The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Best Practice กศน.อำเภอภูกามยาว
ภูกามยาว Learning

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by acroniss3435, 2021-11-21 22:01:52

Best Practice กศน.อำเภอภูกามยาว

Best Practice กศน.อำเภอภูกามยาว
ภูกามยาว Learning



คำนำ

ด้วยการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ได้ส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนของ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอภูกามยาว ทำให้ต้องมีการจัดการเรียนการสอน
แบบออนไลน์ในภาคเรียนที่ 2/2563 และ ภาคเรียนที่ 1/2564 โดย กศน.อำเภอภูกามยาวได้มีการนำ
เทคโนโลยี Line Official Account มาพัฒนาเป็นแอปพลิเคชั่นในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์
โดยใช้ชือ่ ว่า “ห้วยแก้ว E-Learning” และได้มอบหมายให้ นายยุทธนันท์ กามอ้อย ครู กศน.ตำบลห้วยแกว้
เปน็ ผู้ดูแลระบบ

แอปพลิเคชั่น “ห้วยแก้ว E-Learning” เป็นแอปพลิเคชั่นที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
โดยมกี ารรวบรวมเน้ือหา ใบงาน แบบทดสอบ ในรายวชิ าตา่ งๆ มาให้กับนักศึกษาได้เรยี นร้ผู ่านโปรแกรม Line
ซงึ่ นกั ศกึ ษาส่วนใหญ่มีการใช้งานโปรแกรม Line เปน็ ประจำทำใหง้ า่ ยตอ่ การใชง้ าน อีกทง้ั ยังมกี ารสง่ เสริมการ
อ่านออนไลน์ กล่าวคือ มีการนำเสนอความรู้เกีย่ วกับวันสำคัญ เหตุการณ์สำคัญ ต่างๆ มาให้กับนักศึกษาหรือ
ประชาชนท่สี นใจไดศ้ กึ ษากันอกี ดว้ ย

กศน.อำเภอภูกามยาว

สารบญั ข

ชือ่ ผลงาน หน้า
หนว่ ยงาน/สถานศึกษา/กศน.อำเภอ/กศน.ตำบล
คณะทำงาน 1
ความสอดคล้อง
ทมี่ าและความสำคญั ของผลงาน 1
วัตถปุ ระสงค์ 1
วิธีดำเนินการ 1
ตัวช้วี ัดความสำเรจ็ 2
การประเมินผลและเครื่องมือการประเมนิ ผล 2
ผลการดำเนนิ งาน 2
บทสรปุ 5
ฝงั งานแนวปฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลิศ 5
กลุยทุ ธ์หรอื ปัจจยั ทีท่ ำใหป้ ระสบผลสำเร็จ 5
ข้อเสนอแนะ 5
การอ้างองิ 10
ภาคผนวก 11
11
11

1

1. ชอ่ื ผลงาน : หว้ ยแกว้ E-Learning

2. หน่วยงาน/สถานศึกษา/กศน.อำเภอ/กศน.ตำบล : กศน.อำเภอภูกามยาว

3. คณะทำงาน : - ครู กศน.ตำบล

4. ความสอดคล้อง :

สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.
2564

จุดเนน้ การดำเนนิ งานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และรูปแบบการจัด

การศึกษาและการเรียนรู้ ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับทุก
กลุ่มเป้าหมาย มีความทันสมัย สอดคล้องและพร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน ความต้องการของ
ผ้เู รียน และสภาวะการเรียนร้ใู นสถานการณต์ า่ ง ๆ ทจ่ี ะเกิดข้นึ ในอนาคต

3.1 พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Learning Platform ที่รองรับ DEEP ของ
กระทรวงศึกษาธกิ ารและช่องทางเรยี นรูร้ ปู แบบอน่ื ๆ ท้งั Online On-site และ On-air

ภารกิจตอ่ เนือ่ ง
1. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับ

การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ท้ังดา้ นหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรยี นการสอน สือ่ และนวัตกรรม ระบบการวัดและ
ประเมินผลการเรยี น และระบบการใหบ้ รกิ ารนักศกึ ษาในรูปแบบอืน่ ๆ
5. ท่ีมาและความสำคญั ของผลงาน :

จากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 19 (COVID-19) ประกอบกับการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี
ในการจัดการเรียนการสอน ในภาคเรียนที่ 1/2563 กศน.ตำบลห้วยแก้วได้มีการนำ QR Code มาใช้ในการ
จดั การเรียนการสอน แต่ยังมีข้อจำกดั ในการเข้าถึงการเรียนรู้ และในชว่ งตน้ ของภาคเรียนท่ี 2/2563 ได้มีการ
นำ Google Apps มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน กล่าวคือ มีการใช้งาน Google Classroom ในการ
จัดการห้องเรียนออนไลน์, มีการใช้งาน Google Meet ในการจัดกิจกรรมพบกลุ่มแบบออนไลน์ และมีการใช้
งาน Google Form ในการให้นักศึกษาได้ทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบ แต่ยังพบปัญหาในการเข้าถึงข้อมูล
โดยเฉพาะ Google Classroom ทน่ี ักศกึ ษายังไม่มีความเข้าใจในการใชง้ าน ทำให้ตอ้ งมีการปรบั ใช้เทคโนโลยี
ใหมม่ าใช้ในการจดั การเรยี นการสอน ท่จี ะทำให้นกั ศกึ ษาเข้าถึงข้อมลู ได้งา่ ย สะดวกตอ่ การใชง้ าน และสามารถ
ใช้งานได้ตลอดเวลา โดยกศน.ตำบลห้วยแก้ว ได้จัดทำแอพพลิเคชั่น “ห้วยแก้ว E-Learning” ผ่านโปรแกรม
(Line Official Account : Line OA) ซึ่งเป็นการรวบรวมข้อมลู ต่างๆ มาไว้ในแอพ ห้วยแก้ว E-Learning เช่น
วีดีโอเน้อื หารายวิชาตา่ งๆ แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียนรู้ด้วยตนเอง ทำให้นกั ศกึ ษาสามารถเรียนรู้ด้วย
ตนเองได้ตลอดเวลา

2

6. วตั ถปุ ระสงค์ :
1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรผู้ า่ นระบบออนไลน์ไดต้ ลอดเวลา
2. เพอ่ื เพม่ิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักศึกษาประจำภาคเรยี นที่ 1/2564

7. วธิ ดี ำเนนิ การ :
แนวทางในการพฒั นาแอพพลเิ คชั่น “หว้ ยแก้ว E-Learning” มขี นั้ ตอนดังต่อไปน้ี
1. รับร้ปู ัญหา
จากการจัดการเรียนการสอนภายใต้การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 19 (COVID-19) ทำให้ในภาค

เรียนที่ 1/2563 ต้องมีการปรับการเรียนการสอนจากการพบกลุ่มนักศึกษาแบบรวมกลุ่ม ณ กศน.ตำบลห้วย
แก้ว, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยแก้วและบ้านสันต้นแหน ต.ห้วยแก้ว อ.ภูกามยาว จ.พะเ ยานั้น
ต้องมีการปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนเป็นการเรียนการสอนในแบบออนไลน์ เพื่อการป้องกันตนเอง
จากไวรัสโคโรนา่ 19 (COVID-19) ซง่ึ ในภาคเรียน 1/2563 ได้มีการนำ QR Code มาใช้ในการจัดการเรยี นการ
สอนแบบออนไลน์ ทำใหน้ กั ศกึ ษามีความตนื่ ตัวในการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ แต่ยังมีขอ้ จำกดั คือ การต้อง
จัดทำ QR Code จำนวนมาก ทำเนื้อหาแต่ละหัวข้อ แบบฝึกหัด แบบทดสอบ ทำให้ไม่มีความสะดวกในการ
จัดการเรยี นการสอน

ในภาคเรียนที่ 2/2563 ทาง สำนักงาน กศน.จังหวัดพะเยา ได้มีการส่งเสริมการใช้งาน Google
Application ในการจัดการเรียนการสอน และกศน.ตำบลหว้ ยแกว้ ก็ได้นำ Google Application มาใชใ้ นการ
จัดการเรียนการสอนในภาคเรียนดังกล่าว กล่าวคือ มกี ารใช้งาน Google Classroom ในการจดั การห้องเรียน
ออนไลน์ ให้นักศึกษาสามารถเข้าห้องเรียนและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง, มีการใช้งาน Google Meet ในการจัด
กิจกรรมพบกลุ่มแบบออนไลน์และมีการใช้งาน Google Form ในการให้นักศึกษาได้ทำแบบฝึกหัดและ
แบบทดสอบ แต่ยังพบปัญหาต่างๆ เช่น สมาร์ทโฟนไม่รองรับระบบ, โหลดแอพพลิเคชั่นไม่ได,้ พื้นที่ในการใช้
งานเต็ม รวมไปถึงการเข้าถึงข้อมูลในการเรียนรู้ โดยเฉพาะ Google Classroom ที่นักศึกษายังไม่มีความ
เขา้ ใจในการใชง้ าน เพราะตอ้ งเข้าใชง้ านในหลายขน้ั ตอน จึงเกิดปญั หาในการเรยี นรู้

