The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๒. เสียงที่มีความหมายของเยาวชนไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by seksanrung0088, 2021-11-08 02:14:54

๒. เสียงที่มีความหมายของเยาวชนไทย

๒. เสียงที่มีความหมายของเยาวชนไทย

แบบรายงานผลการอบรมหลกั สูตรเสยี งทมี่ ีความหมายของเยาวชนไทย: พัฒนาไดจ้ ากความคิดอย่างยั่งยืน
ระหวา่ งวนั ท่ี 28 สงิ หาคม ถึง 31 ตลุ าคม 2564 (จำนวน 3 ช่วั โมง)
ปกี ารศึกษา 2564

*******************************************************************************************

1. หลักสูตร
ช่ือหลักสตู รภาษาไทย เสียงที่มีความหมายของเยาวชนไทย: พัฒนาได้จากความคดิ อย่างย่ังยืน
ระหวา่ งวนั ท่ี 28 สงิ หาคม ถงึ 31 ตลุ าคม 2564 เรยี นรู้รวมเป็นเวลาจำนวน 3 ชวั่ โมง
เรยี นรู้จาก https://trainflix.com/

2. ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะ หรืออนื่ ๆ ที่ได้รับในการอบรมนำมาเพอื่ พัฒนางานของ
หน่วยงาน ดงั น้ี
วันพุธ ท่ี 8 สงิ หาคม 2564
การพฒั นาความคดิ
การพัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบ

จากสถานการณ์ทางเศรษฐกิจในปจั จบุ ัน การรกั ษาสถานะขององคก์ รให้อยู่รอดเปน็ เรอ่ื งที่สำคัญแต่
เท่านั้นยังไมเ่ พียงพอ องค์กรจะต้องเจริญเติบโตและมคี วามก้าวหน้าอย่างม่ันคง จงึ จะสะท้อนใหเ้ ห็นถงึ
ความสำเรจ็ ขององค์กร แล้วจะทำอย่างไรองค์กรจงึ จะเจริญเติบโตอยา่ งมน่ั คงทรัพยากรบุคคล ถือเป็น
สินทรัพย์ทม่ี ีคา่ ขององคก์ ร ดังน้ัน องค์กรควรใหค้ วามสำคัญในการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพการเรียนรู้
เพราะบคุ ลากรที่ผ่านกระบวนการเรียนรแู้ ละพฒั นาอยา่ งมคี ุณภาพ จะเป็นต้นแบบทดี่ ีในการสร้างวธิ ีคดิ และ
วิธกี ารทำงานอย่างมอื อาชพี การพฒั นาให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้รว่ มกนั เรือ่ ยๆ จงึ เปน็ วิธีทจ่ี ะทำให้องค์กรมี
ความแขง็ แกรง่ มัน่ คง และมีศกั ยภาพการแข่งขนั ท่เี หนือคู่แข่ง

ปัจจัยสู่ความสำเรจ็ การพัฒนาองคก์ รเรยี นรู้
1. การพฒั นาภาวะผู้นำ (Leadership) ให้กบั บคุ ลากรภายในองคก์ รทกุ ระดบั ภาวะผู้นำไม่ได้มี

เฉพาะบคุ คลที่เป็นผ้บู รหิ ารผู้จดั การ หรือหวั หนา้ งานเท่านน้ั แตภ่ าวะผู้นำสามารถสรา้ งให้เกิดขึ้นกับพนกั งาน
ระดบั ปฏิบตั ิการ การพัฒนาภาวะผูน้ ำนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้และการพฒั นาการทำงานเป็นทีม

2. การเรียนรู้ร่วมกนั เปน็ ทีม (Team Learning) การแลกเปล่ียนประสบการณ์ในการทำงานรว่ มกนั
เป็นทมี จะช่วยพฒั นาศักยภาพและความรูค้ วามสามารถของบุคลากรใหเ้ ทา่ เทยี มและทันกัน

3. ความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking) คือ การทีบ่ ุคลากรภายในองคก์ ร
สามารถเข้าใจภาพรวมขององค์กร และเห็นความสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบยอ่ ยต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ
องคก์ รต้องสร้างรูปแบบและแนวคดิ การคิดอยา่ งเป็นระบบไวใ้ ห้ทว่ั ทง้ั องค์กรรวมทั้งกระตนุ้ ให้บคุ ลากรทกุ
ระดบั ไดต้ ระหนกั ถงึ

การเรียนรู้สว่ นตวั ประกอบดว้ ย รูปแบบจติ ใจ การควบคมุ ตนเอง และการคดิ เปน็ ระบบ
สำหรับการเรียนรูข้ องทมี เซ็งกใ้ี ห้เพิ่มอกี สององค์ประกอบคอื วสิ ยั ทศั น์รว่ ม และการเรียนร้เู ปน็ ทีม
ไมเคลิ มารค์ วอตท์ เสนอ ว่าองค์กรใฝเ่ รยี นรู้ประกอบด้วย
1. การเรยี นรใู้ นองค์กร เปน็ การเรยี นรรู้ ะดับบคุ คล ระดบั ทมี ระดับองคก์ ร วนิ ยั ทกั ษะ การเรยี นรู้
2. เปล่ียนรปู แปลงโฉมองค์กรให้เป็นเลิศในการเรียนรู้ โดยกำหนด วสิ ัยทัศน์ วัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ โครงสรา้ ง
องค์กร
3. การมอบสทิ ธิอำนาจและทำใหค้ นสามารถเรียนรู้ คนทเี่ กย่ี วข้อง เช่น ผู้ปฏิบตั งิ าน ผู้บริหาร ลูกค้า ผู้สง่ มอบ
พันธมติ ร และชุมชน
4. การจัดการความรู้ในองคก์ ร (Knowledge management) การได้ความรู้ การสรา้ งความรู้ การเก็บและ
เรยี กความรอู้ อกมา การถา่ ยโอนและการใช้ความรู้
5. เทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ การเรยี นรอู้ ิงเทคโนโลยี ระบบสนบั สนนุ การปฏิบตั งิ านด้วยเทคโนโลยี

การพฒั นาการคิด
กรอบความคดิ ของการคิด ตามแนวทฤษฎกี ารเรียนรูก้ ระบวนการคดิ แบ่งเป็น 3 กล่มุ ใหญ่ ๆ ดังน้ี
กลมุ่ ที่ 1 ทกั ษะความคิด หรือทักษะการคิดพน้ื ฐาน ทมี่ ขี น้ั ตอน การคดิ ไม่ซบั ซ้อน
กลมุ่ ที่ 2 ลักษณะการคิด หรือการคดิ ข้ันกลาง/ระดับกลาง เปน็ การคิดที่มีลกั ษณะการคดิ แตล่ ะลักษณะอาศยั
การคิดข้ันพนื้ ฐานมากบา้ งนอ้ ยบ้าง
กลมุ่ ที่ 3 กระบวนการคิดหรือการคิดระดบั สงู คอื มีข้ันตอนในการคิดซับซอ้ นและตอ้ งอาศัยทักษะความคิด
และลักษณะความคิดเป็นพ้ืนฐานในการคิด กระบวนการคดิ มีอยหู่ ลายกระบวนการ เช่น กระบวนการ
แก้ปญั หา กระบวนการตัดสินใจ

