The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2564 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by monday2design, 2023-08-27 08:31:12

รายงานประจำปี 2564 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม

รายงานประจำปี 2564 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.)

Keywords: บสย.

ทั้งนี้ เพื่อให้การช่วยเหลือครอบคลุมกลุ่มผู้ประกอบการรายย่อย (Micro SMEs) และ Start up ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ประกอบการ รายย่อยระดับฐานรากที่มีความสำ�คัญทั้งในด้านจำ�นวนผู้ประกอบการและการจ้างงาน โดย บสย. ได้ดำ�เนินการส่งเสริมและสนับสนุน กลุ่มผู้ประกอบการดังกล่าวตามกลยุทธ์ SMEs Segmentation อย่างต่อเนื่องนับจากปี 2556 จนถึงปัจจุบัน ส่งผลให้เกิดประโยชน์ โดยตรงต่อกลุ่มผู้ประกอบการกลุ่มฐานรากและขยายผลต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวม สรุปได้ดังนี้ ที่มา: ระบบการวัดและวิเคราะห์ผลการดำ�เนินการ การจ้างงานผู้ประกอบการกลุ่ม Micro และ Start-up 600,000 500,000 400,000 300,000 200,000 100,000 0 93,238 57,150 164,551 85,791 191,469 133,707 558,505 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 โครงการค้ำ ประกัน สำ หรับกลุ่ม Micro 1 Micro SMEs GSB 2 Micro Enterpreneurs ระยะที่ 1 3 Micro Enterpreneurs ระยะที่ 2 4 Micro Enterpreneurs ระยะที่ 3 5 Micro Enterpreneurs ระยะที่ 4 สำ หรับกลุ่ม Start-up 6 PGS New/Start-up 7 Start-up & Innovation 8 Start-up & Innobiz ยอดอนุมัติสะสม (พันล้านบาท) ปี 2558 7.11 ปี 2564 64.72 สินเชื่อจากการค้ำ (พันล้านบาท) ปี 2558 7.36 ปี 2564 66.96 สินเชื่อจากการค้ำ (พันล้านบาท) ปี 2558 32.59 ปี 2564 271.72 ตำ แหน่ง บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 105


โครงสร้างรายได้ ในปี 2564 บสย. มีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของโครงสร้างรายได้ที่มีนัยสำ�คัญต่อผลกำ�ไร คือ มีการเติบโตของสัดส่วนรายได้ จากธุรกรรมนโยบายรัฐเพิ่มสูงขึ้นเกือบเท่าตัว จากสัดส่วน 38.78 ในปี 2563 เพิ่มขึ้นเป็น 62.07 ในปี 2564 เป็นผลจากที่ บสย. วิเคราะห์ว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ยังคงส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจที่กระทบต่อการลงทุน และรัฐบาล ได้มอบหมายให้ บสย. ค้ ำ�ประกันสินเชื่อช่วยเหลือ SMEs เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น บสย. จึงปรับกลยุทธ์มุ่งเน้นการจัดหารายได้จาก การขยายการค้ ำ�ประกันที่เพิ่มสูงขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการดำ�เนินงาน ส่งผลให้มีจำ�นวนเงินรายได้จากกลยุทธ์นี้เพิ่มมากขึ้น และมีความสำ�คัญเป็นสัดส่วนรายได้หลักในปี 2564 ในขณะที่สัดส่วนของรายได้จากการบริหารเงินกองทุนและรายได้ดอกเบี้ย มีอัตราลดลงจากเดิม สำ�หรับสัดส่วนของรายได้จากค่าธรรมเนียมการค้ ำ�ประกันและรายได้จากธุรกรรมนโยบายรัฐที่มีสัดส่วนรายได้ที่สูง แต่เมื่อ มีการหักการกันสำ�รองค่าประกันชดเชยในส่วนของโครงการ PGS ในคราวเดียวกันด้วยจำ�นวนเงินเท่ากัน จึงคงเหลือยอดรายได้สุทธิ ในสัดส่วนที่น้อยมากและไม่มีนัยสำ�คัญต่อผลกำ�ไรของ บสย. โครงสร้างรายได้ 2564 2563 จำ นวน (ล้านบาท) สัดส่วน (ร้อยละ) จำ นวน (ล้านบาท) สัดส่วน (ร้อยละ) รายได้ค่าธรรมเนียมการค้ ำ�ประกัน 8,155.11 575.74 6,712.10 840.12 หัก ค่าประกันชดเชย 8,149.44 575.34 6,678.41 835.90 รายได้ค่าธรรมเนียมค้ ำ ประกันสุทธิ 5.67 0.40 33.69 4.22 รายได้เงินชดเชยจากธุรกรรมนโยบายรัฐ 3,946.47 278.61 1,660.32 207.81 หัก ค่าประกันชดเชย 3,946.47 278.61 1,660.32 207.81 รายได้ค่าธรรมเนียมค้ ำ ประกันสุทธิ - - - - รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ 232.44 16.41 174.51 21.84 รายได้จากการบริหารเงินกองทุนสุทธิ 246.27 17.39 218.10 27.30 รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น ๆ 52.87 3.73 62.78 7.86 รายได้จากธุรกรรมนโยบายรัฐ 879.22 62.07 309.87 38.78 รายรายได้สุทธิ 1,416.46 100.00 798.95 100.00 รายงานประจำ ปี2564 106