3

2. แนวทางในการแกป้ ัญหา
กศน.ตำบลห้วยแก้ว สังกัด กศน.อำเภอภูกามยาว ได้มีการประชุมวางแผนการจัดการเรียนการสอน
ให้กับนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าถึงข้อมูลและการเรียนรู้ได้สะดวกมากขึ้น โดยมีการศึกษาการใช้
โปรแกรม Line ซึ่งนักศึกษาส่วนมากใช้ในการติดต่อสื่อสาร และเป็นโปรแกรมประจำสมาร์ทโฟนอยู่แล้ว
ประกอบกับ Line ได้มีการพัฒนาระบบตอบกลับอัตโนมัติคือ Line Official Account : Line OA ซึ่งมีความ
สะดวกกับการใช้งาน ดังนั้นจึงมีการลงความเห็นของ ผู้บริหาร ครูและบุคลากร กศน.อำเภอภูกามยาว ในการ
พฒั นาระบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ผา่ น Line Official Account : Line OA
3. การพฒั นาระบบ
กศน.ตำบลห้วยแก้วได้มีการพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนผ่าน Line Official Account :
Line OA ในช่วงปลายภาคเรียนที่ 2/2563 ซึ่งทดลองทำควบคู่ไปกับการใช้งาน Google Application
เพื่อเปรียบเทียบความสะดวกในการใช้งานของนักศึกษา โดยใช้ชื่อแอพพลิเคชั่น Line Official Account :
Line OA ในการจัดการเรียนการสอนว่า “ห้วยแก้ว E-Learning” เป็นการรวบรวมเนื้อหาและแบบทดสอบ
ให้กบั นักศกึ ษาไดเ้ รยี นรู้ ซึง่ แบบทดสอบยังคงใช้งาน Google Form ในการทำแบบทดสอบออนไลน์
โดยมหี วั ข้อในการพัฒนาดงั น้ี

3.1 หวั ขอ้ การสมัครเขา้ ใชง้ าน “ห้วยแกว้ E-Learning”
3.2 หวั ข้อการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน โดยมีหวั ข้อในการจดั การเรียนการสอนคอื

- วีดโี อเนอื้ หาวิชาในภาคเรียนท่ี 2/2563
- กจิ กรรมพบกลุม่ นกั ศกึ ษาในภาคเรียนที่ 2/2563
3.3 หัวข้อครู บุคลากร เป็นหัวข้อในการพฒั นาครูและบุคลากร ผ่านระบบออนไลนข์ องหน่วยงาน
การศกึ ษาอ่นื
3.4 หัวข้อในการส่งเสริมการพัฒนาอาชีพ เป็นหัวข้อในการส่งเสริมการพัฒนาอาชีพของกศน.
อำเภอ ภูกามยาว สำหรบั นกั ศึกษาหรอื ประชาชนทส่ี นใจ
3.5 หัวข้อ การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นหัวข้อที่ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านห้องสมุดออนไลน์ E-
Library ของห้องสมุดประชาชนอำเภอภกู ามยาว
3.6 หัวข้อ ประชาชนทั่วไป เป็นหัวข้อในการส่งเสริมการอ่านของประชาชนตำบลห้วยแก้ว เช่น
วนั สำคญั ตา่ งๆ , ความร้ใู นเรือ่ งตา่ งๆ เป็นตน้