การพัฒนากระบวนการคิดตอ้ งอาศัยตัวรว่ มขณะคดิ 4 ตัวรว่ มดังนี้
ตวั รว่ มท่ี 1 กรอบโลกทัศน์/ชีวทศั น์ คือตวั รว่ มสำคญั ท่ผี สมผสานในระหวา่ งทเ่ี ราคดิ เราคดิ อยา่ งไร จะสรุป
ความคิดของเราออกมาเชน่ ไร จะยึดกรอบเดมิ หรือกรอบใหม่
ตวั ร่วมที่ 2 นิสยั คอื นสิ ัยมผี ลเชือ่ มโยงกับรปู แบบวธิ คี ิดของเราเป็นอย่างมาก เนือ่ งจากเปน็ ตัวกำหนดการคิด
และการแก้ปญั หาของเรา
ตวั ร่วมที่ 3 อารมณ์ คอื เม่อื เราเกิดอารมณ์ใดกต็ ามสมองของเรามักจะสร้างภาพในใจหรือเกดิ จินตนาการ
ถา่ ยทอดอารมณน์ ัน้
ตัวร่วมที่ 4 แรงจูงใจ คอื การท่ีเราตัดสนิ ใจกระทำส่ิงใดส่ิงหน่งึ อยา่ งเฉพาะเจาะจงเรามกั จะกระต้นุ ดว้ ยแรงขบั
ภายใน ไดแ้ ก่ แรงขับความตอ้ งการพน้ื ฐาน แรงขบั ความอยากรู้อยากเหน็ กระบวนการแกป้ ญั หา

ระบบและรปู แบบการคดิ
มี 7 รูปแบบ คอื
1. Lateral Thinking การคิดแบบแตกแขนง เป็นการคดิ นอกกรอบ
เปน็ ความคิด นอกกรอบ หรือ บางทบี างคนใชท้ างด้าน จรรยาบรรณ ศลี ธรรม หรือ ความจงรกั ภกั ดีในหนา้ ที่
ซงึ่ เป็นสงิ่ ทตี่ อ้ งปลกู ฝังใหพ้ นักงานมคี วามคดิ ลกั ษณะน้ี เพอื่ ทำใหอ้ งคก์ รแข็งแรง อย่างเช่น การทำใหพ้ นกั งาน
ตระหนกั ถงึ ความปลอดภยั ของข้อมูล ความลับของบรษิ ทั ฯห้ามเปดิ เผย การสรา้ ง Royalty กบั บริษทั ฯ การ
สร้างความสมั พนั ธ์อนั ดรี ะหวา่ งพนกั งาน และ หัวหน้างาน ทำใหพ้ นกั งานตดั สินใจยากในการออกจากบรษิ ทั ฯ
เรา
2. Vertical Thinking เป็นความคิดในแนวตรง เกิดข้ึนโดยตรงจากข่าวสารที่เป็นทางการและใช้ในการหา
คำตอบท่ีน่าสนใจ ซงึ่ นกั บรหิ ารควรท่ีจะเปน็ นักคดิ ในแนวทางน้ีใหม้ าก
3. Logical Thinking การคิดอย่างมีตรรกะ เป็นพื้นฐานแห่งแนวคิด การปฏบิ ตั ิ ทเ่ี นน้ ความเปน็ เหตุเป็นผล
อย่างต่อเน่ือง ไมว่ ่าจะเป็นการสนทนากนั อยา่ งมเี หตุผล มกี ารวางแผนที่เป็นขั้นตอน มกี ารลำดบั เรื่องราว
สามารถมองจากมุมมองของภาวะวสิ ัยหรอื จากภาพรวม
4. Creative Thinking การคดิ สร้าง สรรคใ์ นเชงิ บวก
เป็นความคิดประยกุ ต์ จากประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ รวมท้ัง การปรบั ปรุงสง่ิ ท่มี ีอยู่ให้มีคุณค่ามาก
ยงิ่ ขนึ้ มีประโยชนม์ ากขึ้น อย่างเช่น คิดถึงผลติ ภัณฑใ์ หม่ เพ่ือสามารถขายใหก้ บั ลูกค้าได้ คิดถึงการสร้างงานใน
แขนงใหมๆ่ ใหเ้ กิดข้นึ เพ่ือส่งเสรมิ ให้ลูกคา้ มขี ้อมูลในการใช้งานมากย่งิ ขน้ึ อาจจะคิดถึงการรายงานในรูปแบบ
ใหม่ เพ่ือให้ขอ้ มลู กบั หัวหนา้ งานไดด้ ีขึ้น เปน็ ตน้
5. Critical Thinking เปน็ กระบวนการทางจิตสำนกึ เพอื่ วิเคราะห์
6. Positive Thinking การมองสิ่งต่างๆอยา่ งเข้าใจ ยอมรบั ไดใ้ นดา้ นลบ มองปัญหา ความทุกข์ ความไม่
ราบรน่ื เปน็ เรื่องธรรมดา หากรู้จกั เลอื กใชป้ ระโยชนจ์ ากด้านบวกทีแ่ ฝงอยจู่ ากสิ่งนั้นๆ ได้ เหตุการณ์บางอย่าง
เราไม่สามารถเลอื กไดว้ า่ จะให้เกดิ หรอื ไมใ่ ห้เกิด แต่เม่อื เกิดข้ึนไปแล้ว เราเลอื กไดว้ ่าจะมองและรู้สกึ กับมัน
อยา่ งไร เป็นความคดิ ในแงด่ ี มองในแง่มุมของความเป็นไปได้ ใหก้ ำลังใจกบั ตนเอง และ ผูอ้ ่ืน ซ่ึงเป็นความคดิ
พืน้ ฐานของความคิดที่ดีๆทง้ั หมด เชน่ คดิ ว่าจะทำอยา่ งไรใหแ้ ผนกทำงานไดป้ รมิ าณ และ คุณภาพ มากทสี่ ดุ ใน
เวลา เท่าเดิม หรอื คิดว่า เราจะทำอย่างไรดีทีจ่ ะทำใหง้ านที่บริการลูกคา้ แลว้ ลกู ค้าพงึ พอใจอย่างมาก จาก
การบริการของเรา เป็นต้น
7. Ethical Thinking ความคดิ ในเชงิ จริยธรรม คุณธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้

