ใบความรู้ที่ 1
การใช้สารเคมที ถี่ ูกตอ้ งและปลอดภัย
การใช้สารเคมี
ปัจจุบัน สารเคมีถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลาย เนื่องจากเป้นวัตถุดิบที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและ
อตุ สาหกรรม และสารเคมบี างประเภทคอื สงิ่ ทก่ี อ่ ให้เกดิ อันตราย แก่ผปู้ ฏบิ ัติงาน หรอื สิง่ ทีเ่ รียกวา่ สารเคมีอันตราย
การทำงานกบั สารเคมอี ันตราย สารเคมีรว่ั ไหล ซึ่งอาจทำใหล้ ูกจา้ งไดร้ ับสารเคมีอันตราย เช่น การผลิตการควบ
การหกร่วั ไหลสารเคมี การติดฉลาก การห่อห้มุ การเคลื่อนยา้ ย การเกบ็ รกั ษา การถ่ายเท การขนถ่าย การขนสง่ การ
กำจดั การทำลายการเกบ็ สารเคมอี นั ตรายท่ไี ม่ใช้แล้ว รวมทั้ง การป้อง การบำรุงรักษา การซอ่ มแซม และการทำความ
สะอาดเคร่ืองมือเครอื่ งใช้ ตลอดจนภาชนะบรรจุสารเคมีอันตราควรจัดใหพ้ นักงานที่ทำงานกบั สารเคมอี นั ตรายได้รบั การ
ฝึกอบรมการทำงานกับสารเคมกี อ่ นทำงานเสมอ
ขอ้ คำนึงในการใชส้ ารเคมี
• ต้องทราบถึงอันตรายของสารเคมีและวิธีการควบคุม
• ต้องล้างมือทุกคร้ังหลังปฏิบัติงานกับสารเคมี
• สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเสมอ
• ทำความสะอาดบริเวณทำงานทุกครั้งหลังเลิกงาน
• ปิดฝาภาชนะให้แน่นทุกครั้งหลังเลิกใช้
• อย่า! ใช้ปากดูดสารเคมีแทนลูกยาง
• จัดเก็บสารเคมีไว้ในท่ีเย็น อากาศถ่ายเทดี ห่างแหล่งกำเนิดประกายไฟ
• อย่า! ปฏิบัติงานตามลำพังหรือไม่มีส่วนเก่ียวข้อง
• อย่า! ทดสอบโดยการสูดดมหรือกลืนกิน
• หมวกนิรภัย ใช้ป้องกันศีรษะจากการกระแทก
• ถุงมือ ใช้ป้องกันสารเคมีส่ิงปนเป้ือนและการติดเช้ือ
• รองเท้าบูท ใช้ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมีและการซึมผ่านของน้ำ
• แว่นครอบตา/หน้ากาก แว่นควรมีวาล์วระบายความร้อนใช้สำหรับหน้างานท่ีมีไอสารเคมี
• ชุดกันสารเคมี ใช้ป้องกันการกระเด็นของสารเคมีและละอองน้ำสกปรก
ความเป็นพิษของสารเคมี
-สารที่ทำให้เกิดการระคายเคือง คัน แสบ ร้อน พุพอง เช่น กรด ต่างๆ กา๊ ซคลอรีน แอมโมเนยี
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
-สารที่ทำใหห้ มดสติได้ สารเคมนี ้ีไปแทนท่ีออกซเิ จน เชน่ คารบ์ อนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ไซยาไนด์
-สารเสพติด เปน็ สารทีเ่ ป็นอันตรายต่อระบบประสาท เชน่
-สารท่ีระเหยได้งา่ ย ได้แก่ แอลกอฮอล์ เบนซินอะซิโตน อเี ทอร์ คลอโรฟอร์ม ทำใหป้ วดศรี ษะ เวียน
มึนงง
-สารทเ่ี ปน็ อันตรายตอ่ ระบบการสร้างโลหติ เช่น ตะกั่วจะไปกดไขกระดกู ซึง่ ทำหน้าทีส่ ร้างเม็ดเลือด
แดง ทำใหเ้ ม็ดเลือดแดงน้อยกวา่ ปกตเิ กิดโลหติ จาง
