The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของแรง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by acroniss3435, 2022-07-03 09:54:07

ใบความรู้ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของแรง

ใบความรู้ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของแรง

ใบความรู้
เร่ือง แรงและการเคลอ่ื นทีข่ องแรง

แรงและการเคลอื่ นทีข่ องแรง
แรง หมายถงึ อำนาจภายนอกท่ีสามารถทำให้วตั ถเุ ปล่ียนสถานะได้ เชน่ ทำให้วตั ถุท่อี ย่นู ่งึ เคลื่อนที่ไป

ทำให้วัตถุที่เคลื่อนที่อยู่แล้วเคลื่อนที่เร็วหรือช้าลง ทำให้วัตถุมีการเปลี่ยนทิศตลอดจนทำให้วัตถุมีการเปลี่ยน
ขนาดหรือรูปทรงไปจากเดิมได้ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีทั้งขนาคและทิศทาง การรวมหรือหักล้างกันของ
แรงจึงตอ้ งเป็นไปตามแบบเวกเตอร์

ประเภทของแรง แรงมีหลายประเภท ไดแ้ ก่ แรงยอ่ ย แรงลพั ธ์ แรงกริ ิยาและแรงปฏิกิริยา แรงขนาน
แรงคคู่ วบ แรงตึง แรงสศู่ ูนยก์ ลาง แรงต้าน แรงเสียดทาน

แรงเสียดทาน หมายถึงแรงที่เกิดจากการเสียดสีระหว่างผิววัตถุที่มีการเคลื่อนที่หรือพยายามที่จะ
เคลื่อนที่ แรงเสียดทานเป็นแรงต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ มีทิศทางตรงข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่เสมอ
แรงเสียดทานมี 2 ชนดิ คือ

1. แรงเสยี ดทานสถติ คือ แรงเสียดทานที่เกดิ ขึ้นขณะวัตถุเร่ิมเคลือ่ นที่
2. แรงเสยี ดทานจลน์ คือ แรงเสียดทานทเี่ กดิ ข้นึ ขณะทว่ี ตั ถุเคลอื่ นที่
ปัจจัยที่มผี ลต่อแรงเสียดทาน
1. น้ำหนักของวัดถุ คือ วัตถุที่มีน้ำหนักกคทับลงบนพื้นผิวมากจะมีแรงเสียดทานมากกว่าวัตถุที่มี
นำ้ หนักกดทบั ลงบนพื้นผวิ นอ้ ย
2. พ้นื ผิวสมั ผสั ผวิ สมั ผัสที่เรียบจะเกิดแรงเสยี ดทานน้อยกว่าผิวสมั ผสั ท่ีขรุขระ
ประโยชน์ของแรงเสยี ดทาน
1. ปอ้ งกนั การเกดิ อบุ ตั ิเหตุทางรถยนต์
2. ปอ้ งกันการหกลม้ จากรองเท้า
โทษของแรงเสยี ดทาน
ถ้าล้อรถยนต์กับพื้นถนนมีแรงเสียดทานมากรถยนต์จะแล่นช้า ต้องใช้น้ำมันเชื้อเพลิงมากขึ้นเพื่อให้
รถยนต์มีพลงั งานมากพอท่ีจะเอาชนะแรงเสียดทาน การเคลอ่ื นตู้ขนาดใหญ่ ถา้ ใช้วิธผี ลักตปู้ รากฏว่าตู้เคล่ือนที่
ยากเพราะเกดิ แรงเสียดทานจะต้องออกแรงผลักมากขน้ึ หรือลดแรงเสียดทาน โดยใช้ผา้ รองขาตู้ทีด่ ้วยความเร็ว
คงที่ แรงดงึ ดูคของโลก หรอื แรงดึงดดู โน้มถ่วง (Gravitational force) ของโลก เปน็ พลังงานทเ่ี กดิ จากมวลสาร
ซ่ึงประกอบข้ึนมาเปน็ โลก เป็นแรงที่จะเกดิ ข้ึนเสมอกบั สสารทุกชนดิ ไม่ว่าจะเล็กจว๋ิ ถงึ ระดับอะตอม หรือใหญ่
ระดับโลก ระดับกาเล็กซี่ นั่นคือ สสารทุกชนิดหรือมวลสารทุกชนิดจะมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกันเสมอ ดังเช่น
แรงดึงดูดของโลกทก่ี ระทำต่อมนษุ ยบ์ นโลก
แรงลอยตัว คือแรงลัพธ์ที่ของไหลกระทำต่อผิวของวัตถุที่จมบางส่วนหรือจมทั้งชิ้นวัตถุ ซึ่งเป็นแรง
ปฏิกิริยาโต้ตอบในทิศทางขึ้นเพื่อให้เกิดความสมดุลกับการที่วัตถุมีน้ำหนักพยายามจมลงอันเนื่องมาจากแรง

โน้มถ่วงของโลก ขนาดของแรงลอยตัวมีค่าเท่ากับน้ำหนักของของไหลที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุส่วนที่จม
ซ่ึงสามารถพสิ จู นไ์ ดโ้ ดยพิจารณาวัตถุทจ่ี มในของไหล

แรงลอยตัวจะเทา่ กับน้ำหนักของของเหลวทีถ่ กู แทนที่
ปจั จยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั แรงลอยตัว ได้แก่

1. ชนดิ ของวัตถุ วตั ถุจะมีความหนาแน่นแตกต่างกันออกไปยิ่งวัตถุมีความหนาเน่นมาก ก็ย่ิงจมลงไป
ในของเหลวมากยง่ิ ข้ึน