ทฤษฎีหมวก 6 ใบ

1. หมวกสีขาว หมายถึง ข้อมูลข่าวสารท่ีจำเป็นและควรรู้ เชน่ เอาตวั เลขมาดูซิ คุยกนั ดว้ ยตวั เลข มีขอ้ มูล
สนับสนนุ ไหม ไมใ่ ช้ความรูส้ ึก ไมโ่ ลภ และไม่กลวั จนเกินไป
2. หมวกสีแดง หมายถึง ความร้สู กึ สญั ชาตญาณ และลางสังหรณ์ ให้คิดแบบใช้หวั ใจคดิ หรือคดิ ตาม
ความรู้สกึ คิดอะไรก็พูดไปแบบนนั้
3. หมวกสีดำ หมายถึง การตดั สนิ หรอื ความเห็นโตแ้ ยง้ มองโลกในแงร่ า้ ยบา้ ง มขี ้อเสียอยูต่ รงไหน มองแบบ
ขวานผ่าซาก
4. หมวกสเี หลอื ง เป็นสัญลักษณ์แสดงถงึ ความสดใสและการมองโลกในแงด่ ี ทำแบบน้ี แบบน้นั แลว้ ได้
ประโยชน์อะไร มขี ้อดอี ะไร มกี ำไรไหม คุ้มคา่ ไหม มองโลกในแงด่ ี
5. หมวกสีเขียว หมายถงึ ความคิดสรา้ งสรรค์ รวมถงึ ความเปน็ ไปได้ต่างๆ ทางเลอื ก และความคิดใหมๆ่ ให้คิด
แบบมที างเลือกอื่นไหม มแี นวทางใหมๆ่ แปลกๆ ไหม คดิ แบบสร้างสรรค์
6. หมวกสฟี า้ หมายถงึ การจัดระบบความคิด การมองแบบองคร์ วม แบบสรปุ ผล กำหนดแนวคิดข้ันต่อไป
แบบคมุ เกม
หมวก 6 ใบ ทีจ่ ะถกู เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ การต้ังเง่ือนไขความคิดตามการเลอื กใช้หมวกแต่ละใบ
ในต่างสถานการณ์ ถูกพิสูจน์แลว้ วา่ มปี ระสิทธิภาพและตัดปัญหาเร่ืองอโี ก้ของสมาชกิ ในทีป่ ระชุมได้
นอกจากน้นั เม่ือกำหนดทิศทางการคิดไปตามสขี องหมวก เช่น การเลอื กหมวกสีขาว ทีต่ อ้ งโฟกัสไปยงั เรือ่ ง
ข้อมลู ทจี่ ำเป็น หรอื หมวกสีเขียว ตอ้ งโฟกัสเรอื่ งไอเดยี แปลกใหม่ ทกุ คนจะช่วยกันระดมความคิดเฉพาะทิศทาง
นน้ั ๆ ทำให้ระดมความคดิ ได้เรว็ ขึ้น และไม่มกี ารโต้แยง้ กัน หรอื ออกนอกประเด็น