-สารท่เี ปน็ อันตรายตอ่ กระดูก ทำใหก้ ระดกู เสยี รปู ร่าง หรอื ทำให้กระดูกเปราะ ฟอสฟอรัส แคลเซียม
-สารทที่ ำอนั ตรายต่อระบบการหายใจ เช่น ปอด ทำใหเ้ กดิ เย่ือพงั ผืด ไม่สามารถแลกเปลีย่ นกับ
ออกซิเจนได ความจุอากาศในปอดจะน้อยลงทำใหห้ อบง่าย เช่น ฝ่นุ ทราย ฝุ่นถ่านหิน
-สารก่อกลายพนั ธ์ ทำอนั ตรายต่อโครโมโซม ซ่ึงความผิดปกตจิ ะปรากฏให้เหน็ ในลูกหรือ ชน้ั หลาน เชน่
สารกมั มนั ตภาพรงั สี สารฆ่าแมลง โลหะบางชนดิ ยาบางชนิด
-สารกอ่ มะเรง็ ทำให้สรา้ งเซลล์ใหมข่ น้ึ มาเรื่อยๆ มากเกินความจำเป็น ทำใหเ้ กิดเนอื้ งอกชนดิ ท่ีไม่
จำเป็น เชน่ สารกมั มันตภาพรงั สี สารหนู แอสแบสตอสนเิ ก้ลิ เวนลิ คลอไรด์ เบนซิน
-สารเคมที ที่ ำใหท้ ารกเกดิ ความพิการ คลอดออกมามีอวยั วะไม่ครบ เช่น ปากแหว่ง เพดานโหว่ แขน
ดว้ น ขาด้วน ตวั อย่างของสารในกลมุ่ นี้ ได้แก่ ยาธาลโิ ดไมด์ สารตัวทำละลายบางชนดิ ยาปราบศตั รูพืชบางชนิด
การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นผไู้ ด้รบั สารเคมี
ผ้ทู ่ีไดร้ ับอนั ตรายจากสารเคมที ผี่ ิวหนัง
ใหล้ า้ งผิวหนังบรเิ วณทถี่ ูกสารเคมี โดยใช้น้ำสะอาดลา้ งใหม้ ากทีส่ ดุ เพ่ือใหเ้ จือจางถ้าสารเคมีเปน็ กรดใหร้ บี ถอด
เสื้อผา้ ออกกอ่ น
ผทู้ ีไ่ ดร้ บั อันตรายจากสารเคมีท่ตี า
ให้ล้างตาดว้ ยนำ้ สะอาดทนั ที โดยเปดิ เปลือกตาข้นึ ให้นำ้ ไหลผา่ นตาอย่างน้อย 15 นาที ป้ายขผี้ ึง้ ปา้ ยตา แล้วรีบ
นำส่งแพทย์โดยเรว็
ผู้ทไ่ี ด้รบั อนั ตรายจากสารเคมใี นการสดู ดม
ให้ยา้ ยผู้ท่ไี ด้รับสารน้ันไปท่ีมีอากาศบริสุทธิ์ ประเมินการหายใจและการเตน้ ของหัวใจ ถ้าไม่มใี หช้ ว่ ยทำการปฐม
พยาบาลเบือ้ งตน้ ดว้ ยการ CPR
การทำลายวตั ถุมพี ิษและภาชนะบรรจสุ าร
1. เลือกสถานท่ที ่ีจะขดุ หลมุ ฝงั ภาชนะบรรจุสารทใ่ี ชห้ มดแล้วให้ห่างจากแหลง่ น้ำ ท่ีเลย้ี งสตั ว์ และทพ่ี ักอยา่ ง
น้อย 50 เมตร ควรเปน็ พืน้ ท่ีทไี่ มใ่ ช้ประโยชน์ โดยขุดหลมุ ลึกอยา่ งน้อย 1 เมตร และใช้ปนู ขาวรองกน้ หลุม
2. ทำลายภาชนะบรรจโุ ดยการตัด หรือทบุ ทำลายให้อยู่ในสภาพทไ่ี ม่สามารถที่จะนำไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ีก
แลว้ ฝังในหลุมทีเ่ ตรียมไว้และกลบดนิ ให้มดิ ชิด
3. หา้ มนำภาชนะทใี่ ช้แลว้ มาล้าง และนำไปบรรจสุ ิง่ ของอยา่ งอ่ืนโดยเด็ดขาด
4. หา้ มเผาพลาสตกิ หรือภาชนะบรรจสุ ารชนดิ ท่มี คี วามดนั ภายใน เพราะจะทำใหเ้ กิดการระเบดิ ได้
5. เมือ่ มสี ารเคมีเปรอะเป้ือนพื้นให้ใชด้ ิน หรอื ขีเ้ ลอื้ ย หรอื ปนู ขาวดดู ซับ และนำวัสดุทใ่ี ชด้ ดู ซับสารเคมแี ล้วไป
ฝงั ดนิ ที่หา่ งไกลแหล่งนำ้
6. ตดิ ปา้ ยที่ฝงั ภาชนะบรรจุสารแล้วล้อมรั้วเพอ่ื ป้องกันอนั ตรายที่จะเกดิ แก่เดก็ และสัตวเ์ ลี้ยง
