ใบความรทู้ ่ี 1
โครงงานวิทยาศาสตร์
ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ การศึกษาเพ่ือพบขอ้ ความรใู้ หม่ ส่งิ ประดษิ ฐ์ใหม่ ๆ ทางวิทยาศาสตร์ด้วย
ตวั ของผู้เรียนเอง โดยใชว้ ธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ในการแกป้ ัญหาโดยมคี รอู าจารยแ์ ละผู้เชี่ยวชาญเป็นผูใ้ ห้คำปรกึ ษา
โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง “กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์อย่างหนึ่งที่นำเอาวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ มา
ใช้ในการศึกษาเพ่ือแก้ปัญหา หรือตอบปัญหาที่สงสัยหรือประดิษฐ์คดิ ค้นส่ิงใหม่ โดยเริ่มต้นจาก นักเรียนเป็นผ้คู ิด
และเลือกเรื่องที่ต้องการศึกษา วางแผน ลงมือปฏิบัติ บันทึกผล สรุปผลและเสนอผลด้วยตนเอง จนส ำเร็จทุก
ขน้ั ตอน”
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
1. โครงงานประเภทการทดลอง
2. โครงงานประเภทการสำรวจรวบรวมขอ้ มูล
3. โครงงานประเภทการสรา้ งสง่ิ ประดิษฐ์
4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎแี ละหลักการ
โครงงานประเภทการทดลอง
เปน็ โครงงานท่ตี ้องมีการออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาผลของตวั แปรตน้ หรือตวั แปร อสิ ระที่มีต่อตัวแปร
ตาม และมีการควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ที่ไม่ต้องการศึกษาที่จะส่งผลการศึกษาคลาดเคลื่อน ขั้นตอนการทำโครงงาน
ประเภทน้ีจะต้องมีการกำหนดปัญหา ตั้งสมมติฐาน ออกแบบการทดลอง ดำเนินการทดลองเพื่อหาคำตอบของ
ปัญหา หรือตรวจสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้ แปรผล และสรุปผล การทำโครงงานประเภททดลองนี้ ในบางครั้งอาจ
จำเป็นต้องทำการทดลองเพื่อศึกษาความเป็นไป ได้เบื้องต้น (Preliminary Study) เสียก่อนเพื่อให้ได้ข้อมูลบาง
ประการมาใช้ประกอบการตัดสินใจ เพื่อกำหนดรายละเอยี ดต่าง ๆ ของการศกึ ษาคน้ คว้าจรงิ ต่อไป
โครงงานประเภทการสา รวจรวบรวมขอ้ มลู
เป็นโครงงานที่มีการสำรวจรวบรวมข้อมูลมีอยู่ในธรรมชาติแล้วนำมาจำแนกเป็น หมวดหมู่โดยไม่มีการ
กำหนดตวั แปร นำเสนอในแบบต่าง ๆ เพื่อให้เห็นลักษณะ หรอื ความสมั พนั ธ์ของ เรือ่ งทศี่ กึ ษาไดช้ ัดเจนขึ้น
โครงงานประเภทการสรา้ งสิง่ ประดิษฐ์
เป็นโครงงานที่เกี่ยวกับการประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้
หรืออุปกรณ์เพื่อประโยชน์ใช้สอยต่าง ๆ อาจคิดประดิษฐ์ของใหม่ หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้น ลักษณะโครงงานประเภทนี้จะต้องมีการกำหนดตัวแปรที่ต้องการศึกษาเหมือนกับโครงงาน