2. ชนดิ ของของเหลว ย่ิงของเหลวมคี วามหนาแน่นมาก กจ็ ะทำให้แรงลอยตัวมีขนาดมากข้ึนด้วย
3. ขนาดของวัตถุ จะสง่ ผลต่อปริมาตรท่ีจมลงไปในของเหลว เม่ือปรมิ าตรท่จี มลงไปในของเหลวมาก
ก็จะทำให้แรงลอยตัวมขี นาดมากขนึ้ อีกดว้ ย
ประโยชน์ของแรงลอยตวั
ใช้ในการประกอบเรือไม่ใหจ้ มนำ้
แรงดึงดูดของโลก ความหมาย ประโยชน์ และโทษของแรงดึงดดู ของโลก
แรงทก่ี ระทำตอ่ วัตถุ (Force of Gravitation) หมายถึง แร งดึงดูดระหวา่ งมวลของโลกกบั วตั ถบุ นโลก
ชว่ ยทำให้ทุกสิ่งตอ้ งตรึงตัวตดิ อยกู่ ับผวิ โลก โดยมจี ดุ ศนู ย์ถ่วงตัง้ ฉากกบั ผิวโลกอยเู่ สมอ
การค้นพบกฎแรงดงึ ดดู ของโลก (Law of Gravitation)
นิวตันได้ค้นพบทฤษฎโี ดยบงั เอญิ เหตุการณ์เกิดขึ้นในวันหนึง่ ขณะทีน่ ิวตันกำลังน่ังดูดวงจันทร์ แล้วก็
เกิดความสงสัยว่าทำไมควงจันทร์จึงต้องหมุนรอบโลก ในระหว่างที่เขากำลังนั่งมองควงจันทร์อยู่เพลิน 1 ก็ได้
ยินเสียงแอปเปิ้ลตกลงพื้น เมื่อนิวต้นเห็นเช่นนั้นก็ให้ เกิดความสงสัยว่าทำไมวัตถุต่าง ๆ จึงต้องตกลงสู่พื้นดิน
เสมอทำไมไม่ลอยขึ้นฟ้าบ้าง ซึ่งนิวตันคิดว่าต้องมีแรงอะไรสักอย่างที่ทำให้แอปเปิ้ลตกลงพื้นดิน จากความ
สงสัยข้อนี้เอง นิวตันจึงเริ่มการทดลองเกี่ยวกับแรงโน้มถ่วงของโลกการทคลองครั้งแรกของนิวตัน คือ การนำ
ก้อนหนิ มาผกู เชอื ก จากน้ันก็แกว่งไปรอบ 1 ตวั นวิ ตนั สรปุ จากการทคลองคร้ังนวี้ า่ เชือกเปน็ ตวั การสำคัญที่ทำ
ให้ก้อนหินแกว่งไปมารอบ ๆ ไม่หลดุ ลอยไป ดังนน้ั สาเหตุท่ี โลก ดาวเคราะหต์ ้องหมนุ รอบดวงอาทิตย์และดวง
จนั ทรต์ อ้ งหมุนรอบโลก ต้องเกิดจากแรงดึงดูดที่ควงอาทิตย์ทมี่ ีต่อโลก และคาวเคราะห์ และแรงดึงดูคของโลก
ทสี่ ่งผลตอ่ ควงจนั ทร์ รวมถึงสาเหตุท่แี อปเป้ลิ ตกลงพน้ื ดินดว้ ยก็เกดิ จากแรงดึงดูดของโลก
เมื่อแรงถูกกระทำกบั วัตถหุ นงึ่ วัดถนุ นั้ สามารถไดร้ ับผลกระทบ 3 ประเภทดังน้ี
1. วัตถุท่ีอย่นู ิ่งอาจเริม่ เคลอ่ื นที่
2. ความเร็วของวัตถุทีก่ ำลังเคลือ่ นทอ่ี ยเู่ ปลี่ยนแปลงไป
3. ทิศทางการเคลอ่ื นทีข่ องวัตถอุ าจเปล่ียนแปลงไป
กฎการเคลอ่ื นทีข่ องนวิ ตนั มีด้วยกัน 3 ข้อ
1. วตั ถุจะหยดุ น่ิงหรือเคล่ือนท่ีด้วยความเรว็ และทิศทางคงท่ีได้ต่อเน่ืองเม่ือผลรวมของแรง (แรงลัพธ์)
ท่ีกระทำต่อวัตถุเท่ากับศนู ย์

2. เมื่อมีแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์มากระทำต่อวัตถุ จะทำให้วัตถุที่มีมวลเกิดการเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
โดยขนาดของแรงจะเท่ากบั มวลคูณความเร่ง

3. ทุกแรงกิรยิ าย่อมมีแรงปฏิกิริยาที่มขี นาดเทา่ กันแตท่ ิศทางตรงกันข้ามเสมอ
แรงโน้มถ่วงของโลกมีประโยชน์มากมายมหาศาลเพียงแค่คิดว่าหากโลกนี้ไม่มีแรงโน้มถ่วงอีกแล้วจะ
เกิดอะไรขึ้น แทบจะกล่าวได้ว่า สิ่งต่าง ๆ ทั้งหลายเม้แต่โลกเองต้องสูญสลายทั้งหมด มนุษย์ใช้ประโยชน์
มากมายจากแรงโนม้ ถว่ งของโลก ทัง้ ประ โยชน์ โดยตรง และประโยชนโ์ ดยอ้อม เช่น
1. แรงโน้มถ่วงของโลกทำใหว้ ตั ถุต่าง ๆ บนพื้นโลกไม่หลุดลอยออกไปจากโลก โดยเฉพาะบรรยากาศ
ทีห่ ่อหมุ้ โลกไมใ่ ห้ลอยไปในอวกาศ จึงทำให้มนษุ ยด์ ำรงชีวิตอยูไ่ ด้
2. แรงโน้มถว่ งของโลกทำใหน้ ำ้ ฝนตกลงส่พู ้นื ดิน ใหค้ วามชมุ่ ชน่ื แก่สิ่งมชี ีวติ บนพ้ืน โลก
3. แรงโน้มถ่วงของโลกทำให้น้ำไหลลงจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ ทำให้เกิดน้ำตก น้ำในแม่น้ำไหลลงทะเล
คนเรากอ็ าศยั ประโยชน์จากการไหลของน้ำอยา่ งมากมาย เช่น การสรา้ งเข่ือนแปลงพลังงานน้ำมาเป็นพลังงาน
ไฟฟา้ เป็นตน้
4. แรงโนม้ ถว่ งของโลกทำใหเ้ ราทราบน้ำหนักของสงิ่ ตา่ งๆ
5. แรงโน้มถ่วงของโลกทำให้ผา้ แห้งเรว็ ขึ้น ในขณะที่เราตากผ้า นอกจากแสงแดดจะช่วยให้น้ำระเหย
ออกไปจากผา้ แลว้ แรงโน้มถว่ งยังช่วยดึงหยดนำ้ ออกจากผ้าใหต้ กลงพื้นอกี ดว้ ย