ใบความรทู้ ่ี 2
ประเภทของเครอื ข่ายสังคมออนไลน์
ประเภทของเครอื ข่ายสังคมออนไลน์
เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ท่ีใหบ้ ริการตามเว็บไซต์สามารถแบ่งขอบเขตตามการใช้งานโดยดูท่ีวัตถุประสงค์หลักของ
การเข้าใช้งาน และคุณลักษณะของเว็บไซต์ท่ีมีร่วมกัน กล่าวคือ วัตถุประสงค์ของการเข้าใช้งานมีเป้าหมายในการใชง้ าน
ไปในทางเดียวกันมกี ารแบ่งประเภทของเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ออกตามวัตถปุ ระสงค์ของการเขา้ ใช้งาน ได้ 7 ประเภท
1. สรา้ งและประกาศตัวตน (Identity Network) เครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภทน้ีใช้สำหรับใหผ้ ้เู ขา้ ใช้งานได้มีพน้ื ท่ี
ในการสรา้ งตัวตนข้นึ มาบนเว็บไซต์ และสามารถทจี่ ะเผยแพรเ่ รอ่ื งราวของตนผา่ นทางอินเทอรเ์ น็ต โดยลักษณะของ การ
เผยแพร่อาจจะเป็นรูปภาพ วิดีโอ การเขียนขอ้ ความลงในบลอ็ ก อีกท้ังยงั เปน็ เว็บที่เนน้ การหาเพอ่ื นใหม่ หรอื การคน้ หา
เพื่อนเก่าท่ีขาดการตดิ ต่อ การเขยี นบทความได้
อย่างเสรี ซึ่งอาจจะถกู นำมาใชไ้ ด้ใน 2 รปู แบบ ได้แก่
1.1 Blog บล็อก เปน็ ช่ือเรียกสัน้ ๆ ของ Weblog ซึ่งมาจากคำว่า “Web” รวมกับคำวา่ “Log” ท่เี ป็นเสมอื น
บนั ทึกหรอื รายละเอียดข้อมูลทเ่ี ก็บไว้ ดงั นน้ั บล็อกจงึ เปน็ โปรแกรมประยุกต์บนเวบ็ ที่ใช้เก็บบนั ทกึ เรื่องราว หรอื เน้ือหาที่
เขยี นไว้โดยเจา้ ของเขียนแสดงความรูส้ กึ นกึ คิดตา่ งๆ โดยทั่วไปจะมผี ้ทู ่ีทำหนา้ ทห่ี ลกั ท่ีเรียกว่า “Blogger” เขยี นบันทึก
หรอื เลา่ เหตุการณ์ที่อยากให้คนอ่านได้รบั รู้ หรือเปน็ การเสนอมุมมองและแนวความคิดของตนเองใสเ่ ขา้ ไปในบล็อกนนั้
1.2 ไมโครบลอ็ ก (Micro Blog) เครือขา่ ยสงั คมออนไลนป์ ระเภทนม้ี ลี ักษณะเดน่ โดยการใหผ้ ้ใู ชโ้ พสต์ข้อความ
จำนวนสัน้ ๆ ผา่ นเว็บผู้ใหบ้ รกิ าร และสามารถกำหนดใหส้ ่งขอ้ ความนนั้ ๆ ไปยงั โทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่ได้ เช่น Twitter
2. สร้างและประกาศผลงาน (Creative Network) เครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ประเภทน้ี เป็นสงั คมสำหรับผใู้ ช้ที่
ตอ้ งการแสดงออกและนำเสนอผลงานของตัวเอง สามารถแสดงผลงานไดจ้ ากทว่ั ทุกมุมโลก จึงมเี วบ็ ไซต์ทใ่ี ห้บริการพ้ืนท่ี
เสมอื นเป็นแกลเลอร่ี (Gallery) ที่ใช้จดั โชว์ผลงานของตวั เองไม่ว่าจะเปน็ วิดีโอ รปู ภาพ เพลง อกี ทงั้ ยงั มีจุดประสงคห์ ลัก
เพ่ือแชร์เนือ้ หาระหว่างผูใ้ ชเ้ ว็บท่ีใช้ฝากหรือแบง่ ปัน โดยใช้วธิ ีเดยี วกันแบบเว็บฝาก
ภาพ แตเ่ ว็บนี้เนน้ เฉพาะไฟล์ทเี่ ป็นมัลตมิ ีเดีย ซึ่งผใู้ ห้บริการเครือขา่ ยสังคม
