนองด้วยเชน่ กนั
6. รูปแบบ (Form) รูปแบบ คือ โครงสร้างของบทเพลงที่มีแบบแผน ซึ่งผู้ประพันธ์เพลงมักจะมี
รูปแบบการแต่งเพลงตามที่ตนเองคิดไว้ เช่น การแบ่งเป็นห้องเพลง เป็นวลี ( Phrase) เป็นประโยค
(Sentence) และเปน็ ทอ่ นเพลง รปู แบบของบทเพลงในปัจจบุ ัน ได้แก่
6.1 ยนู ิทารี (Unitary Form) หรอื One Part Form คือ บทเพลงท่มี แี นวทำนองสำคัญเพียง
ทำนองเดียวตั้งแตเ่ ริม่ ต้นจนจบสมบรู ณ์ เชน่ เพลงสรรเสรญิ พระบารมี เพลงชาติ เปน็ ต้น
6.2 ไบนารี (Binary Form) หรือ Two Part Form คือ บทเพลงที่มีรูปแบบประกอบด้วย๒
ส่วนใหญ่ ๆ เช่น ท่อนทำนอง A และทอ่ นทำนอง B เรยี กบทเพลงบทนีว้ ่า รปู แบบ A B
6.3 เทอร์นารี (Ternary Form) หรือ Three Part Form คือ บทเพลงที่มีรูปแบบ
ประกอบด้วย 3 ส่วนใหญ่ๆ มีส่วนกลางที่แตกต่างไปจากส่วนต้นและส่วนท้าย เช่น ท่อนทำนองที่ 1 A, ท่อน
ทำนองที่๒ B, ซึ่งทำนองแตกต่างกันออกไป และทอ่ นที่ ๓ A กม็ ีทำนองคลา้ ยกับท่อนที่ 1A เรยี กบทเพลงแบบ
นีว้ ่ารปู แบบ A B A
6.4 ซองฟอร์ม (Song Form) คือ การนำเทอร์นารฟี อร์มมาเตมิ ส่วนหลกั แรกลงอกี 1 คร้งั จะ
ได้รูปแบบ A A B A เรียกวา่ ซองฟอร์ม โครงสร้างแบบนม้ี กั พบในเพลงทว่ั ๆ ไป
6.5 รอนโด (Rondo Form) คือ รูปแบบการเน้นที่ทำนองหลัก โดยในบทเพลงจะมีหลายแนว
ทำนอง สว่ นทำนองหลักหรือทำนองแรกจะวนอยรู่ ะหว่างทำนองอื่น ๆ ท่ีตา่ งกนั ออกไป อาจแบ่งได้ 3 รูปแบบ
คือ
6.5.1 Simple Rondo คือ การเปล่ียนไปมาของทำนองหลักกบั ทำนองท่ี 2 เชน่ A B A B A
6.5.2 Second Rondo คือ การเปลี่ยนไปมาของทำนองหลักกับอีก 2 แนวทำนอง เช่น A B
ACA
6.5.3 Third Rondo คือ การเปลี่ยนไปมาของทำนองหลักกับอีก 3 แนวทำนองโดยจัดเรียง
กัน เชน่ A B A C A D A
7. สีสันของเสียง (Tone Color) สีสันของเสียง คือ คุณสมบัติของเสียงเครื่องดนตรีแต่ละชนิด
รวมถึงเสียงรอั งของมนุษย์ซ่งื แตกต่างกันไปในเร่ืองของการดนตรี สีสนั ของเพลงอาจเกิดจากการร้องเดี่ยว การ
บรรเลงเดี่ยวโดยผู้แสดงเพียงคนเดียว หรือการนำเครื่องดนตรีหลายชนิดเสยี งรอ้ งมาร่วมบรรเลงด้วยกันก็เกิด
เปน็ การรวมวงดนตรีแบบตา่ ง ๆ ขน้ึ
การสบื สานภูมปิ ัญญาทางดนตรีสากล
คุณค่าทางดนตรี ดนตรีเป็นผลงานสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่สื่อถึงอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดที่มี ต่อ