ประเภททดลอง แต่ผลของโครงงานประเภทนี้จะได้อุปกรณ์หรือสิ่งประดิษฐ์และมีข้อมูลต่าง ๆ ประกอบด้วย ซึ่ง
ต่างจากโครงงานประเภททดลองตรงทีผ่ ลของโครงงาน ประเภททดลองจะมีแต่เฉพาะข้อมูล โครงงานสิ่งประดษิ ฐ์
นี้จะมีการกำหนดตัวแปรที่จะศึกษาซึ่งมีทั้งตัว แปรต้นหรือตัวแปรอิสระ ตัวแปรตามและตัวแปรควบคุม
เชน่ เดยี วกบั โครงงานประเภททดลอง
โครงงานประเภทการสรา้ งทฤษฎี
เป็นโครงงานที่ได้เสนอทฤษฎี หลักการ หรือแนวความคิดใหม่ ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตรสมการ หรือ
คำอธิบายก็ได้ โดยผู้เสนอไดต้ ้ังกติกา หรือข้อตกลงน้ัน หรืออาจใช้กตกิ าและข้อตกลงเดมิ มา อธิบายปรากฏการณ์
ต่าง ๆ ในแนวใหม่ อาจเสนอหลักการ แนวความคิด หรือจินตนาการที่ยังไม่มีใครคิด มาก่อน อาจเป็นการขัดแย้ง
หรือขยายทฤษฎเี ดิม แตจ่ ะต้องมขี อ้ มลู หรอื ทฤษฎีอ่นื มาสนบั สนนุ อ้างอิง
การเขียนโครงงานวิทยาศาสตร์
การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นการเสนอผลงานการดำเนินการเป็นเอกสารจัดว่าเป็น
ขั้นตอนสำคัญอีกประการหนึ่งของโครงงาน เมื่อนักเรียนดำเนินการทำโครงงานจนครบขั้นตอนได้ข้อมูล ทำการ
วเิ คราะหข์ อ้ มลู พรอ้ มท้ังแปรผล และสรุปผลแล้ว งานข้นั ต่อไปท่ตี อ้ งทำคอื การเขยี นรายงาน
การเขียนรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เปน็ วธิ ีสือ่ ความหมายที่มีประสิทธิภาพวธิ หี น่ึงเพื่อให้คนอื่น ๆ ได้
เข้าใจแนวความคิด วิธีดำเนินงานศึกษาค้นคว้าข้อมูล ผลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับ
โครงงานน้ัน
การเขยี นรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยหัวข้อตา่ ง ๆ ดงั นี้
1. ชอื่ โครงงาน
2. ชือ่ ผู้จดั ทำโครงงาน
3. ช่ืออาจารยท์ ป่ี รกึ ษาโครงงาน
4. บทคดั ย่อ
5. กิตตกิ รรมประกาศ (คำขอบคณุ )
6. ทม่ี าและความสำคญั ของโครงงาน
7. วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน
8. สมมติฐานของการศึกษาค้นควา้ (ถ้าม)ี
9. ขอบเขตของการทำโครงงาน
10.วธิ ีดำเนนิ การ
11.ผลการศึกษาคน้ ควา้
12. สรุปผลและข้อเสนอแนะ
13. เอกสารอา้ งองิ
ใบความร้ทู ี่ 2
ประเภทของเครือขา่ ยสังคมออนไลน์
ประเภทของเครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ให้บริการตามเว็บไซต์สามารถแบ่งขอบเขตตามการใช้งานโดยดูที่วัตถุประสงค์
หลักของการเข้าใช้งาน และคุณลักษณะของเว็บไซต์ที่มีร่วมกัน กล่าวคือ วัตถุประสงค์ของการเข้าใช้งานมี
เป้าหมายในการใช้งานไปในทางเดยี วกันมีการแบ่งประเภทของเครือข่ายสังคมออนไลน์ออกตามวัตถุประสงค์ของ
การเข้าใช้งาน ได้ 7 ประเภท