ออนไลน์ ประเภทนี้ ไดแ้ ก่ YouTube, Flickr, Multiply, Photobucket และ
Slideshare เป็นตน้
3. ความชอบในสิ่งเดยี วกัน (Passion Network) เปน็ เครือข่ายสงั คมออนไลน์ทที่ ำหน้าท่ีเก็บในสงิ่ ทชี่ อบไวบ้ น
เครอื ข่าย เป็นการสร้าง ท่ีค่นั หนงั สือออนไลน์ (Online Bookmarking) มีแนวคดิ เพ่ือให้ผใู้ ช้สามารถเก็บหนา้ เว็บเพจท่ี
คนั่ ไวใ้ นเครื่องคนเดยี วกน็ ำมาเกบ็ ไวบ้ นเว็บไซต์ได้ เพ่ือท่จี ะได้เป็นการแบง่ ปนั ให้กับคนที่มีความชอบในเรอ่ื งเดียวกนั
สามารถใช้เป็นแหล่งอา้ งอิงในการเข้าไปหาข้อมลู ได้ และนอกจากน้ียงั สามารถโหวตเพ่ือให้คะแนนกบั ที่ค่ันหนังสือ
ออนไลนท์ ่ีผูใ้ ชค้ ิดว่ามปี ระโยชนแ์ ละเป็นท่ีนยิ ม ซ่ึงผูใ้ หบ้ ริการเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ได้แก่ Digg, Zickr, Ning,
del.icio.us, Catchh และ Reddit เปน็ ต้น
4. เวทีทำงานร่วมกัน (Collaboration Network) เป็นเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ท่ตี ้องการความคิด ความรู้
และการต่อยอดจากผู้ใชท้ ่เี ปน็ ผูม้ คี วามรู้ เพ่ือให้ความรู้ทไี่ ด้ออกมามีการปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเน่อื งและเกิดการพัฒนาในทสี่ ุด
ซ่ึงหากลองมองจากแรงจูงใจทเี่ กดิ ขึ้นแลว้ คนท่ีเข้ามาในสังคมนม้ี ักจะเป็น
คนท่มี ีความภูมใิ จท่ีได้เผยแพร่สิ่งที่ตนเองรู้ และทำให้เกิดประโยชน์ตอ่
สังคม เพื่อรวบรวมขอ้ มูลความรู้ในเร่ืองต่างๆ ในลกั ษณะเนื้อหา ท้ัง
วชิ าการ ภูมิศาสตรป์ ระวตั ศิ าสตร์ สินค้า หรือบรกิ าร โดยส่วนใหญม่ ักเป็น
นกั วชิ าการหรือผเู้ ช่ยี วชาญ ผใู้ หบ้ ริการเครือขา่ ยสงั คมออนไลนใ์ นลกั ษณะ
เวทที ำงานร่วมกนั ในลักษณะเวทีทำงานร่วมกัน เช่น Wikipedia, Google earth และ
Google Maps เปน็ ตน้
5. ประสบการณเ์ สมือนจริง (Virtual Reality) เครือข่ายสังคมออนไลน์
ประเภทนีม้ ีลกั ษณะเป็นเกมออนไลน์ (Online games) ซ่ึงเป็นเว็บที่นิยมมากเพราะเปน็
แหล่งรวบรวมเกมไว้มากมาย มลี กั ษณะเปน็ วิดโี อเกมท่ีผ้ใู ช้สามารถเล่นบนเครือขา่ ย
อนิ เทอรเ์ นต็ เกมออนไลน์นม้ี ีลักษณะเป็นเกม 3 มติ ทิ ่ีผใู้ ชน้ ำเสนอตวั ตนตามบทบาทใน
เกม ผเู้ ล่นสามารถติดตอ่ ปฏสิ ัมพนั ธก์ บั ผเู้ ลน่ คนอืน่ ๆ ไดเ้ สมือนอย่ใู นโลกแห่งความเป็น
จรงิ สรา้ งความร้สู ึกสนกุ เหมือนได้มสี ังคมของผู้เล่นทชี่ อบในแบบเดียวกนั อีกท้ังยังมี
กราฟิกท่สี วยงามดงึ ดดู ความสนใจและมีกจิ กรรมตา่ งๆ ให้ผู้เล่นร้สู ึกบนั เทิง เชน่ Second Life, Audition, Ragnarok,
Pangya และ World of Warcraft เป็นตน้
6. เครอื ข่ายเพื่อการประกอบอาชพี (Professional Network) เป็นเครือข่ายสังคมออนไลนเ์ พอื่ การงาน โดย