สิ่งแวดลอ้ ม ธรรมชาติ วถิ ีชีวิต จงึ สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเป็นอยลู่ ักษณะนิสยั ประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนภูมิ
ปัญญาของผู้คนท้องถิ่นต่าง ๆ ในยุคสมัยต่างกัน ดังนั้น ดนตรีจึงเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างหนึ่งท่ี
สามารถนำไปอ้างอิงได้ และนับได้ว่าเป็นมรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณค่าควรได้รับการบำรุงรักษา เพื่อคง
ความเป็นเอกลักษณ์ของชาติต่อไป การที่ดนตรีสามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ตลอดจนนำไป
ประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน จงึ มีประโยชนแ์ ละช่วยพัฒนาอารมณ์ความรสู้ กึ หลายประการ เชน่
ประโยชนข์ องดนตรี
1. ช่วยทำให้เกิดความสนุกสนาน เพลดิ เพลนิ ปลดปล่อยอารมณ์ไม่ให้เครียด ผ่อนคลายอารมณไ์ ด้
2. ช่วยทำให้จติ ใจสงบ และมีสมาธใิ นการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
3. ชว่ ยพฒั นาด้านการเรยี นรู้ โดยนำไปบูรณาการกับวิชาอ่นื ๆ ใหเ้ กิดประโยชน์
4. ช่วยเป็นสือ่ กลางในการเชื่อมความสัมพันธอ์ ันดีและใช้เป็นกิจกรรมทำร่วมกัน ของครอบครัวหรือ
เพอ่ื นฝูง เชน่ การรอ้ งเพลงและเตน้ รำด้วยกนั
การอนรุ ักษ์ผลงานทางดนตรี
ผลงานทางดนตรีท่ีถูกสร้างสรรค์ขึ้นมาโดยศิลปินในยุคสมัยต่าง ๆ ซึ่งแสดงถึงภูมิปัญญาของบรรพ
บรุ ษุ และศิลปินท้งั หลาย และบง่ บอกถึงความมีอารยธรรมแสดงถงึ เอกลักษณ์ประจำชาติจงึ มีคุณค่าควรแก่การ
อนรุ ักษ์และสบื ทอดและพฒั นาใหค้ งอย่ตู อ่ ไป เพอ่ื สร้างความภาคภูมใิ จและเป็นมรดกทางวฒั นธรรมตอ่ ไป
การอนรุ กั ษ์และสบื ทอดผลงานทางดนตรีมีหลายวิธี นักเรียนสามารถทำไดโ้ ดยวธิ งี า่ ย ๆ ดังนี้
1. ศกึ ษาค้นควา้ ความเปน็ มาของวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ ที่น่าสนใจ
2. รวบรวมหรือจดบันทึกเกี่ยวกับผลงานทางดนตรีของศิลปินที่น่าสนใจ เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน
การศึกษาหาความรูต้ ่อไป
3. ถ้ามีโอกาสให้ไปเยี่ยมชมพิพิธภณั ฑ์เกีย่ วกบั งานดนตรี เพือ่ ดขู ้อมลู หรือเรื่องราวเกย่ี วกับดนตรีและ
ววิ ัฒนาการทางดนตรี
4. เข้าร่วมกจิ กรรมทางดนตรี เชน่ การแสดงดนตรี การจดั งานรำลึกถงึ ศิลปิน เป็นตน้
5. ถ้ามีโอกาสได้เรยี นดนตรโี ดยเฉพาะดนตรีพ้นื บ้านควรให้ความสนใจและตั้งใจเรยี นเพื่อสบื ทอดงาน
ดนตรตี ่อไป
6. ใหค้ วามสนใจเรอ่ื งราวเก่ยี วกับดนตรีในทอ้ งถ่ินของตนและทอ้ งถิ่นอ่นื