4

4. จุดเดน่
“ห้วยแก้ว E-Learning” เป็นแอพพลิเคชั่นสำหรับการเรียนรู้ออนไลน์ ที่ได้มีการนำ Line Official
Account : Line OA มาใช้งาน เพื่อเพิ่มความสะดวกในการเรียนรู้ของนักศึกษาและประชาชน เนื่องด้วย
นักศึกษาและประชาชนส่วนมากมีโปรแกรมไลน์ ในการใช้งานอยูแ่ ล้ว ทำให้ไม่จำเป็นต้องโหลดโปรแกรมอื่นๆ
เพมิ่ เตมิ โดยได้มกี ารรวบรวมความรูใ้ นส่วนตา่ งๆ มาไว้สำหรบั เรยี นรู้ ไม่ว่าจะเป็น การจัดการเรียนการสอนข้ัน
พื้นฐาน, การส่งเสริมอาชีพ, การส่งเสริมการอ่านออนไลน์, การส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับประชาชน รวมไปถึง
การพัฒนาครูและบุคลากร ที่ได้มีการรวบรวมเอาไว้ในแอพพลิเคชั่นดังกล่าว และมีการส่งเกียรติบัตรผ่าน
ระบบออนไลน์ให้กับผู้เรียนที่ผ่านการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อยืนยันผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ได้ผ่านจึงทำให้
แอพพลิเคชั่น “ห้วยแก้ว E-Learning” เป็นนวัตกรรมที่ช่วยในการเรียนรู้ในยุคที่มีการใช้เทคโนโลยีในการ
เรียนรแู้ ละปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรน่า 19 (COVID-19) อยา่ งแทจ้ ริงและมีการทดลอง พัฒนาโดย
ใช้กระบวนการปฏิบัติที่ดเี พอื่ การสรา้ งนวัตกรรมการเรียนร/ู้ นวัตกรรม อาชพี หรือนวัตกรรมอื่นท่ีสอดคล้องกับ
บริบทของชุมชนนั้นๆ อีกทั้งประชาชนสามารถพฒั นาตนเองได้ พฒั นาชุมชนได้อย่างย่ังยืน

5

8. ตัวชี้วดั ความสำเรจ็ :
- นกั ศึกษาสามารถใชง้ านแอบพลิเคชั่น “ห้วยแกว้ E-Learning” ในการเรียนรูไ้ ด้
- ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนกั ศกึ ษาทีเ่ ข้ารบั การเรยี นการสอนผา่ นแอบพลิเคชั่น “ห้วยแกว้ E-

Learning” เพิ่มขนึ้
9. การประเมินผลและเครอื่ งมือการประเมนิ ผล :

- การสอบวดั ผลปลายภาคเรยี นที่ 2/2563
10. ผลการดำเนินงาน :

10.1 ผลทเี่ กดิ กับครู
ครูสามารถจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ ผ่านแอบพลิเคชั่น “ห้วยแก้ว E-

Learning” ได้
10.2 ผลทเี่ กิดกบั ผูเ้ รียน
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั ศึกษาทีเ่ ขา้ รับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์เพมิ่ ขึน้

11. บทสรุป :
ด้วยการขบั เคล่ือนการดำเนินงานของ สำนกั งาน กศน.จังหวดั พะเยา และกศน.อำเภอภูกามยาว ด้าน

การจัดการเรียนการสอนโดยการใช้เทคโนโลยี กศน.ตำบลห้วยแก้ว จึงได้มีการจัดทำแอพพลิเคชั่น“ห้วยแก้ว
E-Learning” ผ่าน Line Official Account ซึ่งเป็นส่วนเสริมในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบตอบกลับ
อัตโนมัตใิ นโปรแกรม Line โดยมกี ารดำเนนิ งานแบบ PDCA คอื

1. การวางแผน - Plan
กศน.อำเภอภูกามยาว มีการประชุมวางแผนการจัดการเรียนการสอน ศึกษาสภาพปัญหาของการ
จัดการเรียนการสอนภายใต้การระบาดของไวรัสโคโรน่า (Covid-19) และบริบทของนักศึกษา กศน.อำเภอภู
กามยาว ประจำภาคเรยี นท่ี 2/2563 โดยใชก้ ระบวนการจัดการเรียนรผู้ ่านระบออนไลน์ (Google Apps) จาก
ทาง สำนักงาน กศน.จังหวัดพะเยาท่ีได้จัดการอบรมพฒั นาบุคลากรในสงั กัด และได้มีการพัฒนาแอพพลิเคช่ัน
เพม่ิ เติม คอื หว้ ยแก้ว E-Learning เพอื่ ใช้ในการจัดการเรยี นการสอนในภาคเรยี นที่ 2/2563
2. การปฏิบัติ – Do
หลังจากที่ได้มีการวางแผนการจัดการเรียนการสอนเรียนร้อยแล้ว ประกอบกับการได้รับการพัฒนา
ความรู้ด้านกาใช้งาน Google Apps สำหรับการจัดการเรียนการสอน จาก สำนักงาน กศน.จังหวัดพะเยา
ระหว่างวันที่ 2 – 4 ธันวาคม 2563 นั้น ช่วงแรกของการจัดการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 2/2563 กศน.
ตำบลห้วยแก้ว มีการใช้งาน Google Meet , Google Classroom, Google Form ในการจัดการเรียนการ
สอน พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่ยังมีปัญหาในการเรียนรู้เนื่องด้วยเหตุผลหลายประการ โดยเฉพาะ Google
Classroom ซึ่งต้องมีการเข้าใช้งานในหลายส่วนและความไม่พร้อมของหลายๆส่วนด้วยกัน เช่น สมาร์ทโฟน
ไมพ่ รอ้ มใชง้ าน, การเรียนรทู้ ่ีแตกต่างกนั ของบุคคล, อนิ เทอรเ์ นต็ มีปัญหา ฯลฯ