จะเปน็ การนำประโยชนจ์ ากเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์มาใชใ้ นการเผยแพรป่ ระวตั ิผลงานของตนเอง และสรา้ งเครือข่ายเขา้
กบั ผู้อื่น นอกจากนบี้ ริษัทท่ีต้องการคนมารว่ มงาน สามารถเขา้ มาหาจากประวตั ิของผู้ใช้ที่อยใู่ นเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์น้ี
ได้ ผ้ใู หบ้ ริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภทน้ีไดแ้ ก่ Linkedin เป็นต้น
7. เครอื ขา่ ยท่เี ชื่อมตอ่ กนั ระหว่างผู้ใช้ (Peer to Peer : P2P)
เป็นเครอื ข่ายสังคมออนไลนแ์ หง่ การเช่อื มต่อกนั ระหว่างเครื่องผ้ใู ช้ดว้ ย
กันเองโดยตรง จึงทำใหเ้ กดิ การสื่อสารหรือแบง่ ปนั ขอ้ มูลต่างๆ ไดอ้ ย่างรวดเรว็
และตรงถึงผ้ใู ช้ทันที ซ่ึงผู้ใหบ้ ริการเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ ประเภทน้ี ไดแ้ ก่
Skype และ BitTorrent เปน็ ตน้
ท่มี าของข้อมูล http://phutthawan.blogspot.com/
ใบความรู้ที่ 3
กระบวนการและข้ันตอนการวจิ ยั
การวจิ ัย
การวจิ ัย เปน็ การหาคำตอบท่ีอยากรู้ สงสยั ท่เี ป็นปญั หาขอ้ ข้องใจ แต่คำตอบนน้ั ต้องเชอื่ ถือได้ ไม่ใช่การคาดเดา
หรอื คิดสรปุ ไปเองโดยใชค้ วามร้สู กึ วิธีการหาคำตอบจงึ ต้องเปน็ กระบวนการ และมีขัน้ ตอน
การวิจยั น้ันประกอบดวยสิ่งสาํ คญั คือ
1. คาํ ถาม ปญหา หรือขอสงสัยตาง ๆ เชน อยากรูวาเพื่อน ๆ ใน ศรช. ใชเวลาวางทําอะไร หรอื สงสยั วาผกั บุงจะ
ข้นึ ไดดใี นดนิ ทรายหรือดินเหนียว
2. กระบวนการหาคําตอบที่เปนระบบ ไมใชการคาดเดา เชน ไปสังเกต สอบถาม สัมภาษณ หรือทดลองปฏิบัติ
จรงิ โดยไปศึกษาวธิ ีปลกู ผักบุง การดูแลรกั ษา แลวมาปลูกจรงิ สังเกต บันทึกผล ที่เกิดขึ้นทุกขน้ั ตอน
3. รายงานผลการดําเนนิ งาน หรอื เรียกวา รายงานการวจิ ัย เปนการเขียนใหผูอื่นทราบวาทาํ ไมจึง
สนใจทําวิจัยเรื่องนน้ั ๆ มวี ธิ กี ารและข้นั ตอนการทาํ วิจัยอยางไร และผลสรปุ ทไี่ ดจากการวจิ ัยเปนอยางไร
ประโยชนของการวิจัย
ประโยชนของการวจิ ัย สาํ หรับผูทําวจิ ัยเอง มีหลายประการดงั น้ี
1. ทําใหมีความสนใจ กระตือรือรน สงสัย อยากรูอยากเห็นในส่งิ รอบตัว
2. ฝกการเปนคนมเี หตุผล เมือ่ มีปญหา ขอสงสัย ตองหาคาํ ตอบที่ถูกตอง ไมใชการคาดเดาหรือสรุปเอง
3. ฝกการศึกษาคนควา จากแหลงความรูตาง ๆ
4. ฝกการเปนคนชางคิด ชางสังเกต อดทน
5. ฝกการจดบันทกึ เขียนเรยี บเรียงอยางเปนระบบ
6. ฝกการทํางานรวมกบั ผูอ่นื
ประโยชนของการวจิ ยั สาํ หรับผูอื่น/หนวยงาน/สังคม
1. ความรูใหม ทนี่ าํ ไปใชในการพฒั นางานดานตาง ๆ
2. นวตั กรรมสิ่งประดษิ ฐใหม ๆ
ข้นั ตอนการทำวจิ ยั
การสรา้ งเคร่ืองมือการวจิ ยั