หน่วย: ล้านบาท โครงสร้างรายได้ ปี 2564 ปี 2563 อัตราการเติบโต ปี 2564-2563 รายได้ค่าธรรมเนียมค้ ำ�ประกัน หัก ค่าประกันชดเชย 8,155.11 (8,419.44) 6,712.10 (6,678.41) 21.50% 22.03% รายได้เงินชดเชยจากธุรกรรมนโยบายรัฐ หัก ค่าประกันชดเชยจากธุรกรรมนโยบายรัฐ 3,946.47 (3,946.47) 1,660.32 (1,660.32) 137.69% 137.69% รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ 232.44 174.51 33.20% กำ�ไรสุทธิจากเงินลงทุน 246.26 218.10 12.91% รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น ๆ 52.87 62.78 -15.79% รายได้จากธุรกรรมนโยบายรัฐ 879.22 309.87 183.74% รวมรายได้จากการดำ เนินงาน 1,416.46 798.95 77.29% การวิเคราะห์และคำ อธิบายของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis : MD&A) สืบเนื่องจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ที่ยังส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปี 2564 โดยรัฐบาล ได้ออกมาตรการต่างๆ เพื่อช่วยบรรเทาให้สถานการณ์ต่าง ๆ ผ่อนคลายลง ทั้งด้านสังคมและด้านเศรษฐกิจ รวมถึงธนาคาร แห่งประเทศไทยได้ร่วมมือกับกระทรวงการคลังและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องดำ�เนินมาตรการทางการเงินเพื่อช่วยเหลือฟื้นฟู ผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของ COVID-19 ทำ�ให้สถาบันการเงินมีความมั่นใจในการปล่อยสินเชื่อให้กับ ผู้ประกอบการ SMEs มากขึ้น โดยได้มีการปรับกลยุทธ์ ปรับกระบวนการทำ�งานเพื่อให้สอดคล้องรองรับกับสถานการณ์โดยเฉพาะ การควบคุมคุณภาพสินเชื่อ เช่นเดียวกับ บสย. ที่ได้รับมอบหมายภารกิจสำ�คัญจากรัฐบาลและธนาคารแห่งประเทศไทย เพื่อให้ ดำ�เนินการค้ ำ�ประกันสินเชื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ทั้งกลุ่มทั่วไป กลุ่มฐานราก และกลุ่มเปราะบาง ผ่านโครงการค้ ำ�ประกัน สินเชื่อ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 9 (PGS 9) โครงการค้ ำ�ประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการ Micro Entrepreneurs ระยะที่ 4 (Micro 4) โครงการค้ ำ�ประกันสินเชื่อ พ.ร.ก. สินเชื่อฟื้นฟู อีกทั้งการให้คำ�ปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาทางการเงิน ผ่านศูนย์ที่ปรึกษาทางการเงิน SMEs (บสย. F.A. Center) ภาพรวมการดำ�เนินงานในรอบปี 2564 บสย. ยังคงเพิ่มบทบาทการดำ�เนินงานด้านการค้ ำ�ประกันสินเชื่อให้ผู้ประกอบการ SMEs เพื่อสนับสนุนนโยบายรัฐบาล ซึ่งมีการปรับกลยุทธ์เพื่อให้สามารถปฏิบัติภารกิจที่เพิ่มขึ้นในขณะที่ยังคงพนักงานไว้ในจำ�นวน เท่าเดิม โดยมีการนำ�เทคโนโลยีมาปรับใช้ในกระบวนการทำ�งาน จนทำ�ให้ยอดค้ ำ�ประกันเติบโตขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 38.74 นับเป็น การดำ�เนินงานที่ตอบสนองต่อนโยบายรัฐบาลได้อย่างรวดเร็วและบรรลุผลตามเป้าหมาย ในด้านของผลประกอบการทางการเงิน บสย. มีผลกำ�ไรสุทธิของงวดปี 2564 บสย. จำ�นวน 818.23 ล้านบาท เป็นผลจากความสามารถในการปรับกลยุทธ์เพื่อรองรับ สถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจาก COVID-19 โดยเฉพาะสถานการณ์ตลาดเงินและตลาดทุนที่มีความผันผวน ซึ่งกระทบต่อรายได้จากเงินลงทุนที่เป็นรายได้หลักของ บสย. ดังนั้น บสย. จึงได้ปรับกลยุทธ์ในการเพิ่มรายได้จากช่องทางอื่น ได้แก่ การจัดเก็บค่าธรรมเนียมอื่น ๆ จากสถาบันการเงินที่มาใช้บริการ ซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่ทำ�ให้ บสย. ประสบผลสำ�เร็จ โดยในปี 2564 บสย. มีรายได้จากค่าธรรมเนียมอื่น ๆ เติบโตขึ้น ในอัตราร้อยละ 431.51 และกลายเป็นแหล่งรายได้ที่สำ�คัญสามารถทดแทน ผลตอบแทนจากการลงทุนในเงินกองทุนส่วนบุคคลและสภาพคล่องที่ลดลงได้ นอกจากนี้ บสย. ยังปรับกลยุทธ์ในการติดตามหนี้ ที่มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น โดยออกมาตรการจูงใจลูกหนี้เพื่อชำ�ระหนี้ ซึ่งสรุปข้อมูลผลประกอบการประจำ�ปี ได้ดังต่อไปนี้ 1. งบกำ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม 1.1 รายได้ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 107