6

หลังจากที่พบปัญหาการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Apps กศน.ตำบลห้วยแก้วจึงได้วาง
แผนการจัดการเรียนการสอนเพิ่มเติมจากเดิม โดยมีการพัฒนา แอพพลิเคชั่น “ห้วยแก้ว E-Learning” ซ่ึง
พัฒนาจากการงาน Line Official Account ที่เป็นการตอบกลับอัตโนมัติผ่านโปรแกรม Line ที่นักศึกษาส่วน
ใหญ่ใช้งานอยู่แล้ว โดยมีการเพิ่มเติมในส่วนของการเรียนการสอนในภาคเรียนที่ 2/2563 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น ในรายวิชา คณิตศาสตร์ (พค21001) และวิชาช่องทางการพัฒนาอาชีพ (อช21001) เปรียบเทียบผล
การเรยี นรขู้ องนกั ศึกษา

3. การตรวจสอบ – Check
จากการใช้งาน แอพพลิเคชั่น “ห้วยแก้ว E-Learning” แล้วพบว่า นักศึกษามีความรู้ในเนื้อหาที่ได้
เรียนมากขนึ้ และมคี วามพงึ พอใจในการใช้งานมากกว่า Google Classroom เนื่องด้วยไมต่ ้องลงแอพพลิเคช่ัน
เพิ่มเติม และแอพพลิเคชั่น “ห้วยแก้ว E-Learning” เป็นแอพพลิเคชั่นที่ใช้โปรแกรม Line ในการจัดการ
เรยี นรู้ ซ่ึงเปน็ โปรแกรมทีน่ ักศกึ ษาใชง้ านเป็นประจำจึงไม่ต้องมีการปรบั ตัวมากขน้ึ
4. การนำไปปรบั ปรุง - Act
หลังจากที่ได้มีการใช้งาน แอพพลิเคชั่น “ห้วยแก้ว E-Learning” แล้วพบว่าสามารถเพิม่ เติมความรู้
ในส่วนอื่นๆ ได้อีก อาทิเช่น กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ, กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน, การพัฒนาบุคลากร เป็นต้น
และสามารถนำไปบรู ณาการร่วมกบั ภาคีเครอื ข่ายในการส่งเสริมการเรยี นร้ขู องประชาชนในรูปแบบออนไลน์ได้
มกี ารนำนวัตกรรมท่ีเกิดจากการทดลอง การพฒั นามาใช้หรือเผยแพร่ผา่ นชอ่ งทางต่างๆ
กศน.ตำบลห้วยแก้วมีการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ในชื่อ “ห้วยแก้ว E-Learning” ซึ่ง
เป็นแอพพลิเคชั่นที่พัฒนามาจาก Line Official Account โดยมีการเริ่มใช้งานตั้งแต่ช่วงปลายภาคเรียนท่ี
2/2563 ซึ่งเป็นการใช้ควบคู่ไปกับ Google Apps โดยมีการจัดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกรใช้งานให้กับ
นกั ศึกษา กศน.ตำบลหว้ ยแกว้ กอ่ นการใชง้ าน และมีการประมวลผลการใช้งานเปน็ ระยะๆ

7

หลังจากการใช้งานแล้ว กศน.ตำบลห้วยแก้วได้มีการเผยแพร่ นวัตกรรม “ห้วยแก้ว E-Learning”
ให้กับ นักศึกษา กศน.ตำบลแม่อิงและ กศน.ตำบลดงเจน ผ่านโปรแกรมไลน์ และมีการเผยแพร่ไปยังเว็บไซต์
กศน.อำเภอภูกามยาว เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ของประชาชน และยังมีการเผยแพร่ไปยัง
เครือข่ายในโรงเรียน คือ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติพระศรีนครินทร์พะเยา โดยได้นำไปใช้ในการส่งเสริมการ
อ่านของนกั เรยี น ตามโครงการ All For Reading