ในการดำเนินงานวิจัย มคี วามจำเปน็ ต้องมีการรวบรวมข้อมูล เพือ่ นำมาวเิ คราะห์ หาคำตอบ ตามวตั ถุประสงค์
ของการวิจัยทกี่ ำหนด เครื่องมือการวจิ ัย เปน็ สิ่งสำคญั ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ส่ิงท่ตี ้องการศึกษา เครื่องมือที่ใชใ้ นการ
วิจยั มหี ลายประเภท แต่ไมว่ า่ จะเป็นเคร่ืองมือการวจิ ัยแบบใด ลว้ นมจี ุดมุ่งหมายเดียวกนั คือต้องการได้ข้อมลู ท่ีตรงตาม
ข้อเทจ็ จรงิ เพ่อื ทำให้ผลงานวิจัย เช่ือถือได้ และเกิดประโยชน์มากทส่ี ดุ
ประเภทของเคร่อื งมือการวจิ ัยท่ีนิยมใชก้ ันมาก ไดแ้ ก่
การใช้แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์ และแบบสงั เกต
การสร้างแบบสอบถาม
แบบสอบถามเปน็ เครื่องมือการวิจยั ที่นิยมนำมาใช้รวบรวมข้อมูลงานวจิ ยั เชงิ ปริมาณ เช่น การวิจัยเชิงสำรวจ
การวจิ ยั เชิงอธิบาย เปน็ ตน้
แบบสอบถามมที ้ังแบบสอบถามปลายปิด และแบบสอบถามปลายเปิด
การเขียนโครงการวิจัย
โครงร่างการวจิ ยั ควรมอี งค์ประกอบสำคญั ดังนี้
1. ช่อื เรอ่ื ง
2. ความสาํ คัญและทีม่ าของปัญหาการวจิ ัย
3. วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั
4. คําถามของการวิจยั
5. ทฤษฎีและงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วข้อง
6. สมมติฐาน*และกรอบแนวความคดิ ในการวิจยั *
7. ขอบเขตของการวิจยั
8. การใหค้ าํ นยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตทิ ่ีจะใช้ในการวจิ ยั *
9. ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รับจากการวิจัย
10.ระเบยี บวิธวี ิจยั
11.ระยะเวลาในการดําเนินงาน
12.งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยในการวจิ ยั
13.บรรณานกุ รม
14.ภาคผนวก*
15.ประวัตขิ องผูด้ าํ เนินการวจิ ัย
*ไม่จาํ เป็นต้องมีทกุ โครงการ
1. ชื่อเรื่อง (the title)
ช่ือเร่ืองควรมีความหมายสัน้ กะทัดรัดและชัดเจน เพอ่ื ระบุถงึ เรือ่ งท่ีจะทําการศกึ ษาวิจัย วา่ ทําอะไร กับใคร ท่ี
ไหน อยา่ งไร เมอื่ ใด หรือต้องการผลอะไร
ยกตวั อย่างเช่น “ประสิทธผิ ลของการใช้วคั ซนี ป้องกนั โรคหัดเยอรมันกบั ทหารในศนู ย์ฝกทหารใหม ึ ่กรมยุทธ
ศึกษาทหารเรอื 2547”
2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา(background and rationale)
อาจเรียกตา่ งๆกัน เชน่ หลักการและเหตุผล ภมู หิ ลงั ของปัญหา ความจําเป็นท่ีจะทําการวิจยั หรอื
ความสําคัญของโครงการวิจัย ฯลฯ ไม่ว่าจะเรียกอย่างไร ต้องระบุว่าปัญหาการวจิ ัยคืออะไร มีความเป็นมาหรอื
ภูมิหลงั อยา่ งไร มคี วามสาํ คัญรวมทงั้ ความจําเป็น คณุ คาและประโยชน ่ ท์ ี่จะไดจ้ ากผลการวจิ ยั ในเรื่องน้ีโดยผู้วจิ ัยควรเร่ิม