ใบความรู้
เร่อื ง พลงั งานในชวี ิตประจำวนั และการอนุรักษ์

พลังงานไฟฟา้
พลงั งาน คอื ความสามารถในการทำงาน มอี ย่หู ลายรปู แเบบ สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุม่ ใหญ่ๆ ได้แก่

พลงั งานทีท่ ำงาน ได้ และพลงั งานที่เก็บสะสมไว้
พลังงานทท่ี ำงานได้ ที่สำคัญ ได้แก่ พลังงานไฟฟา้ พลงั งานแสง และพลังงานเสียง สว่ นพลังงานท่ีเก็บ

สะสมไว้ ประกอบดว้ ย พลังงานเคมี หมายถงึ พลังงานทเ่ี ก็บสะสมไว้ในสสารตา่ ง ๆ พลงั งานนวิ เคลียร์ หมายถึง
พลังงานที่เก็บสะสมไว้ในธาตุ และพลังงานศักข์ หมายถงึ พลงั งานที่มีอยู่ในวดั ถุ ซึง่ ข้ึนอยู่กับตำแหน่งของวัตถุ
นน้ั 1 แบ่งออกเปน็ พลังงานศกั ย์โนม้ ถว่ ง และพลงั งานศักย์ยืดหยนุ่
พลงั งานไฟฟา้

พลงั งานไฟฟา้ หมายถึง พลงั งานรูปแบบหนงึ่ ซง่ึ สามาร ถเปลี่ยนไปเป็นพลังงานอกี รปู แบบหนึ่งได้ เกิด
จากแหล่งกำเนดิ หลายประเภท ซง่ึ การนำพลงั งานไฟฟา้ มาใช้จะต้องมีการเชื่อมต่อแหล่งกำเนดิ ไฟฟ้าเข้ากับสิ่ง
ที่จะนำพลังงานไฟฟา้ ไปใช้ เรยี กวา่ วงจรไฟฟ้า โดยพลังงานไฟฟ้าท่ีได้กจ็ ะถกู เปล่ียนรูปไปเป็นพลังงานรูปแบบ
ตา่ ง ๆ เช่น พลังงานกล พลังงานความร้อน พลังงานเสียง พลังงานแสง เป็นต้น
2.1 แหล่งกำเนดิ พลังงานไฟฟา้

แหล่งกำเนิดพลังงานไฟฟ้า เป็นส่วนที่ทำให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่เครื่องใช้ไฟฟ้าในวงจรเพื่อให้
เคร่อื งใช้ไฟฟ้าเหล่านน้ั ทำงานได้ โดยเหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้ มีอย่หู ลายแหล่ง ซงึ่ แต่ละแหล่งมีหลักการทำให้เกิดและ
นำมาใช้ประโยชนไ์ ด้แตกต่างกัน ดงั น้ี

1. ไฟฟ้าจากการขัดสี เกิดจากการนำวัสดุต่างชนิดกันมาขัดถูแล้วทำให้เกิดอำนาจอย่างหนึ่งขึ้นมา
และสามารถดูควัดถุอื่น ๆ ที่เบาบางได้ เราเรียกอำนาจนั้นว่า ไฟฟ้าสถิต ซึ่งเม่ือเกิดขึ้นแล้วจะอยู่ในวัตถุได้
ชัว่ ขณะหนงึ่ แล้วหลงั จากน้นั ก็จะค่อย ๆ เส่ือมลงไปจนสุดท้ายก็หมดไปในที่สดุ

2. ไฟฟ้าจากปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะทำให้ประจุไฟฟ้าในสารเคมีนั้นเคลื่อนที่ผ่านตัวนำ
ทำใหก้ ดิ เปน็ ไฟฟา้ กระแสขน้ึ ได้ เรานำหลกั การนีไ้ ปประดษิ ฐถ์ ่านไฟฉาย และเบตเตอร่รี ถยนต์

3. ไฟฟ้าจากสนามแม่เหล็ก เกิดขึ้นได้เมื่อมีการหมุนหรือเคลื่อนที่ผ่าน ขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็ก
ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าในขดลวด ซึ่งเรานำหลักการนี้ไปสร้างเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่เรียกว่าไดนาโม ซึ่งสามารถ
ผลติ กระแสไฟฟา้ ได้ทง้ั ไฟฟา้ กระแสตรงและกระแสสลบั

4. ไฟฟ้าจากแรงกดดัน แร่ธาตุบางชนิดเมื่อได้รับแรงกดดันมาก ๆ จะปล่อยกระแสไฟฟ้าออกมาได้
ซง่ึ เรานำแรธ่ าตุเหล่าน้มี าใชป้ ระ โยชนใ์ นการทำไมโคร โฟน หัวเข็มของเคร่อื งเล่นแผ่นเสียงเป็นต้น

5. กระแสไฟฟ้าจากสัตว์บางชนิด สัตว์น้ำบางชนิดมีกระแสไฟฟ้าอยู่ในตัว เมื่อเราถูกต้องตัวสัตว์
เหล่านน้ั จะถูกไฟฟ้าจากสตั วเ์ หลา่ นัน้ ดูดได้ เช่น ปลาไหลไฟฟ้า เป็นต้น

6. กระแสไฟฟา้ จากความร้อน เปน็ กระแสไฟฟ้าทีไ่ ด้จากการนำโลหะไปเผาให้รอ้ น

2.2 การเปลยี่ นรูปพลังงาน
โดยปกติพลังงานสามารถเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานอีกรูปแบบหนึ่งได้ ซึ่งเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเป็น

อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานรูปอื่น เช่น พลังงานแสงสว่าง พลังงานความร้อนพลังงานกล
พลังงานเสียง เปีนต้น บางครั้งเครื่องใช้ไฟฟ้าบางชนิดยังสามารถ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปอื่นได้
หลายรปู ในเวลาเดยี วกัน

1. การเปลี่ยนรูปเปน็ พลงั งานแสงสว่าง เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าทเี่ ปลยี่ นพลังงานไฟฟ้าใหเ้ ปน็ พลังงานแสงสว่าง
คือ หลอดไฟ ซ่งึ แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ

1.1 หลอดธรรมดาหรือหลอดแบบมีไส้ ซึ่งมีลักษณะเป็นรูปกระเปาะแก้วใส ภายในมีไส้หลอดขดเป็น
สปริ งบรรจอุ ยู่ ปัจจบุ นั ทำด้วยโลหะทังสเตนกบั ออสเมยี ม ภายในหลอดบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอน เมื่อ
กระแสไฟฟา้ ผ่านไสห้ ลอดทม่ี คี วามต้านทานสูงไส้หลอดจะร้อนจนเปลง่ แสงออกมาได้

