The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by svtakan, 2019-06-12 03:34:13

IT-2014-Google Apps for Education

IT-2014-Google Apps for Education

รายงานโครงการวจิ ยั เพอื การเรียนการสอน

การพฒั นาแนวทางการใช้ Google Apps for Education
กบั การเรียนการสอนในรายวชิ า

Development of good practice for teaching students
with Google Apps for Education

ผู้ดาํ เนินงานวจิ ยั
นายเกษม ทพิ ย์ธาราจนั ทร์
ดร.ฐิตพิ ร เลศิ รัตน์เดชากลุ

บทคดั ย่อ

ในยุคโลกาภิวฒั น์เราคงหลีกเลียงไม่ไดใ้ นการใช้ Information Technology มาเป็ นเครืองมือสําหรับ
อาจารยผ์ สู้ อนและนกั ศึกษา โดยเฉพาะอยา่ งยิงในยคุ ทีการเขา้ ถึง Internet ไดท้ ุกทีทุกเวลา ขอ้ มูลข่าวสารสามารถ
ส่งถึงกนั ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็ว การเรียนการสอนกต็ อ้ งมีการปรับเปลียนใหท้ นั ต่อสถานการณ์ อาจารยผ์ สู้ อนแต่
ละท่านมีความสามารถเชิงการใช้ Information Technology ทีแตกต่างกันไปตามแต่ความสนใจ และ
สภาพแวดล้อมของสถาบันศึกษา ดังนCันเพือเป็ นประโยชน์ทCังต่อผู้เรี ยนและผูส้ อน การนํา Information
Technology ทีเหมาะสมมาใช้ในสถาบนั การศึกษาจึงมีความจาํ เป็ นอย่างยิงต่อผลสัมฤทธFิในการเรียนรู้ของ
นกั ศึกษา และการจดั การเรียนการสอนของอาจารยผ์ สู้ อนอยา่ งมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

ในการทาํ วิจยั การเรียนการสอนในรายวิชา BIS-105 และ BIS-301 ทาํ ใหส้ ามารถทาํ การเปรียบเทียบการ
ใชง้ านต่างๆของอาจารยผ์ สู้ อนในรูปแบบปัจจุบนั ทีมีการใช้ e-mail, Facebook, Dropbox เป็นตน้ มาเป็นการใช้
งาน Google Apps for Education ทีเป็นการรวมบริการต่างๆจาก Google ทีไดม้ อบใหก้ บั สถาบนั การศึกษาโดย
ยงั คงความเป็ นอตั ลกั ษณ์ของสถาบนั นนั คือการใช้ Domain Name เป็ น @tni.ac.th เหมือนเดิม และยงั ให้
ความสามารถในการใชง้ านทีมากกว่า เช่น พCืนทีในการเก็บขอ้ ความในระบบ e-mail และพCืนทีในการจดั เก็บ
แฟ้ มขอ้ มูลรวมกนั ถึง 30 GB รวมถึงการใชง้ านในลกั ษณะ Social Network ของ Google+ Community เป็นตน้
ทาํ ให้ทราบถึงการใช้งานในเชิงเปรียบเทียบ และความพึงพอใจของผูเ้ รียนทีมีต่อการปรับเปลียน รวมทCัง
ขอ้ เสนอแนะต่างๆทีเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาการใชง้ านในอนาคต ซึงนกั ศึกษาส่วนใหญ่มีความพึงพอใจใน
การใชง้ าน Google Apps for Education มากกว่าการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศในระบบเดิม โดยเฉพาะใน
ส่วน Collaboration ทีสามารถแชร์เอกสาร แกไ้ ข ทาํ รายงานพร้อมกนั ได้ และมีขอ้ มลู ทีเป็ นปัจจุบนั ร่วมกนั แต่
ทCงั นCีนกั ศึกษายงั มีความคุน้ เคยกบั การใชง้ านในรูปแบบระบบเดิมอยู่ จึงจาํ เป็ นทีตอ้ งมีการส่งเสริม และกระตุน้
การใชง้ านโดยอาจารยผ์ สู้ อนอยา่ งพร้อมเพรียงกนั ในทุกรายวิชา และส่งเสริมการเรียนรู้การใชง้ าน ซึงอาจอย่ใู น
รูปแบบของการอบรม หรือการกาํ หนดใหศ้ ึกษาดว้ ยตนเองผา่ นการทาํ Assignment ต่างๆ เป็นตน้

ผลจากการวิจยั การเรียนการสอนนCีทาํ ใหไ้ ดแ้ นวทางปฏิบตั ิสาํ หรับอาจารยผ์ ูส้ อนในการใชง้ าน Google
Apps for Education ในดา้ นต่างๆ เช่น การใชง้ าน Google Apps Mail, Google+ Community, Google Site เป็น
ช่องในการติดต่อสือสารขอ้ มลู กบั นกั ศึกษา, การใช้ Google Calendar เพือสร้าง Event กาํ หนดการต่างๆหรือนดั
หมายการทาํ กิจกรรมของชCนั เรียน, การใช้ Google Drive ในการแลกเปลียนขอ้ มลู ระหว่างผเู้ รียนและผสู้ อน โดย
สามารถควบคุมสิทธFิการเขา้ ถึงขอ้ มูลต่างๆได,้ การใช้ Google Apps Form และ Google Spreadsheet ในการ
สาํ รวจขอ้ มูลหรือการดาํ เนินกิจกรรมต่างๆร่วมกนั การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านCี ทาํ ให้สามารถ
บริหารเวลาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะทีเพิมประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของนกั ศึกษา ผล
จากการวจิ ยั ยงั พร้อมทีจะเผยแพร่ใหค้ ณาจารยท์ Cงั ในสถาบนั และสถาบนั การศึกษาอืนไดน้ าํ ไปพฒั นาต่อยอดใน
รูปแบบของการจดั การความรู้ (Knowledge Management) หรือจะเป็นการทาํ Kaizen ทีมีการปรับเปลียนการใช้
งานใหเ้ หมาะสมในแต่ละสภาวะการณ์อยา่ งต่อเนืองต่อไป


Click to View FlipBook Version