จากการเขียนปูพื้นโดยมองปัญหาและวิเคราะห์ปัญหาอย่างกว้างๆ ก่อนว่าสภาพทั่วๆไปของปัญหาเป็นอย่างไร และ
ภายในสภาพที่กล่าวถึง มีปัญหาอะไรเกิดขึ้นบ้าง ประเด็นปัญหาที่ผู้วิจัยหยิบยกมาศึกษาคืออะไร ระบุว่ามีการศึกษา
เกี่ยวกับเร่ืองน้มี าแล้วหรอื ยัง ทใ่ี ดบ้าง และการศกึ ษาที่เสนอนีจ้ ะชว่ ยเพมิ่ คณุ คา่ ตอ่ งานด้านนไ้ี ดอ้ ย่างไร
3. วัตถุประสงคของการวิจยั (objectives)
เป็นการกาํ หนดว่าต้องการศึกษาในประเด็นใดบ้าง ในเรอื่ งที่จะทาํ วิจยั ต้องชดั เจน และเฉพาะเจาะจง ไม่
คลมุ เครือ โดยบง่ ชีถ้ งึ สง่ิ ทจ่ี ะทาํ ทั้งขอบเขต และคําตอบที่คาดว่าจะได้รบั ทง้ั ในระยะสัน้ และระยะยาว การตั้ง
วตั ถปุ ระสงคต์ ้องใหส้ มเหตุสมผล กบั ทรพยากรท ั ีเ่ สนอขอ และเวลาทจะใช ี่ ้จาํ แนกไดเ้ ป็น 2 ชนิด คอื
4. คาํ ถามของการวิจัย (research question )
เป็นสง่ิ สาํ คญั ทผี่ ู้วจิ ยั ต้องกำหนดหนดขึน้ (problem identification) และให้นยิ ามปญั หาน้นั อย่างชัดเจนเพราะ
ปญั หาท่ีชัดเจน จะชว่ ยใหผ้ ูว้ จิ ยั กําหนดวตั ถุประสงค์ตั้งสมมตฐิ าน ใหน้ ิยามตวั แปรท่สี าํ คัญ ๆ ตลอดจนการวัดตวั แปร
เหล่าน้นั ไดถ้ ้าผ้วู จิ ัย ตง้ั คําถามที่ไมช่ ัดเจน สะทอ้ นให้เห็นว่า แมแ้ ต่ตัวกย็ ังไม่แนใ่ จ วา่ จะศึกษาอะไร ทาํ ให้การวางแผนใน
ขน้ั ตอนต่อไป เกดิ ความสับสนได้
5. ทฤษฎแี ละงานวจิ ัยที่เก่ยี วขอ้ ง (review of related literatures)
อาจเรียกวา่ การทบทวนวรรณกรรม สว่ นนีเ้ ป็นการเขียนถึงส่งิ ที่ผู้วจิ ยั ไดม้ าจากการศึกษาค้นควา้
เอกสารตา่ งๆ ท้ังทฤษฎแี ละงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ งไดแ้ ก่ ทฤษฎีหลักการ ขอ้ เท็จจริงตา่ งๆ แนวความคดิ ของ
ผู้เช่ยี วชาญ ตลอดจนผลงานวจิ ยั ต่างๆ ทีเ่ กยี่ วข้องกับปัญหาของผ้วู ิจยั รวมท้งั มองเห็นแนวทางในการดาํ เนินการศึกษา
ร่วมไปกับผู้วจิ ัยดว้ ย โดยจดั ลาํ ดบั หวั ขอ้ หรอื เนื้อเรื่องทเ่ี ขยี นตามตวั แปรทศ่ี ึกษา และในแต่ละหวั ข้อเนื้อเร่ืองก็จดั เรยี ง
ตามลาํ ดับเวลาด้วย เพื่อให้ผู้อ่านไดเ้ ห็นพัฒนาการตา่ งๆ ทีเ่ กี่ยวกับปัญหา นอกจากนีผ้ วู้ จิ ัยควรจะตอ้ งมกี ารสรุปไวด้ ้วย
เพอื่ ใหผ้ อู้ า่ นไดเ้ หน็ ความสมั พันธ์ทง้ั สว่ นที่สอดคล้องกัน ขดั แยง้ กนั และสว่ นที่ยงั ไม่ไดศ้ ึกษาทั้งในแงป่ ระเดน็ เวลา
สถานที่ วิธีการศกึ ษาฯลฯ การเขยี นสว่ นน้ีทาํ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการต้งั สมมตฐิ านดว้ ยหลังจากทผี่ ู้วจิ ยั ได้เขยี นเรียบเรียง
การทบทวนวรรณกรรมแลว้ ควรมกี ารประเมนิ งานเขียนเรียบเรยี งนน้ั
6. สมมตฐิ าน (Hypothesis)และกรอบแนวคิดในการวิจยั (conceptual framework)
