รู้จัก สช. สช. ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๐ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ เพื่อทำ หน้าที่เป็นองค์กรเลขานุการให้กับคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (คสช.) สช. เป็นองค์กรของรัฐในรูปแบบใหม่ อยู่ ในกำ กับนายกรัฐมนตรี โดยมีคณะกรรมการ บริหาร (คบ.) ที่แต่งตั้งโดย คสช. ทำ หน้าที่กำ หนด นโยบายและกำ กับการทำ งานของ สช.โดยตรง สช.ทำ หน้าที่เป็นกลไกให้ คสช. เพื่อบรรลุภารกิจ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ วิสัยทัศน์ สช. “สช. เป็นองค์กรหลักในการขับเคลื่อน กระบวนการนโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพแบบ มีส่วนร่วมที่สอดคล้องกับธรรมนูญว่าด้วยระบบ สุขภาพแห่งชาติ เพื่อพัฒนาประเทศไปสู่ “สังคม สุขภาวะ” หลักการและเหตุผลการมี พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ ระบบสุขภาพ “สร้าง นำ ซ่อม” กรอบทิศทางและแนวทาง องค์กร กลไก เครื่องมือ * มีส่วนร่วม * รู้เท่าทัน * กำ หนดนโยบาย และยุทธศาสตร์ สำ หรับการดำ เนินงานด้านสุขภาพ คสช. สช. ภาคีเครือข่าย คบ. ขับเคลื่อนนโยบาย เคลื่อนไหวสังคม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายที่มีความสำ คัญในการวางกรอบและแนวทางการกำ หนด นโยบายยุทธศาสตร์และการดำ เนินงานด้านสุขภาพของประเทศ รวมทั้งสร้างองค์กรและกลไก เพื่อให้เกิด การดำ เนินงานอย่างต่อเนื่องและมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย อันจะนำ ไปสู่เป้าหมายในการสร้างเสริมสุขภาพและ ดูแลแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนอย่างเป็นองค์รวม ครบทั้ง ๔ มิติ คือ กาย จิต สังคม และปัญญา เป้าประสงค์ พันธกิจและเครื่องมือ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๐ ทิศทาง ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ สมัชชาสุขภาพ เอชไอเอ สิทธิด้านสุขภาพ เครื่องมือพัฒนานโยบายต่างๆ สุขภาพ = สุขภาวะทางกาย ใจ สังคม ปัญญา (จิตวิญญาณ) ที่เป็น องค์รวมอย่างสมดุล
การดำ เนินงานตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีเป้าหมายสูงสุดคือ การมีสังคมสุขภาวะ โดยใช้ยุทธศาสตร์หลัก คือ “สามเหลี่ยมเขยื้อน ภูเขา” คือ การเชื่อมโยงสามพลัง อันได้แก่ พลัง สังคม พลังปัญญา และพลังรัฐ เข้าทำ งานร่วมกัน และมียุทธศาสตร์ในการดำ เนินงาน ๔ ประการ คือ ในการทำ งานเพื่อให้บรรลุผลตามภารกิจ สช. จึงใช้หลักการของ “การสานพลัง” เพื่อ เชื่อมโยง ประสาน ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในสังคม ได้ใช้เครื่องมือและกลไกต่างๆ ภายใต้ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ ในการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ที่เน้นการสร้างนำ ซ่อม พลังปัญญา พลังสังคม พลังรัฐ (๑) การสานพลังความร่วมมือทางสังคม (๒) การสร้างความรู้จากการปฏิบัติ (๓) การสื่อสารการตลาดเพื่อสังคมแบบ บูรณาการ และ (๔) การบริหารจัดการ ดังแผนภาพต่อไปนี้ สังคมมีสุขภาวะเพิ่มขึ้น สช. เป็นองค์กรหลักในการขับเคลื่อน การพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมที่สอดคล้อง กับธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ เพื่อพัฒนาประเทศไปสู่สังคมสุขภาวะ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างและ จัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การสานพลังความร่วมมือ ทางสังคม ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสื่อสารการตลาด เพื่อสังคมแบบบูรณาการ ธรรมณูญสุขภาพ สมัชชาสุขภาพ เอชไอเอ สิทธิด้านสุขภาพ พัฒนานโยบายสาธารณะอื่นๆ