เทคนคิ การคิดอยา่ งเป็นระบบ
การคิดอย่างเปน็ ระบบ เปน็ การมองแบบองคร์ วมเปน็ ความสามารถในการเขา้ ใจถึงความสัมพนั ธร์ ะหว่างส่ิง
ตา่ งๆ ทีเ่ ป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบ นอกจากมองภาพรวมแลว้ ตอ้ งมองรายละเอยี ดของส่วนประกอบ
ยอ่ ยในภาพนั้นให้ออกดว้ ย การคิดอยา่ งเป็นระบบ ก็คือ การคิดให้ครบองค์ประกอบของระบบให้ครบทุก 4
ด้าน ได้แก่

1. คดิ ให้ลกึ เชงิ วเิ คราะห์ (Analytical Thinking)
2. คิดให้กวา้ งอย่างสรา้ งสรรค์ (Creative Thinking)
3. คิดให้ครบจนจบเรื่อง (Integrated Thinking)
4. คิดในภาพรวมท้งั ระบบ (System Thinking)

เทคนิคการจำอย่างเป็นระบบยง่ิ เป็นเร่อื งง่ายด้วยการใช้แผนภูมิ
1. Brain Mapper Diagram
2. Tree Diagram
3. Fish Bone Diagram
4. Mind Mapping Diagram

แผนภูมสิ มอง (Brain Mapper Diagram)
เปน็ ทีน่ ิยมในกลุ่มนักวชิ าชีพคอมพวิ เตอร์ โดยเขยี นจากวงกลมศูนย์กลางเปน็ หัวเรื่องใหญ่ แตกออกไปเป็น
รัศมี และทีป่ ลายของรัศมนี ั้นจะเปน็ หัวเรอื่ งยอ่ ย ดงั น้นั ระหวา่ งเส้นรศั มีจะสามารถแตกกง่ิ ก้านออกไปได้
เรอื่ ยๆ คล้ายแผนภูมิกา้ งปลา ท่ีตรงึ ส่วนหวั -สว่ นทา้ ยไวด้ ้วย หัวเร่ืองยอ่ ย นนั่ เอง

แผนภูมิตน้ ไม้ (Tree Diagram )
เทคนคิ แผนภมู ิกา้ งปลา (Fish Bone Diagram)
โดยมีลักษณะรูปหวั ปลา คอื หวั เร่อื งใหญ่ และรปู ก้างแกนกลางเป็นหลกั และแตกก่งิ ก้างใหย้ ่อยออกไปอีกเปน็
ก้าน แต่ละกา้ นกม็ ี หวั เรือ่ งย่อย บอกวา่ เปน็ ทนี่ ยิ มใช้ ในการคิด และวิเคราะหป์ ัญหากจิ กรรมวงจรคณุ ภาพ
(Q.C. Circle) แตไ่ มค่ อ่ ยเปน็ ท่นี ิยมในงานทวั่ ไป และงานที่ซับซ้อนมากๆ ผู้เขียนเชอื่ ว่า อาจจะเป็นเพราะ ไม่
สะดวกท่จี ะเพิ่มก้านในภายหลงั เนื่องจากถูกตรงึ ตำแหน่งจาก หัวเรอ่ื งยอ่ ย นนั่ เอง
แผนภูมิชว่ ยคิด ชว่ ยจำ (Mind Mapping Diagram)

ภาคผนวก ก

วฒุ ิบตั รผ่านการอบรม



ภาคผนวก ข

เนื้อหาการอบรม




Click to View FlipBook Version