การต้งั สมมติฐาน เป็นการคาดคะเนหรือการทายคําตอบอยา่ งมเี หตุผล มกั เขียนในลักษณะ การแสดง
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตัวแปรอสิ ระหรือตวั แปรตน้ (independent variables) และตวั แปรตาม (dependent
variable) เชน่ การติดเฮโรอีนชนิดฉดี เป็นปจั จยั เสย่ี งของโรคเอดส์สมมตฐิ านทําหนา้ ท่เี สมอื นเป็นทิศทางและแนวทาง
ในการวิจัย จะช่วยเสนอแนะ แนวทางในการ เก็บรวบรวมข้อมูล และการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตอ่ ไป
7. ขอบเขตของการวจิ ัย
เป็นการระบุให้ทราบว่าการวิจยั ที่จะศึกษามขี อบข่ายกวา้ งขวางเพียงใด เนอื่ งจากผ้วู ิจัยไมส่ ามารถ
ทําการศึกษาไดค้ รบถว้ นทกุ แง่ทุกมุมของปญหาน้ันจงึ ต้องกําหนดขอบเขตของการศึกษาใหแ้ นน่ อน ว่าจะ
ครอบคลุมอะไรบา้ ง ซึง่ อาจทําได้โดยการกาํ หนดขอบเขตของเรอื่ งใหแ้ คบลงเฉพาะตอนใดตอนหน่งึ ของสาขาวชิ า หรอื
กําหนดกลุม่ ประชากร สถานทวี่ จิ ัย หรอื ระยะเวลา
8. การใหค้ ํานิยามเชงิ ปฏิบติัท่จี ะใชใ้ นการวจิ ัย (operational definition)
ในการวจิ ัยอาจมีตวั แปร (variables) หรือคาํ (terms) ศพั ท์เฉพาะต่าง ๆ ทีจ่ ําเป็นต้องให้คาํ จํากดั ความอย่าง
ชดั เจน ในรปู ที่สามารถสงั เกต (observation) หรอื วัด (measurement) ได้ไมเ่ ช่นนน้ั แล้ว อาจมกี ารแปลความหมายไป
ไดห้ ลายทาง ตวั อย่างเชน่ คาํ วา่ คุณภาพชวี ติ , ตัวแปรทเี่ ก่ียวกับความรทู้ ัศนคติ , ความพงึ พอใจ, ความปวด เปน็ ต้น
9. ประโยชนทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับจากการวจิ ัย(expected benefits and application)
อธบิ ายถึงประโยชนท์ ่จี ะนาํ ไปใช้ไดจ้ รงิ ในดา้ นวชิ าการ เชน่ จะเป็นการค้นพบทฤษฎีใหมซง่ึ สนบั สนุน
หรือ คัดค้านทฤษฎีเดิม และประโยชนใ์ นเชิงประยุกต์เช่น นาํ ไปวางแผนและกําหนดนโยบายต่างๆ หรือ
ประเมนิ ผลการปฏิบัติงานเพื่อหาแนวทางพัฒนาให้ดีข้นึ
10.ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย (research methodology)
เปน็ การให้รายละเอยี ดเก่ียวกับขั้นตอนในการดาํ เนินการวจิ ัยวา่ แต่ละข้ันตอนจําทําอย่างไร โดยทว่ั ไป
เป็นการใหร้ ายละเอียดในเร่ืองตอ่ ไปนคี้ ือ
11.ระยะเวลาในการดำเนินงาน
ผู้วจิ ยั ต้องระบถุ ึงระยะเวลาท่ีจะใช้ในการดําเนินงานวจิ ยั ทง้ั หมดวา่ จะใช้เวลานานเท่าใด และต้องระบุ
ระยะเวลาที่ใช้สาํ หรับแต่ละขั้นตอนของการวิจัย วธิ ีการเขียนรายละเอยี ดของหัวข้อน้ีอาจทําได้ 2 แบบ ตามที่
แสดงไว้ในตัวอยา่ งต่อไปน้ี (การวจิ ยั ใช้เวลาดาํ เนนิ การ 12 เดือน)
12.งบประมาณคา่ ใช้จ่ายในการวจิ ยั
อธิบายถงึ งบประมาณและค่าใชจ้ ่ายในการดำเนินการวจิ ยั ท้งั หมด