1.2 หลอดฟลูออเรสเซนด์ เป็นหลอดเรื่องแสงที่บุคคลทั่วไปเรียกว่าหลอดนีออน มีหลายรูปแบบ
ภายในเปน็ สูญญากาศบรรจุไอปรอทไวเ้ ลก็ น้อย ผวิ ดา้ นในฉาบไวด้ ้วยสารเรอื งแสง เม่อื กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านไอ
ปรอทอะตอมของปรอทจะดายรังสีอัลตราไว โอเลตออกมา และเมื่อรังสีนี้กระทบกับสารเรืองเสงจะเปล่งเสง
สว่าง ปัจจุบันมีการผลิตออกมาหลายรูปแเบบ เช่น หลอดซุปเปอร์หรือหลอดผอม หลอดตะเกียบ ซึ่งช่วย
ประหยัดไฟฟา้ ได้ดี

2. การเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานความร้อน เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน ภายในจะมีอุปกรณ์
สำคัญคอื ขดลวดตน้ ทานหรือขดลวด ความรอ้ นตดิ ตัง้ อยู่ เม่อื ไฟฟา้ ไหลผ่านขดลวดนจี้ ะทำให้เกิดความร้อนข้ึน
ขดลวดทน่ี ิยมใช้มากท่ีสุด คอื ขดลวดนิโครม เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ที่ให้พลังงานความร้อนได้แก่ เตารีดไฟฟ้า หม้อหุง
ข้าวไฟฟา้ กาตม้ น้ำร้อนไฟฟ้า เครอ่ื งปง้ิ ขนมปงั ไดเปา่ ผม เป็นตน้

3. การเปลี่ยนเป็นพลังงานกล เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เรียกว่า มอเตอร์ ซึ่งมีส่วนประกอบที่
สำคัญ คือ ไดนาโม แต่จะทำงานตรงข้ามกบั ไดนาโม นัน่ คอื มอเตอรจ์ ะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าใหเ้ ปน็ พลงั งานกล
เชน่ พัดลม เครอื่ งปัน่ เคร่ืองดูดฝุ่น เครอื่ งเล่น VCD ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ เครื่องซกั ผ้า เป็นต้น

4. การเปลี่ยนเป็นพลังงานเสียง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียงมีอยู่มากมาย เช่น เครื่องรับวิทยุ
เคร่อื งบันทกึ เสยี ง เคร่อื งขยายเสียง เป็นตน้
2.3 ไฟฟา้ ในบ้าน วงจรไฟฟา้ อยา่ งงา่ ย

วงจรไฟฟ้า หมายถึง เส้นทางสำหรับการไหลของกระแสไฟฟ้า โดยเริ่มจากแหล่งกำเนิดผ่านไปยัง
เครื่องใช้ไฟฟ้า แล้วกลับมายังแหล่งกำเนิดอีกครั้ง วงจร ไฟฟ้าภายในบ้าน ส่วนใหญ่จะเป็นการต่อแบบขนาน
ซง่ึ เปน็ การต่อวงจรทำให้อุปกรณ์และเคร่ืองใช้ไฟฟา้ แต่ละชนิดอยคู่ นละวงจร ซึ่งถ้าเครอื่ งใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งเกิด
ขัดข้องเนื่องจากสาเหตุใดก็ตาม เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่นก็ยังคงใช้งาน ได้ตามปกติเพราะไม่ได้อยู่ในวงจร
เดยี วกนั

ไฟฟา้ ทใ่ี ช้ในบา้ นเรือนทั่วไปเป็นไฟฟา้ กระแสสลับมคี วามต่างศักย์ 220 โวลต์ การสง่ พลงั งานไฟฟ้าเข้า
บา้ นจะใชส้ ายไฟ 2 เส้น คือ

1. สายกลาง หรือสาย N มีศกั ย์ไฟฟ้าเป็นศนู ย์
2. สายไฟ หรอื สาย L มศี ักยไ์ ฟฟา้ เป็น 220 โวลต์
โดยปกติสาย L และสาย N ที่ต่อเข้าบ้านจะต่อเข้ากับแผงควบคุมไฟฟ้า ซึ่งเป็นที่ควบคุมการจ่าย
พลังงานไฟฟ้ทั้งหมดในบ้านอย่างมีระบบ บนแผงควบคุมไฟฟ้ามักจะประกอบด้วย ฟิวส์รวม สะพานไฟรวม
และสะพานไฟย่อย โดยสะพาน ไฟย่อยมืไว้เพื่อแยกและควบคุมการ ส่งพลังงาน ไฟฟ้าไปยังวงจร ไฟฟ้าย่อย
ตามสว่ นต่าง ๆ ของบ้านเรอื น เชน่ วงจรช้ันลา่ ง วงจรช้ันบน วงจรในครัว เปน็ ตน้

รปู ที่ 1 แสดงตัวอยา่ งวงจรไฟฟา้ ในบา้ น

ในวงจรไฟฟ้าในบา้ น กระแสไฟฟ้าจะผ่านมาตร ไฟฟ้าทางสาย L เข้าสู่สะพานไฟ ผ่านฟิวส์และสวิตช์
แล้วไหลผ่านเครือ่ งใช้ไฟฟ้ ดงั นน้ั กระแสไฟฟา้ จะไหลผา่ นสาย N ออกมา ดังรปู

รปู ที่ 2 แสดงการไหลของกระแสไฟฟา้ ในบา้ น

อุปกรณท์ ี่ใช้ในวงจรไฟฟา้
เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นเครื่องอำนวยความสะควกที่สามารถเปลี่ยนรูปพลังงาน ไฟฟ้าเปีนพลังงานรูปอ่ืน

ตามที่ต้องการได้ง่ย เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้กันอยู่ตามบ้านเรอื น เช่น เตารีดไฟฟ้า หม้อหุงข้าวไฟฟ้าพัดลม หลอด
ไฟฟ้า เครื่องซักผ้า เป็นต้น วงจร ไฟฟ้าในบ้านนอกจากจะมีเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดต่างๆ แล้วยังต้องมีอุปกรณ์ท่ี
จำเป็นอนื่ ๆ อกี เช่น สายไฟ ฟวิ ส์ สวติ ช์ เตา้ รับ - เตา้ เสียบ เปน็ ต้น