1. สรา้ งและประกาศตวั ตน (Identity Network) เครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภทน้ีใช้สำหรบั ให้ผู้เขา้ ใช้งานได้มี
พ้ืนท่ใี นการสร้างตวั ตนข้นึ มาบนเวบ็ ไซต์ และสามารถทจ่ี ะเผยแพรเ่ รื่องราวของตนผ่านทางอินเทอรเ์ น็ต โดย
ลักษณะของ การเผยแพร่อาจจะเป็นรูปภาพ วิดโี อ การเขยี นขอ้ ความลงในบลอ็ ก อีกท้งั ยังเป็นเว็บทเี่ น้นการหา
เพื่อนใหม่ หรือการคน้ หาเพอ่ื นเก่าท่ขี าดการติดต่อ
การเขยี นบทความได้อย่างเสรี ซ่งึ อาจจะถกู นำมาใช้ไดใ้ น 2 รปู แบบ ได้แก่
1.1 Blog บล็อก เป็นชื่อเรยี กสัน้ ๆ ของ Weblog ซง่ึ มาจากคำว่า “Web” รวมกบั คำวา่ “Log” ที่เป็น
เสมือนบันทึกหรือรายละเอียดข้อมลู ทเี่ กบ็ ไว้ ดงั นั้นบล็อกจึงเปน็ โปรแกรมประยกุ ตบ์ นเว็บทใ่ี ชเ้ ก็บบนั ทึกเรื่องราว
หรอื เนื้อหาทเ่ี ขยี นไว้โดยเจา้ ของเขยี นแสดงความรู้สึกนึกคิดตา่ งๆ โดยทวั่ ไปจะมีผูท้ ่ที ำหน้าที่หลักทเี่ รยี กว่า
“Blogger” เขยี นบนั ทึกหรอื เลา่ เหตกุ ารณ์ท่ีอยากใหค้ นอา่ นได้รบั รู้ หรอื เปน็ การเสนอมุมมองและแนวความคดิ ของ
ตนเองใสเ่ ขา้ ไปในบล็อกน้ัน
1.2 ไมโครบลอ็ ก (Micro Blog) เครือข่ายสงั คมออนไลน์ประเภทนม้ี ลี กั ษณะเดน่ โดยการใหผ้ ูใ้ ช้โพสต์
ข้อความจำนวนสนั้ ๆ ผ่านเว็บผใู้ หบ้ รกิ าร และสามารถกำหนดใหส้ ง่ ข้อความนั้นๆ ไปยงั โทรศัพทเ์ คล่อื นทไ่ี ด้ เชน่
Twitter
2. สรา้ งและประกาศผลงาน (Creative Network) เครือขา่ ยสงั คมออนไลนป์ ระเภทนี้ เป็นสังคม
สำหรับผใู้ ชท้ ี่ต้องการแสดงออกและนำเสนอผลงานของตัวเอง สามารถแสดงผลงานไดจ้ ากท่วั ทกุ มมุ โลก จงึ มี
เว็บไซตท์ ใ่ี ห้บริการพื้นทีเ่ สมือนเปน็ แกลเลอร่ี (Gallery) ทีใ่ ชจ้ ดั โชวผ์ ลงานของตัวเองไมว่ ่าจะเปน็ วิดโี อ รปู ภาพ
เพลง อีกท้งั ยงั มีจดุ ประสงคห์ ลกั เพื่อแชร์เนือ้ หาระหว่างผ้ใู ชเ้ วบ็ ทีใ่ ชฝ้ ากหรอื
แบ่งปนั โดยใช้วธิ เี ดยี วกนั แบบเวบ็ ฝากภาพ แต่เว็บนเี้ น้นเฉพาะไฟล์ทเ่ี ป็น
มัลตมิ เี ดีย ซง่ึ ผู้ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ ประเภทนี้ ไดแ้ ก่
YouTube, Flickr, Multiply, Photobucket และ Slideshare เป็นต้น
3. ความชอบในส่ิงเดยี วกัน (Passion Network) เป็นเครือข่ายสงั คมออนไลนท์ ี่ทำหนา้ ท่เี ก็บในส่งิ ที่
ชอบไวบ้ นเครือขา่ ย เป็นการสรา้ ง ท่ีคน่ั หนงั สอื ออนไลน์ (Online Bookmarking) มีแนวคดิ เพื่อให้ผใู้ ชส้ ามารถเกบ็
หนา้ เวบ็ เพจที่คน่ั ไวใ้ นเครื่องคนเดยี วก็นำมาเก็บไว้บนเวบ็ ไซต์ได้ เพ่ือที่จะไดเ้ ปน็ การแบ่งปันใหก้ ับคนที่มคี วามชอบ
ในเร่ืองเดียวกัน สามารถใช้เป็นแหล่งอ้างอิงในการเขา้ ไปหาข้อมูลได้ และนอกจากน้ยี งั สามารถโหวตเพื่อให้คะแนน