การจัดลำ ดับความสำ คัญของประเด็นความยั่งยืน แผนภาพการจัดลำ ดับความสำ คัญของประเด็นความยั่งยืน 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ระดับนัยสำ คัญของผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ระดับอิทธิพลต่อการประเมินและตัดสินใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มลอากาศ การประเมินคู่ค้า ด้านสิ่งแวดล้อม การใช้วัสดุ ขยะ ชุมชนท้องถิ่น การใช้น้ำ เสรีภาพและ การเจรจา ต่อรองร่วม การไม่เลือกปฏิบัติ ความหลากหลาย และโอกาส แห่งความเท่าเทียม ความเป็นส่วนตัวของลูกค้า อาชีวอนามัย และความปลอดภัย การสนับสนุนทางสังคม การประเมินคู่ค้าทางสังคม ความพึงพอใจลูกค้า แรงงานและ แรงงานสัมพันธ์ พลังงาน การประเมิน ด้านสิทธิมนุษยชน การอบรม/ ให้ความรู้ การให้ความรู้/ ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ การจ้างงาน แรงงานและ แรงงานสัมพันธ์ การต่อต้าน การทุจริต การบริหารจัดการความเสี่ยง การกำกับดูแลกิจการที่ดี การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล การให้ความรู้ ทางการเงิน การเข้าถึงบริการ ทางการเงิน สำหรับผู้ด้อยโอกาส ความมั่นคง ทางการเงิน ข้อปฏิบัติ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม ผลการ ดำ เนินงาน เชิงเศรษฐกิจ ปัจจัยความยั่งยืนที่นำ ไปใช้เป็นปัจจัยนำ เข้าในการจัดทำ แผนยุทธศาสตร์ ผลกระทบ ทางอ้อม เชิงเศรษฐกิจ รายงานประจำ ปี2564 116