สายไฟ สายไฟเป็นอุปกรณ์สำหรับสง่ พลังงานไฟฟ้าจากท่ีหนึ่งไปยังอีกที่หน่ึง โดยกระแสไฟฟ้าจะนำ
พลังงานไฟฟา้ ผ่านไปตามสายไฟจนถึงเครื่องใช้ไฟฟ้า สายไฟทำดว้ ยสารที่มีคุณสมบัตเิ ปน็ ตัวนำไฟฟา้ (ยอมให้
กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นได้ด)ี ได้แก่

1. ลายไฟแรงสงู ทำดว้ ยอะลูมิเนียม เพร าะอะคูมเิ นยี ม มีราคาถกู และน้ำหนักเบากว่าทองแดง
2. สายไฟท่ัวไป (สายไฟในบ้าน) ทำดว้ ยโลหะทองแดง เพราะทองแดงมรี าคาถูกกว่าโลหะเงนิ

ฟิวส์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้ามามากเกินไป ถ้มีกระแสผ่านมา
มากฟิวส์จะตัดวงจรไฟฟ้าในบ้านโดยอัตโนมัติ ฟิวส์ทำด้วยโลหะผสมระหว่างตะกั่วกับดีบุกและบิสมัทผสมอยู่
ซงึ่ เป็น โลหะท่มี ีจดุ หลอมเหลวตำ่ มคี วามต้นทานสูง และมีรปู ร่างแตกต่างกนั ไปตามความต้องการใชง้ าน

รูปท่ี 3 แสดงฟวิ ส์ชนดิ ต่าง ๆ
สวติ ช์ เป็นอุปกรณท์ ต่ี ดั หรือต่อวงจรไฟฟ้ าในส่วนท่ีต้องการ ทำหนา้ ท่ีคล้ายสะพานไฟ โดยต่ออนุกรม
เข้ากบั เคร่อื งใช้ไฟฟ้า มี 2 ประเภท คือ สวติ ช์ทางเดียว และสวิตชส์ องทาง

รูปที่ 4 แสดงสวติ ชแ์ บบตา่ งๆ
สะพานไฟ เป็นอุปกรณ์สำหรับตัดหรือต่อวงจรไฟฟ้า ทั้งหมด ภายในบ้าน ประกอบด้วยฐานและคัน
โยกที่มีลักษณะเป็นขาโลหะ 2 ขา ซึ่งมีที่จับเป็นฉนวน เมื่อสับคันโยกลงไปในร่องที่ทำด้วยตัวนำไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าจากมาตรไฟฟ้าจะไหลเข้าสู่วงจรไฟฟ้าในบ้าน และเมื่อยกคันโยกขึ้นกระแสไฟฟ้าจะหยุดไหล
เชน่ การตดั วงจร

รูปที่ 5 แสดงสะพานไฟและฟิวสใ์ นสะพานไฟ

2.4 ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟา้ ในครัวเรือน
ไฟฟา้ มีอนั ตรายถ้ำใช้ไมถ่ ูกต้อง เพราะหากกระแสไฟฟ้าผา่ นเข้าไปในร่ายกาย ของคนเรา อาจทำให้ถึง

ตายได้ ดังนั้นเราจึงควรระมัดระวังเมื่อใช้ไฟฟ้า เนื่องจากกระแสไฟฟ้าสามารถเดินทางผ่านฉนวนได้ เราจึงใช้
ฉนวนเป็นตัวป้องกันกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ร่างกายของเราเพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า จึงต้องปฏิบัติตาม
กฎหรือข้อแนะนำในการใชเ้ ครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ดังน้ี

1. สายไฟฟ้าทใี่ ช้จะต้องมีฉนวนหมุ้ และหมน่ั ตรวจเช็คอย่สู ม่ำเสมอ
2. ไม่ควรใช้เครอื่ งใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ในขณะท่ีมือเปียก เพราะนำ้ ในร่างกายของเรานำไฟฟ้าได้
3. ควรถอดปลัก๊ ไฟฟา้ ออกทุกครง้ั เม่ือเลกิ ใช้เครื่องใช้ไฟฟา้ เหล่านั้น
4. ไมน่ เสาไฟฟ้า หรือเลน่ ว่าวใกลส้ ายไฟฟ้า
5. เมื่อเหน็ สายไฟฟ้าขาดห้อยอยู่ ควรหลกี ไปให้ไกล
6. อย่าให้สายไฟอยตู่ ิดกับวัดถุที่เป็นเช้ือเพลิงนาน ๆ เพราะอาจสึกหรอไดใ้ นภายหลัง
7. อยา่ เหยน่ ้วิ หรือวัตถุตา่ ง ๆ เข้าไปในปล๊ักไฟฟ้า
8. เม่อื เปลย่ี นฟิวส์ ควรเลอื กขนาดของฟิวส์ให้ถกู ต้อง ไม่ควรใช้ฟิวส์ทมี่ ขี นาดเล็กเกนิ ไป
9. ไมเ่ สยี บปล๊ักเครื่องใช้ไฟฟา้ ในที่เดียวกันมากเกิน ไป
10. ปดิ โทรทัศน์และถอดปล๊กั ออกทกุ ครง้ั ท่ีมฝี นฟ้าคะนอง
11. ไมใ่ ช้เคร่ืองใช้ไฟฟา้ ที่สายไฟชำรดุ หรือมีฉนวนหมุ้ สายไฟฉีกขาด
12. ไม่เข้าใกลบ้ รเิ วณท่ีมีเคร่ืองหมาย "อันตราย ไฟฟา้ แรงสูง"

2.5 การประหยัดและอนรุ ักษ์พลังงานไฟฟา้
1. ปิดสวิตชไ์ ฟ และเครื่องใชไ้ ฟฟา้ ทุกชนิดเม่ือเลิกใช้งาน
2. เลอื กซ้ือเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ท่ีได้มาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพใหแ้ นใ่ จทุกคร้งั ก่อน
3. ปิดเคร่ืองปรับอากาศทุกคร้ังที่จะไม่อยู่ในหอ้ งเกนิ 1 ชั่วโมง
4. หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศบ่อย ๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการ

ทำงานของเครอ่ื งปรบั อากาศ
5. ต้งั อุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 2 องศาเซลเซียส ซ่ึงเปน็ อุณหภูมิทกี่ ำลงั สบาย อณุ หภมู ิท่ีเพ่ิมขึ้น 1

องศา ตอ้ งใชพ้ ลงั งานเพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละ 5
6. ไมค่ วรปลอ่ ยให้มคี วามเยน็ รัว่ ไหลจากหอ้ งท่ีติดตัง้ เครื่องปรบั อากาศ
7. ลดและหลกี เลี่ยงการเกบ็ เอกสาร หรือวสั ดุอน่ื ใดท่ไี ม่จำเปน็ ต้องใช้งานใน หอ้ งท่มี ีเครือ่ งปรับอากาศ

เพ่ือลคการสญู เสยี และใช้พลงั งานในการปรับอากาศภายในอาคาร
8. ติดตั้งฉนวนกันความร้อน โดยรอบห้องที่มีการปรับอากาศ เพื่อลดการสูญเสียพลังงานจากการ

ถา่ ยเทความร้อนเขา้ ภายในอาคาร

9. ควรปลกู ตน้ ไม้รอบ ๆ อาคาร เพราะตน้ ไมข้ นาดใหญ่ 1 ตน้ ให้ความเย็นเทา่ กบั เครือ่ งปรับอากาศ 1
ตัน หรอื ให้ความเยน็ ประมาณ 12,000 บีทียู

10. เลือกซ้อื พัดลมทม่ี ีเครอ่ื งหมายมาตรฐานรับรอง เพราะพัดลมท่ีไม่ได้คุณภาพ มักเสยี งา่ ย
11. หากอากาศไม่ร้อนเกนิ ไป ควรเปดิ พดั ลมแทนเครอื่ งปรับอากาศ
12. ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน ใช้หลอดผอมจอมประหยัดแทนหลอดอ้วน ใช้หลอดตะเกียบแทน
หลอดไส้ หรือใชห้ ลอดคอมแพคทฟ์ ลอู อเรสเซนต์
13. ควรใช้บัลลาสต์ประหยัดไฟ หรือบัลลาสต์อิเล็กโทรนิกคู่กับหลอดผอมจอมประหยัด จะช่วยเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพในการประหยดั ไฟได้อกี มาก
14. ควรใช้โคมไฟแบบมีแผ่นสะท้อนแสงในห้องต่าง ๆ เพื่อช่วยให้แสงสว่างจากหลอดไฟกระจายได้
อย่างเตม็ ประสิทธภิ าพ
15. หม่นั ทำความสะอาดหลอดไฟท่บี ้าน เพราะจะช่วยเพิ่มแสงสวา่ งโดยไมต่ ้องใช้พลังงานมากขึ้นควร
ทำอยา่ งนอ้ ย 4 ครัง้ ต่อปี
16. ควรใช้สีอ่อนตกแต่งอาคาร ทาผนังนอกอาคารเพื่อการสะท้อนแสงที่ดี และทาภายในอาคารเพ่ือ
ทำให้ห้องสว่างไดม้ ากกวา่
17. ใชแ้ สงสวา่ งจากธรรมชาติให้มากทส่ี ุด
18. ปิดตู้เย็นให้สนิท ทำความสะอาดภายในตู้เย็น และแผ่นร ะบายความร้อนหลงั ตู้เย็นสม่ำเสมอ
19. ไมค่ วรพรมน้ำจนแฉะเวลารดี ผา้ เพราะตอ้ งใชค้ วามรอ้ นในการรดี มากขน้ึ
20. จึงปล๊กั ออกก่อนการรดี เสื้อผา้ เสรจ็ เพราะความรอ้ นทเี่ หลอื ในเตารีค ยังสามารถรีดต่อ ได้
21. เสยี บปลั๊กครง้ั เดียว ตอ้ งรคี เสือ้ ใหเ้ สรจ็ ไม่ควรเสียบและถอดปลัก๊ เตารดี บ่อยๆ
22. ปดิ โทรทศั นท์ ันทเี มื่อไมม่ ีคนดู เพราะการเปดิ ทิ้งไวโ้ ดยไม่มีคนดู เปน็ การส้ินเปลืองไฟฟ้า
23. ใช้เตาแก๊สหงุ ต้มอาหาร ประหยัดกว่าใชเ้ ตาไฟฟ้า
24. อย่าเสียบปลั๊กหม้อหุงข้าวไว้ เพราะระบบอุ่นจะทำงานตลอดเวลา ทำให้สิ้นเปลืองไฟเกินความ
จำเป็น
25. กาตม้ น้ำไฟฟ้า ตอ้ งดึงปล๊กั ออกทันทีเมือ่ นำ้ เดือด อยา่ เสียบไฟไว้เมื่อไม่มคี น
26. แยกสวติ ช์ไฟออกจากกัน ให้สามารถปิดปดิ ไดเ้ ฉพาะจุด ไม่ใชป้ มุ่ เดียวเปดิ ปดิ ทั้งชน้ั ทำให้เกิดการ
สน้ิ เปลอื งและสญู เปล่า
27. การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ต้องมีการปล่อยความร้อนเช่น กาต้มน้ำ หม้อหุงต้ม ไว้ใน ห้องที่มี
เคร่อื งปรบั อากาศ
28. ซอ่ มบำรุงอปุ กรณไ์ ฟฟ้าให้อยู่ในสภาพท่ีใช้งานได้ และหมั่นทำความสะอาดเครื่องใช้ไฟฟ้าอยู่เสมอ
จะทำใหล้ ดการส้ินเปลืองไฟได้

พลังงานแสง
แสงเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่ง ซึ่งสามารถเปลี่ยนไปเป็นพลังงานรูปอื่นได้ แสงช่วยให้เรามองเห็นส่ิง

ตา่ ง ๆ ได้
แสงเปน็ รงั สี มลี ักษณะการเคลื่อนที่เหมอื นคลื่น คอื เดนิ ทางเป็นเส้นตรงออกจากแหล่งกำเนิด ผา่ นไป