กบั ที่คน่ั หนังสือออนไลน์ทีผ่ ูใ้ ชค้ ิดว่ามปี ระโยชนแ์ ละเปน็ ทนี่ ิยม ซึง่ ผู้ใหบ้ ริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ ไดแ้ ก่ Digg,
Zickr, Ning, del.icio.us, Catchh และ Reddit เป็นต้น
4. เวทีทำงานรว่ มกนั (Collaboration Network) เป็นเครือขา่ ยสังคมออนไลนท์ ่ีต้องการความคิด
ความรู้ และการต่อยอดจากผใู้ ชท้ ่เี ป็นผมู้ คี วามรู้ เพื่อให้ความร้ทู ไี่ ด้ออกมามีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและเกิดการ
พัฒนาในทส่ี ุด ซงึ่ หากลองมองจากแรงจูงใจที่เกิดขึ้นแลว้ คนท่ีเข้า
มาในสงั คมน้ีมกั จะเป็นคนที่มีความภมู ใิ จที่ได้เผยแพร่สง่ิ ท่ีตนเองรู้
และทำให้เกิดประโยชน์ต่อสงั คม เพื่อรวบรวมขอ้ มลู ความรู้ในเร่ือง
ตา่ งๆ ในลกั ษณะเนอ้ื หา ทั้งวิชาการ ภูมิศาสตรป์ ระวตั ศิ าสตร์
สนิ ค้า หรอื บริการ โดยส่วนใหญม่ ักเป็นนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญ
ผู้ใหบ้ รกิ ารเครือข่ายสังคมออนไลน์ในลกั ษณะเวทีทำงานร่วมกนั ในลักษณะเวทที ำงาน
ร่วมกนั เช่น Wikipedia, Google earth และ Google Maps เปน็ ตน้
5. ประสบการณเ์ สมือนจริง (Virtual Reality) เครือข่ายสังคมออนไลน์
ประเภทนีม้ ลี ักษณะเปน็ เกมออนไลน์ (Online games) ซงึ่ เป็นเวบ็ ทีน่ ยิ มมากเพราะเปน็
แหล่งรวบรวมเกมไว้มากมาย มลี ักษณะเป็นวดิ ีโอเกมทผ่ี ู้ใช้สามารถเลน่ บนเครือข่าย
อนิ เทอรเ์ น็ต เกมออนไลน์นมี้ ีลกั ษณะเปน็ เกม 3 มิตทิ ผี่ ใู้ ช้นำเสนอตัวตนตามบทบาทใน
เกม ผ้เู ลน่ สามารถตดิ ต่อปฏสิ ัมพันธ์กับผ้เู ลน่ คนอน่ื ๆ ได้เสมือนอยู่ในโลกแหง่ ความเปน็
จริง สร้างความรูส้ ึกสนกุ เหมือนไดม้ ีสังคมของผู้เล่นทชี่ อบในแบบเดียวกนั อีกทั้งยังมี
กราฟิกที่สวยงามดงึ ดดู ความสนใจและมีกิจกรรมต่างๆ ให้ผเู้ ลน่ รสู้ กึ บันเทงิ เช่น Second Life, Audition,
Ragnarok, Pangya และ World of Warcraft เปน็ ตน้
6. เครอื ข่ายเพ่ือการประกอบอาชพี (Professional Network) เปน็ เครือข่ายสงั คมออนไลนเ์ พอื่ การ
งาน โดยจะเป็นการนำประโยชน์จากเครือขา่ ยสงั คมออนไลนม์ าใช้ในการเผยแพรป่ ระวตั ผิ ลงานของตนเอง และ
สร้างเครอื ข่ายเข้ากบั ผู้อืน่ นอกจากนบ้ี รษิ ัทท่ตี ้องการคนมารว่ มงาน สามารถเข้ามาหาจากประวัตขิ องผู้ใชท้ ่ีอยู่ใน
เครอื ข่ายสังคมออนไลนน์ ้ีได้ ผูใ้ ห้บริการเครือข่ายสงั คมออนไลน์ประเภทน้ีไดแ้ ก่ Linkedin เปน็ ต้น
7. เครอื ขา่ ยทเี่ ช่ือมต่อกันระหวา่ งผู้ใช้ (Peer to Peer : P2P)
เปน็ เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์แหง่ การเชอื่ มต่อกนั ระหว่างเคร่ืองผู้ใช้ดว้ ย