มีการประเมนิ ผลการประเมนิ ผลการนำนวัตกรรมไปใช้
จากการใช้งานนวัตกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ในช่อื “ห้วยแก้ว E-Learning” กศน.ตำบลห้วยแก้วได้มี

การประเมนิ ผลการนำนวตั กรรมไปใชโ้ ดยมีประเมนิ ผา่ น Google Form และมกี ารนำเสนอผลการใช้นวตั กรรม
ใหก้ บั ผู้บริหาร ครู และบุคลากร กศน.อำเภอภูกามยาว ผ่านการประชุมของ กศน.อำเภอภกู ามยาว

8

9

มีแนวทางการพฒั นาตอ่ ยอดเทคโนโลยี ทใี่ ช้ในการเรียนรู้ท่สี อดคล้องกับบรบิ ทของชุมชน
กศน.ตำบลหว้ ยแกว้ มแี นวทางในการพัฒนาแอบพลิเคชนั่ “หว้ ยแก้ว E-Learning” ดงั ต่อไปน้ี
1. เพ่ิมเตมิ เนื้อหาในรายวิชาต่างๆ ของการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ใหค้ รอบคลุม

ท้ังในสว่ นของเน้อื หา, แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ
2. เพมิ่ เติมการจัดการศึกษาเพ่อื ส่งเสรมิ อาชีพให้กับประชาชนที่สนใจ
3. เพิ่มเติมในส่วนของการส่งเสริมการอ่านสำหรับประชาชน โดยมีการเชื่อมโยงการส่งเสริมการอ่าน

ของห้องสมุดประชาชนอำเภอภกู ามยาวและสำนกั งาน กศน.จงั หวดั พะเยา
4. สง่ เสริมใหม้ กี ารพัฒนาบคุ ลากรอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผ่านระบบการอบรมออนไลน์

10

ฝังงานแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ เลิศ
1. ศึกษาสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการของชุมชน

2. รวบรวมและศึกษางานตามนโยบาย บทบาทหน้าที่ และภารกิจ

P 3. วเิ คราะหค์ วามสอดคล้อง
ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

4. นำขอ้ มูลจากการวเิ คราะห์มากำหนดกรอบการดำเนนิ งาน

D 5. จัดกิจกรรมตามแผนที่ได้วางแผน

6. ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ตามสภาพจรงิ

C 7. สรุปผลการดำเนนิ งาน/โครงการ และจัดทำรปู เลม่ รายงาน

8. เผยแพร่ผลงานแนวปฏิบัติท่ดี ตี ่อผู้ทส่ี นใจ

A 12. กลยทุ ธ9ห์. นรือำขปอ้ จั มจูลยัทท่ีค้นท่ี พำบใหจาป้ กรกะาสรดบำผเนลนิ สงำานเรม็จาพ: ัฒนาแอบพลเิ คช่ัน
“หว้ ยแกว้ E-Learning”

11

12. กลุยทุ ธ์หรือปจั จัยทีท่ ำใหป้ ระสบผลสำเรจ็
12.1 ในการทำวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ในครั้งน้ี มีกลยุทธ์ที่ทำให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้

ด้วยดีคือ นักศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ผ่านแอบพลิเคชั่น “ห้วยแก้ว E-
Learning”

12.2 ในการทำวิธปี ฏบิ ัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) ในคร้งั นี้ ไดร้ บั การสนับสนุนจาก สำนกั งาน กศน.
จังหวัดพะเยาที่ได้จัดการอบรมให้ความรู้กับ ครูและบุคลาการในการใช้งาน Google Application for
Education และได้รับการสนับสนุนจาก ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภูกามยาว ในการอำนวยความสะดวกและ
ใหค้ ำปรึกษาในการจัดการเรียนการสอนผา่ นระบบออนไลน์ในภาคเรยี นท่ี 2/2563 และ 1/2564
13. ข้อเสนอแนะ :

- เพม่ิ หลกั สตู รในการจัดการเรยี นการสอนใหม้ ากข้ึน
- พฒั นาการเรียนการสอนผา่ นระบบออนไลน์ใหก้ ับ กศน.อื่นๆ

14. การอ้างอิง :
- คู่มือการใช้งาน Line Official Account : Line OA

12

ภาคผนวก

13

รปู แสดงการจดั การเรยี นการสอนผ่านแอบพลเิ คชั่น “ห้วยแก้ว E-Learning” ในการจดั การเรียนการสอน
ในภาคเรียนท่ี 2/2563 และ 1/2564

14


Click to View FlipBook Version