ยงั ตัวกลาง สามารถจำแนกเปน็ 3 ชนดิ คอื
1. ตัวกลางโปรง่ แสง คอื ตวั กลางทยี่ อมให้แสงผา่ นไดด้ ี แต่ผ่านได้ไมท่ ้งั หมด เชน่ หมอกควนั น้ำขุ่น
2. ตวั กลางโปรง่ ใส คือ ตัวกลางทยี่ อมให้แสงผ่านไปได้หมด เช่น นำ้ ใส อากาศ
3. ตัวกลางทึบแสง คือตัวกลางท่แี สงผา่ นไปไมไ่ ด้เลย เช่น กระเบอื้ ง กระจกเงา

2.1 แหลง่ กำเนิดแสง
คอื สง่ิ ทีท่ ำใหเ้ กิดแสง สามารถจำแนกประเภทของแสงตามแหล่งกำเนิดไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ
1. แหลง่ กำเนดิ แสงจากธรรมชาติ เชน่ ดวงอาทิตย์ คาวฤกษ์ หงิ่ หอ้ ย ปลาทะเลบางชนดิ เป็นตน้
2. แหลง่ กำเนดิ แสงท่ีมนุษยส์ ร้างข้นึ เนอื่ งจากโลกของเราไม่ได้รบั แสงจากควงอาทิตย์ในเวลากลางคืน

มนุษยจ์ งึ คิดค้น ประดิษฐส์ ิ่งทเี่ ป็นแหลง่ กำเนิดแสงขน้ึ มา เชน่ หลอดไฟ ตะเกียง เทียนไข เปน็ ต้น
แหล่งกำเนิดแสงทใี่ หญ่ท่ีสุดบน โลกของเราคือดวงอาทิตย์ ซง่ึ จะแผพ่ ลังงานออกมารอบ ๆ และแสงก็

เป็นพลงั งานรูปหนงึ่ ในหลาย ๆ รปู แบบที่แผ่มายงั โลก
2.2 สมบัตขิ องแสง

แสงมีบทบาทสำคัญในการดำเนินชีวิตหลากหลายอยา่ ง ทำให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆทีอ่ ยู่รอบตัวเรา แต่
บางครงั้ เมื่อเรามองวตั ถุกลับพบว่าภาพท่ีเราเห็นแตกต่างไปจากเคมิ ซง่ึ ทั้งนี้กข็ ้ึนอยกู่ ับสมบัตขิ องแสง
1. การสะท้อนของแสง

เปน็ สมบตั ทิ สี่ ำคัญอยา่ งหนึ่งของแสง ซง่ึ เม่ือแสงมาตกกระทบกับพื้นผวิ ของวัตถุ แนวการคลื่อนที่ของ
แสงจากอากาศไปยังผิวของวตั ถุจะเรยี กวา่ รังสตี กกระทบ สว่ นแนวการเคลอ่ื นทข่ี องแสงผา่ นผิววตั ถสุ ะท้อนไป
ยังอากาศเรียกว่า รังสีสะท้อน ซึ่งรังสี 2 เส้นนี้จะอยู่คนละด้านกัน โดยมีเส้นตรงเส้นหนึ่งกั้นอยู่ระหว่างกลาง
ซึ่งเส้นตรงนี้จะต้องลากตั้งจากกับพื้นผิวของวัตถุ ตรงจุดที่แสงมาตกกระทบและสะท้อนกันพอดี เราเรียก
เสน้ ตรงน้ีวา่ เส้นปกติ

รปู ที่ 6 แสดงรปู แสดงการสะทอ้ นแสง
วัตถทุ มี่ ผี วิ เรยี บ (บน) วัตถทุ ม่ี ผี วิ ขรขุ ระ
(ลา่ ง)

นอกจากนี้ ระหว่างแนวรงั สตี กกระทบ แนวรังสีสะทอ้ น และเสน้ ปกติ จะมมี ุมเกิดขึ้น 2 มุม คือมุมตก
กระทบและมุมสะท้อน ซึ่งเมื่อทำการวัดค่าของมุมตกกระทบกับมุมสะท้อนของผิววัตถุชนิดต่างๆ พบว่า
"ถ้ารังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน และเส้นปกติ อยู่ในระนาบเดียวกัน ค่าของมุมตกกระทบกับมุมละท้อนจะ
เท่ากนั เสมอ" เพราะฉะน้ัน การเขยี นรูปแสดงการสะทอ้ นแสงของวัตถตุ า่ ง ๆ

จึงจำเป็นต้องเขียนรูปให้รังสีตกกระทบ เส้นปกติ และรังสีสะท้อนอยู่ในระนาบเดียวกัน โดยที่มุมตก
กระทบจะกางเทา่ กับมมุ สะท้อนเสมอ

ซึง่ จากการศึกษาพบว่า วัตถุต่าง ๆ จะสะทอ้ นแสงไดไ้ ม่เท่ากนั ข้นึ อยู่กับลกั ษณะพน้ื ผิวของวัตถุท่ีใช้ใน
การสะท้อนแสงของวัตถุนั้น ๆ โดยวัตถุที่มีผิวเรียบจะสะท้อนได้ดีกว่าวัตถุที่มีผิวขรุขระ และวัตถุที่มีผิวเรียบ
เป็นมันวาวกจ็ ะสะท้อนแสงได้ดกี วา่ วตั ถผุ วิ ขรขุ ระท่ีไม่เป็นมันวาว
กฎการสะทอ้ นของแสง

- รังสตี กกระทบ เสน้ ปกติ และรงั สสี ะทอ้ นจะอยู่บนระนาบเดยี วกนั เสมอ
- มมุ ตกกระทบเทา่ กบั มุมสะทอ้ นเสมอ

รูปที่ 7 แสดงการสะท้อนของแสงที่วัตถุผิวเรียบ
แบบตา่ ง ๆ

2. การหักเหของแสง
การหักเหของแสงเป็นปรากฏการณ์ ที่เกิดขึ้นเมื่อแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่มีความหนาแน่นค่าหน่ึง

ไปสู่ตัวกลางที่มีความหนาแน่นอีกค่าหนึ่ง ทำให้รังสีเบนไปจากแนวเดิม ซึ่งการที่แสงจะหักเหเข้าหาเส้นปกติ
หรือเบนออกจากเส้นปกติขึ้นอย่กู บั คด่ ชั นหี กั เหของตวั กลางท้ังสอง พิจารณาตามกฎการหกั เหของแสง ดงั น้ี

- แสงเคล่ือนท่จี ากตวั กลางท่ีมีความหนาแน่นนอ้ ยกวา่ ไปสตู่ วั กลางทม่ี ีความหนาแนน่ มากกว่า รังสีของ
แสงจะหักเหเบนเขา้ หาเส้นปกติ