กันเองโดยตรง จึงทำให้เกิดการสอ่ื สารหรือแบ่งปนั ข้อมลู ตา่ งๆ ไดอ้ ย่างรวดเรว็
และตรงถึงผู้ใช้ทนั ที ซ่งึ ผ้ใู ห้บริการเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ประเภทน้ี ได้แก่
Skype และ BitTorrent เป็นต้น
ทมี่ าของข้อมลู http://phutthawan.blogspot.com/
ใบความรูท้ ่ี 3
ชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of Practice – CoP)
ชุมชนนกั ปฏบิ ัติ
ชุมชนนักปฏิบัติ คือ ชมุ ชนท่ีมีการรวมตัวกัน หรอื เช่ือมโยงกนั อยา่ งไมเ่ ป็นทางการ โดยมีลกั ษณะดงั น้ี
-ประสบปญั หาลักษณะเดยี วกัน
-มคี วามสนใจในเรื่องเดยี วกัน
-ตอ้ งการแลกเปลย่ี นประสบการณ์จากกนั และกัน
-มีเป้าหมายร่วมกนั มีความมุ่งมนั่ ร่วมกนั ทจี่ ะพฒั นาวธิ กี ารทำงานได้ดขี ึ้น
-วิธีปฏิบตั คิ ล้ายกนั ใช้เครือ่ งมือและภาษาเดียวกัน
-มคี วามเชอื่ และยึดถือคุณค่าเดียวกัน
-มบี ทบาทในการสร้าง และใชค้ วามรู้
-มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้จากกนั และกนั อาจจะพบกนั ดว้ ยตวั จรงิ หรือผ่านเทคโนโลยี
-มชี ่องทางเพ่ือการไหลเวียนของความรู้ ทำใหค้ วามรู้เข้าไปถงึ ผูท้ ่ตี ้องการใช้ไดง้ ่าย
-มีความรว่ มมือช่วยเหลือ เพือ่ พฒั นาและเรยี นร้จู ากสมาชิกดว้ ยกนั เอง
-มีปฏิสัมพันธต์ อ่ เนื่อง มีวิธีการเพ่อื เพ่ิมความเข้มแข็งให้แก่สายในทางสังคม
ชมุ ชนนักปฏิบตั ิ (Community of Practice – CoP)
คือ กลุ่มของคนซึ่งมาแลกเปลี่ยนความรู้ ปัญหา หรือความสนใจในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง และเรียนรู้วิธีการ
เพื่อให้สามารถปฏิบัติหรือทำให้ดีขึ้นกว่าเดิม เป็นการแลกเปลี่ยน และสร้างทักษะ สร้างความรู้ และความ
เชี่ยวชาญให้เกิดขึ้นในกลุ่ม บ่อยครั้งที่เน้นในการแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบตั ิที่ดที ี่สดุ (Best practices) ชุมชนนักปฏิบัติ
ได้กลายเปน็ สิ่งสำคญั เน่อื งจากทุกวนั น้ี องคก์ ร กล่มุ ทำงาน ทมี งาน และแมแ้ ต่ตวั บุคคลเอง ต้องทำงานร่วมกันใน
แนวทางใหม่ ความรว่ มมอื ขา้ มองค์กรจึงเป็นสงิ่ สำคญั ชุมชนนักปฏบิ ัตจิ ึงเป็นรปู แบบใหม่สำหรับการเชื่อมโยงคนที่
มีจิตใจในการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนความรู้ และความร่วมมือ ไม่ว่าจะเป็นรายบุคคล เป็นกลุ่มและถือว่าเป็นการ
พัฒนาองคก์ ร
ชุมชนนักปฏิบัติ เกิดขึ้นโดย ดร. Etienne Wenger และทีมงานเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกกลุ่มแรกที่สร้าง
แนวคิดนี้ขึ้นมาผ่านการศึกษา การฝึกหัดงาน พวกเขาพบว่ามีความซับซ้อนในสังคมของการฝึกงานที่ทำให้เกิด