6 สิ่งภายใต้ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ ส่งเสริมสิทธิ ด้านสุขภาพ การประเมิน ผลกระทบ ด้านสุขภาพ ปรัชญาสุขภาพใหม่ สามเหลี่ยม เขยื้อนภูเขา ปรากฏการณ์ใหม่ ทุกนโยบายห่วงใยสุขภาพ ทุกนโยบาย ห่วงใยสุขภาพ เป็นจริง ได้อย่างไร ? ๖ สุขภาพเป็นเรื่อง สิทธิและ ความรับผิดชอบ สร้างนำ ซ่อม กระบวนทัศน์ด้านการพัฒนา นโยบายสาธารณะเปลี่ยน กระบวนทัศน์ ด้านสุขภาพ เปลี่ยน ๑
สมัชชาสุขภาพ ธรรมนูญ ว่าด้วยระบบ สุขภาพแห่งชาติ เครื่องมือใหม่ภายใต้ กฎหมายสุขภาพใหม่ คณะกรรมการ ต่างๆ แต่งตั้งโดย คสช. คณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (คสช.) สำ นักงาน คณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (สช.) กลไกใหม่ภายใต้ กฎหมายสุขภาพใหม่ กฎหมายสุขภาพใหม่ สุขภาพ คือ สุขภาวะ (กาย ใจ สังคม ปัญญา) สุขภาพในความหมายใหม่ ที่กว้างกว่าเดิม ๕ พระราชบัญญัติสุขภา พแห่งชาติ ๔ ๒ ๓
๒๕๔๓ ๒๕๔๔ ๒๕๔๖-๒๕๔๘ ๒๕๔๕ เผยแพร่ รายงานระบบ สุขภาพประชาชาติ ข้อเสนอตามรัฐธรรมนูญ ๔๐ โดย คมธ. เสนอ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ โดยภาคประชาชน รัฐบาลออกระเบียบสำ นักนายกฯ ว่าด้วย การปฏิรูประบบสุขภาพ แห่งชาติ กำ เนิด - คณะกรรมการปฏิรูประบบ สุขภาพแห่งชาติ (คปรส.) - สำ นักงานปฏิรูประบบ สุขภาพแห่งชาติ (สปรส.) ตลาดนัดสุขภาพ ๑-๕ ก.ย. ๔๔ ระดม ๓,๐๐๐ ภาคีสุขภาพ เผยแพร่เอกสารร่างกรอบ ความคิดระบบสุขภาพ มีสมัชชาสุขภาพทุกจังหวัด ให้ข้อเสนอต่อการยกร่าง พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วย พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ : ธรรมนูญสุขภาพของคนไทย รณรงค์รวมพลังสร้างสุขภาพ ตามรอยพระยุคลบาท สมัชชาสุขภาพเฉพาะพื้นที่/เฉพาะประเด็น สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ๒๕๔๘ ว่าด้วย ความอยู่เย็นเป็นสุข สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ว่าด้วย เศรษฐกิจพอเพียง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ๒๕๔๙ บนเส้นทาง “สร้างนำซ่อม”
๒๕๕๐-๒๕๕๒ กำ เนิด พ.ร.บ.สุขภาพ แห่งชาติ และ สำ นักงาน คณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (สช.) ประชุมคณะกรรมการสุขภาพ แห่งชาติ (คสช.) ครั้งแรก ประกาศใช้ “ธรรมนูญว่าด้วย ระบบสุขภาพ แห่งชาติ” เกิดธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ ฉบับแรก ที่ ต.ชะแล้ จ.สงขลา ประกาศใช้ “หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมิน ผลกระทบ ด้านสุขภาพ” สนับสนุนการประเมินผลกระทบ ด้านสุขภาพ ประชุมนานาชาติ “การประเมิน ผลกระทบทาง สุขภาพในภาคพื้น เอเชียแปซิฟิก” สนับสนุนสมัชชาสุขภาพ เฉพาะพื้นที่และเฉพาะประเด็น ทั่วประเทศ ขับเคลื่อน “เมืองไทยหัวใจมนุษย์” ๒๕๕๓-๒๕๕๖ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๓-๖ เริ่ม “รางวัลสมัชชาสุขภาพ แห่งชาติ” (Smatcha Awards) สนับสนุนสมัชชาสุขภาพเฉพาะ พื้นที่ /เฉพาะประเด็นต่อเนื่อง และสมัชชาสุขภาพจังหวัด อย่างเป็น ระบบ ประชุมวิชชาการ ๑ ทศวรรษ สมัชชาสุขภาพ เกิด “เครือข่ายพัฒนางาน เอชไอเอ” (HIA Consortium) มุ่งสนับสนุน เอชไอเอชุมชน ต่อเนื่อง และขยายสู่อาเซียน ประกาศใช้ กฎกระทรวง ตามมาตรา ๑๒ แห่ง พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ จัดตั้ง “สำ นักงานปฏิรูป” (สปร.) รองรับงานปฏิรูปประเทศไทย สมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑-๓ สนับสนุนธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ อย่างต่อเนื่อง สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ เป็นทางการ ครั้งที่ ๑ และ ครั้งที่ ๒