- แสงเดนิ ทางจากตวั กลางท่ีมีความหนาแน่นมากกว่าไปสู่ตวั กลางท่ีมีความหนาแน่นน้อยกว่า รังสีของ
แสงจะหกั เหเบนออกจากเส้นปกติ

ก.เบนออก ข.เบนเขา้
รูปที่ 8 แสดงการหักเหของแสงแบบตา่ ง ๆ

โดยทว่ั ไปค่าความหนาแน่นของตัวกลางที่ โปรง่ ใสจะแปรผันตรงกับค่คัชนหี ักเหของตวั กลางน้ันๆ นั่น
คือถา้ วตั ถใุ ดมีความหนาแน่นมาก กค่ ัชนีหักเหของแสงก็จะมากไปดว้ ย แตถ่ า้ วัดถุใดมีความหนาแน่นนอ้ ยก็จะมี
ค่าดัชนหี ักเหนอ้ ย

ค่าคชั นีหกั เหแสง α คา่ ความหนาแนน่
ส่งิ ทค่ี วรทราบเกี่ยวกับการหกั เหของแสง

- ความถ่ขี องแสงยงั คงเท่าเดิม สว่ นความยาวคล่ืน และความเรว็ ของแสงจะ ไม่เท่าเดมิ
- ทิศทางการเคล่ือนที่ของแสงจะ อยู่ในแนวเคิม ถ้ำแสงตกตั้งฉากกับผิวรอยต่อของตวั กลางจะ ไม่อยู่
ในแนวเดิม ถ้แสงไม่ตกต้งั ฉากกับผิวรอยต่อของตัวกลาง
ตัวอย่างการ ใช้ประโยชน์ของการหักเหของแสงเช่น แผ่นปิดหน้าโคมไฟ ซึ่งเป็นกระจกหรือพลาสติก
เพอื่ บังคบั ทิศทางของแสงไฟที่ออกจากโคมไปในทิศทางท่ตี ้องการ จะเห็นวา่ แสงจากหลอดไฟจะกระจายไปยัง
ทุกทิศทางรอบหลอดไฟแต่เมื่อผ่านแผ่นปิดหน้าโคมไฟแล้ว แสงจะมีทิศทางเดียวกัน เช่นไฟหน้ารถยนต์ รถ
มอเตอร์ไซด์
3. การกระจายแสง
หมายถึง แสงขาวซึ่งประกอบด้วยแสงหลายความถี่ตกกระทบปริซึมแล้วทำให้เกิดการหักเห ของเเสง
2 ครั้ง (ที่ผิวรอยต่อของปริซึม ทั้งขาเข้า และขาออก) ทำให้แสงสีต่าง ๆ แยกออกจากกันอย่างเป็นระเบียบ
เรยี งตามความยาวคลนื่ และความถ่ี ทเ่ี ราเรยี กวา่ สเปกตรัม (Spectrum)

รปู ท่ี 9 แสดงการกระจายของแสง

4. การแทรกสอดของแสง (Interference)
การแทรกสอด หมายถึง การที่แนวแสงจำนวน 2 เส้นรวมตัวกันในทิศทางเดียวกัน หรือหักล้างกัน

หากเป็นการรวมกัน ของแสงที่มีทิศทางเดียวกัน ก็จะ ทำให้แสงมีความสว่างมากขึ้น แต่ในทางตรงกันข้ามถ้ำ
หักล้างกัน แสงก็จะสว่างน้อยลค การใช้ประโยชน์จากการแทรกสอดของแสง เช่น กล้องถ่ายรูปเครื่องฉาย
ภาพต่ง ๆ และ การลดแสงจากการสะ ท้อน ส่วนในงานการส่องสว่าง จะ ใช้ในการสะท้อนจากแผ่น
สะท้อนแสง
2.2 ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของแสง

1. มิราจ (Mirage) เป็นปรากฏการณ์เกิดภาพลวงตา ซึ่งบางครั้งในวันที่อากาศร้อน เราอาจจะ
มองเห็นสิ่งที่เหมือนกับสระน้ำอยู่บนถนน ที่เป็นเช่นนั้นเพราะว่ามีแถบอากาศร้อนใกล้ถนนที่ร้อน และแถบ
อากาศที่เย็นกว่า (มีความหนาแน่นมากกว่า อยู่ข้างบน รังสีของแสงจึงค่อย ๆ หักเหมากขึ้น เข้าสู่แนวระดับ
จนในท่สี ุดมนั จะมาถึงแถบอากาศร้อนใกล้พ้ืนถนนท่ีมมุ กวา้ งกว่ามมุ วิกฤต จึงเกิดการสะท้อนกลับหมดนั่นเอง

2. รงุ้ กนิ น้ำ ( Rainbow) เปน็ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ทเี่ กดิ จากแสงขาวหักเหผ่านผิวของละออง
น้ำ ทำใหแ้ สงสีต่าง ๆ กระจายออกจากกันแล้วเกิดการสะ ท้อนกลับหมดท่ีผิวดา้ นหลงั ของละอองน้ำแล้วหักเห
ออกสู่อากาศ ทำให้แสงขาวกระจายออกเป็นแสงสีต่าง ๆ กัน แสงจะกระจายตัวออกเมื่อกระทบถูกผิวของ
ตัวกลาง เราใช้ประโยชน์จากการกระจายตัวของลำแสง เมื่อกระทบตัวกลางนี้ ได้ หลากหลาย เช่น ใช้แผ่น
พลาสตกิ ใสปดิ ดวงโคมเพอ่ื ลดความจ้าจากหลอดไฟหรือ โคมไฟชนิดปิดแบบต่าง ๆ

รูปที่ 10 แสดงปรากฏการณร์ ุ้งกินน้ำ
3. พระอาทิตย์ทรงกลด หรอื พระจนั ทร์ทรงกลด เปน็ ปร ากฏการณท์ เ่ี กิดจากแสงขาวของดวงอาทิตย์
ตกกระทบกับผลึกของน้ำแขง็ ในบรรยากาศที่เรียงกันตามแนวโค้งของวงกลม แลว้ มีการหักเหและสะทอ้ นกลบั
หมดภายในผลกึ

รูปท่ี 11 แสดงการเกดิ พระอาทติ ยท์ รงกลด


Click to View FlipBook Version