ประสิทธิภาพ และได้ตั้งชื่อว่า ชุมชนนักปฏิบัติ ชุมชนนักปฏิบัติจึงกลายเป็นศูนย์กลางของการจัดการความรู้
หลังจากที่หนังสือเล่มแรกเกี่ยวกับชุมชนนักปฏิบัติ ที่ชื่อว่า Communities of Practice – Learning, Meaning,
and Identity ได้พิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1998 ตั้งแต่นั้นมา ชุมชนนักปฏิบัติมีบทบาทสำคัญในบริบทของการ
จัดการความร้โู ดยเฉพาะอย่างยิ่งการแลกเปล่ียนความรู้ภายในองค์กร และเป็นเคร่อื งมือในการทลายอุปสรรคที่ให้
ความร้ไู หลขา้ มองคก์ ร
ชุมชนนักปฏิบัติสำคญั เนือ่ งจาก
เชือ่ มโยงคน คนซง่ึ อาจจะไมเ่ คยมีโอกาสปฏิสมั พนั ธ์กนั เลย
จัดหาการแลกเปลี่ยน สำหรับคนทตี่ ้องสือ่ สารและแลกเปล่ียนสารสนเทศ เรอื่ งราว และประสบการณ์ของ
คนทีม่ อี ยูภ่ ายใน
ทำใหเ้ กดิ การสนทนา ระหวา่ งคนผ้ซู ึง่ มารวมตวั กันเพื่อสำรวจความเป็นไปได้ใหม่ๆ การแก้ปัญหาท่ีท้าทาย
และการสรา้ งโอกาสทเ่ี ป็นประโยชน์
กระต้นุ การเรยี นรู้ ดว้ ยการทำตวั เหมือนพาหนะสำหรบั การส่ือสารที่น่าถกู ต้อง การตดิ ตาม การสอน และ
การสะทอ้ นตัวตน
จับและเผยแพร่ความรู้ที่มอี ยู่ เป็นการช่วยเหลือคนเพื่อให้พัฒนาการปฏิบัติงานโดยการจัดกลุ่มเพื่อชี้เหน็
แนวทางการแก้ปญั หาและกระบวนการในการหาแนวทางปฏบิ ตั ิท่ีดที ีส่ ดุ
แนะนำกระบวนการที่เป็นความร่วมมือกันต่อกลุ่มและองค์กร และระหว่างองค์กร เพื่อสนับสนุนให้
ความคดิ ไหลออกมาไดอ้ ย่างอิสระและสนับสนุนการแลกเปลย่ี นสารสนเทศ
ทำให้เกิดความรู้ใหม่เพื่อช่วยคนโดยการถ่ายโอนการฝึกปฏิบัติของพวกเขาไปยังการเปลี่ยนแปลงที่ได้
จดั เตรยี มไวใ้ หแ้ ละเทคโนโลยี
ชมุ ชนนกั ปฏิบตั มิ อี งคป์ ระกอบ ดงั นี้
หัวข้อความรู้ (Domain) เป็นหัวข้อที่กำหนดขึ้นจากคนในกลุ่มที่สนใจในเรื่องเดียวกัน หัวข้อความรู้จึง
ไม่ได้จำเป็นต้องใช้ความเชี่ยวชาญจากคนนอกกลุ่มหรือชุมชน เป็นสิ่งที่มีคุณค่ามากกว่าในการที่จะรวบรวม
ศกั ยภาพหรอื การเรยี นร้ซู ่งึ กันและกันในกลมุ่
ชมุ ชน (Community) ในการรวมกันเปน็ กลุ่มน้นั ภายใต้ความสนใจหวั ข้อเดยี วกัน สมาชิกในกลุ่มจะต้องมี
ความสัมพันธ์กันในการร่วมกิจกรรมและอภิปราย ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และแบ่งปันสารสนเทศ ซึ่งเป็นเรื่อง
จำเป็นสำหรบั ชุมชนนกั ปฏิบัติ
แนวปฏิบัติ (Practice) สมาชิกในกลุ่มชุมชนนักปฏิบัติ ล้วนแต่เป็นนักปฏิบัติ จึงต้องพัฒนาในเรื่องการ
บันทึกประเด็นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันไว้ ทั้งจากประสบการณ์ การเล่าเรื่อง เครื่องมือต่างๆ วิธีการแก้ปัญหา
สงั เคราะห์ จดั เก็บและถา่ ยทอดโดยชมุ ชน