• “สถานีวิทยุและโทรทัศน์สุขภาพแห่งชาติ” สถานีออนไลน์ www.healthstation.in.th ที่เปิด พื้นที่สาธารณะให้เครือข่ายร่วมเป็นเจ้าของได้ รวมทั้ง ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาวะ/สุขภาพ ที่เป็นประโยชน์และเชื่อถือได้ ภายใต้คำขวัญที่ว่า “สช.ออนไลน์ สานใจ สานพลัง” • สืบค้นข้อมูลผ่านเว็บไซต์ต่างๆ • www.nationalhealth.or.th : รู้จักและเข้าใจ สำ นักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติในบทบาท “สานพลัง สร้างสุขภาวะ • www.thia.in.th : ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ ประเมินผลกระทบด้านสุขภาพหรือ เอช ไอ เอ (Health Impact Assesment : HIA) ซึ่งเป็นเครื่องมือ ช่วยให้สุขภาพมีความหมายในการพัฒนานโยบาย สาธารณะ ติดตามความเคลื่อนไหวของ สช. • www.samatcha.org : “สมัชชาสุขภาพ” กระบวนการสานพลังทางสังคม ภายใต้ยุทธศาสตร์ “สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา” สู่การขับเคลื่อนนโยบาย สาธารณะเพื่อสุขภาพ • www.thailivingwill.in.th : “อยู่อย่างมี ความหมาย ตายอย่างมีศักดิ์ศรี” การดูแลเคารพ ในเจตจำ นงและคุณค่าของผู้ป่วยรวมถึงการคำ นึงถึง สิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดท้ายของชีวิตเพื่อการ มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และเพื่อความสุขจน ลมหายใจสุดท้าย • www.deedee.in.th : “ธนาคารเรื่องราวดีดี แห่งชาติ” แหล่งข้อมูลในการสืบค้น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ข่าวสารเรื่องราวดีดีภายใต้ปรัชญา“รู้รอบ” และเป็น “ประโยชน์ต่อสาธารณะ” • สำ นักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) โทรศัพท์ 0 2832 9000 โทรสาร 0 2832 9001 และ 0 2832 9002 ติดต่อ-สอบถาม ทีมที่ปรึกษา และ ผู้บริหาร สช. • ที่ปรึกษา (ดร.กาญจนา กาญจนสินิทธ์) • ที่ปรึกษา (นพ.ศิริวัฒน์ ทิพย์ธาราดล) • ที่ปรึกษา (นายพิชัย ศรีใส) • ที่ปรึกษา (นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา) • ที่ปรึกษา (นางทิพย์รัตน์ นพลดารมย์) • ที่ปรึกษา (นพ.พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข) • เลขาธิการ (นพ.อำ พล จินดาวัฒนะ) โทร. 0 2832 9010 • รองเลขาธิการ (นพ.อุกฤษฏ์ มิลินทางกูร) โทร. 0 2832 9129 • รองเลขาธิการ (นางกรรณิการ์ บรรเทิงจิตร) โทร. 0 2832 9129 • รองเลขาธิการ (นางปิติพร จันทรทัต ณ อยุธยา) โทร. 0 2832 9020 • รองเลขาธิการ (นางอรพรรณ ศรีสุขวัฒนา) โทร. 0 2832 9071 • รองเลขาธิการ (นพ.ประจักษวิช เล็บนาค) โทร. 0 2832 9129 • สำ นักอำ นวยการ โทร. 0 2832 9022 • สำ นักยุทธศาสตร์ แผนและประเมินผล โทร. 0 2832 9044 • สำ นักพัฒนาวิชาการและการจัดการความรู้ โทร. 0 2832 9075 • สำ นักสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ โทร. 0 2832 9061 • สำ นักสนับสนุนปฏิบัติการพื้นที่ โทร. 0 2832 9062 • ศูนย์ประสานงานการพัฒนาระบบและ กลไกการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ โทร. 0 2832 9085 สำนักต่างๆ ใน สช. • สำ นักส่งเสริมสิทธิและสร้างสุขภาวะ โทร. 0 2832 9092 • สำ นักการสื่อสารทางสังคม โทร. 0 2832 9144 • งาน คสช./คบ. โทร. 0 2832 9025 • งานต่างประเทศ โทร. 0 2832 9129 • งานทรัพยากรบุคคล โทร. 0 2832 9036
มกราคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 มีนาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 พฤษภาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 กรกฎาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 กันยายน จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 พฤศจิกายน จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 กุมภาพันธ์ จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 เมษายน จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 มิถุนายน จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 สิงหาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 ตุลาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 ธันวาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 ๒๕๕๘ 2015
๒๕๕๗ จันทร์ Monday อังคาร Tuesday พุธ Wednesday มกราคม 30 31 1 6 7 8 13 14 15 20 21 22 27 28 29 3 4 5 วันขึ้นปีใหม่
2014 พฤหัสบดี Thursday ศุกร์ Friday เสาร์ Saturday อาทิตย์ Sunday บันทึก January วันครู ธันวาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 2 3 4 5 9 10 11 12 16 17 18 19 23 24 25 26 30 31 1 2 6 7 8 9 กุมภาพันธ์ จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 วันตรุษจีน วันเด็ก แห่งชาติ
๒๕๕๗ จันทร์ Monday อังคาร Tuesday พุธ Wednesday กุมภาพันธ์ 27 28 29 3 4 5 10 11 12 17 18 19 24 25 26 3 4 5
2014 พฤหัสบดี Thursday ศุกร์ Friday เสาร์ Saturday อาทิตย์ Sunday บันทึก February มกราคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 มีนาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 6 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 30 31 1 2 6 7 8 9 13 14 15 16 20 21 22 23 27 28 1 2 6 7 8 9 วันมาฆบูชา
๒๕๕๗ จันทร์ Monday อังคาร Tuesday พุธ Wednesday 24 25 26 3 4 5 10 11 12 17 18 19 24 25 26 31 1 2 มีนาคม วันเกิด สช.
2014 พฤหัสบดี Thursday ศุกร์ Friday เสาร์ Saturday อาทิตย์ Sunday บันทึก 27 28 1 2 6 7 8 9 13 14 15 16 20 21 22 23 27 28 29 30 3 4 5 6 กุมภาพันธ์ จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 เมษายน จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 6 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 March วันสตรี สากล วันสิทธิ ผู้บริโภค สากล
1 2 3 4 8 9 10 11 15 16 17 18 22 23 24 25 29 30 1 2 6 7 8 9 ๒๕๕๗ จันทร์ Monday อังคาร Tuesday พุธ Wednesday 31 1 2 7 8 9 14 15 16 21 22 23 28 29 30 5 6 7 เมษายน วันสงกรานต์ ชดเชยวันสงกรานต์ ชดเชยวันจักรี วันคุ้มครองผู้บริโภค วันคุ้มครองโลก วันสงกรานต์ วันครอบครัว
5 6 7 12 13 14 19 20 21 26 27 28 3 4 5 10 11 12 2014 พฤหัสบดี Thursday ศุกร์ Friday เสาร์ Saturday อาทิตย์ Sunday บันทึก 3 4 5 6 10 11 12 13 17 18 19 20 24 25 26 27 1 2 3 4 8 9 10 11 มีนาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 6 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 พฤษภาคม จ อ พ พฤ ศ ส อา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 6 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 April วันจักรี วัน สงกรานต์ วัน ผู้สูงอายุ
๒๕๕๗
2014 “สิ่งที่ผู้ป่วยระยะสุดท้ายต้องการมากที่สุดนั้น มิใช่ความรู้หรือเทคโนโลยี หากคือความรักและกำลังใจ” พระไพศาล วิสาโล