ปัจจัยความยั่งยืนของ บสย. ที่สอดคล้องตามมาตรฐานสากล ปัจจัย ความยั่งยืน ของ บสย. คำ อธิบาย ประเด็น ความยั่งยืน ตาม GRI เป้าหมาย ความยั่งยืน ตาม SDGs หลักการ ESG Environmental Social Governance 1 ผลการดำ�เนินงาน เชิงเศรษฐกิจ บสย. เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจผ่าน การค้ำ�ประกันสินเชื่อเพื่อช่วยผู้ประกอบการ SMEs ให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน ซึ่งจะช่วยทำ�ให้ธุรกิจ ของ SMEs เติบโต และส่งผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศ Economic Performance 2 ผลกระทบทาง อ้อมเชิงเศรษฐกิจ การค้ำ�ประกันสินเชื่อของ บสย. ช่วยให้สถาบันการเงิน มีความมั่นใจในการปล่อยสินเชื่อให้กับผู้ประกอบการ SMEs ได้มากขึ้น ซึ่งช่วยเพิ่มเงินทุนหมุนเวียนในระบบ และก่อให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น Indirect Economic Impacts 3 ข้อปฏิบัติ ด้านเศรษฐกิจ และสังคม การดำ�เนินงานของ บสย. เป็นไปตามหลักเกณฑ์ การกำ�กับดูแล และสอดคล้องตามนโยบายการให้ ความช่วยเหลือ SMEs ของหน่วยงานภาครัฐ Socioeconomic Compliance 4 ความมั่นคง ทางการเงิน บสย. มุ่งเน้นการสร้างความมั่นคงทางการเงินและการ ดำ�เนินงานที่มีประสิทธิภาพ ควบคู่กับการช่วยเหลือ SMEs ด้านค้ ำ�ประกันสินเชื่อ เพื่อรองรับการขยายบทบาท การให้ความช่วยเหลือ SMEs ในอนาคต และลดการพึ่งพา งบประมาณช่วยเหลือจากภาครัฐ Economic Performance 5 การเข้าถึงบริการ ทางการเงิน สำ�หรับผู้ด้อย โอกาส การให้ความช่วยเหลือ SMEs ด้านค้ ำ�ประกันสินเชื่อของ บสย. ครอบคลุมถึงผู้ประกอบการรายย่อย กลุ่มเปราะบาง หรือกลุ่มผู้ด้อย โอกาสที่ประสบความยากลำ�บากในการ เข้าถึงแหล่งเงินทุน Local Communities 6 การให้ความรู้ ทางการเงิน บสย. มุ่งเสริมสร้างพื้นฐานความรู้ทางการเงินและ การประกอบธุรกิจรวมทั้งเป็นที่ปรึกษาทางการเงินและ ทางธุรกิจ ควบคู่ไปกับการค้ ำ�ประกันสินเชื่อ เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งและยั่งยืนทางธุรกิจให้กับผู้ประกอบการ SMEs Marketing and Labelling Indirect Economic Impacts 7 การกำ�กับดูแล กิจการที่ดี บสย. ยึดมั่นการดำ�เนินงานบนหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี โดยได้กำ�หนดนโยบายและแนวปฏิบัติการกำ�กับดูแล กิจการที่ดี เพื่อเป็นแนวทางให้แก่บุคลากรของ บสย. ทุกระดับ ยึดถือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง Ethics and Integrity Governance 8 การเปลี่ยนแปลง ทางดิจิทัล บสย. มุ่งเน้นการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล โดยกำ�หนดเป็นยุทธศาสตร์การดำ�เนินงาน เพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการภายในองค์กร และเพิ่มประสิทธิภาพ การให้บริการแก่ผู้ประกอบการ SMEs - บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 117


กรอบการพัฒนาอย่างยั่งยืน มิติด้านเศรษฐกิจ เป้าหมาย : สร้างคุณค่าด้านเศรษฐกิจภาพรวม และการบริหารจัดการผลการดำ เนินงานอย่างสมดุล บสย. มุ่งสู่การเป็นรัฐวิสาหกิจสำ�คัญที่ช่วยส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งทางการเงินและทางธุรกิจให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs โดยการช่วยให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบ จึงได้นำ�หลักบริหารจัดการผลการดำ�เนินงานอย่างสมดุลมาใช้ในการกำ�หนด ยุทธศาสตร์การดำ�เนินงาน ซึ่งครอบคลุมการดำ�เนินการตามพันธกิจเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs โดยเฉพาะผู้ประกอบการ รายย่อย ให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบผ่านการค้ ำ�ประกันสินเชื่อ ซึ่งจะก่อให้เกิดการจ้างงาน และส่งผลดีต่อระบบเศรษฐกิจ โดยรวม ในขณะเดียวกัน บสย. มุ่งเน้นการสร้างความมั่นคงทางการเงินและการดำ�เนินงานที่มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการขยาย บทบาทการให้ความช่วยเหลือ SMEs ในอนาคต และลดการพึ่งพางบประมาณช่วยเหลือจากภาครัฐ ผ่านการดำ�เนินยุทธศาสตร์ เพื่อสร้างรายได้ให้เพียงพอสำ�หรับหล่อเลี้ยงองค์กรได้อย่างต่อเนื่อง และการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการให้บริการ โดยมีระบบการติดตามและวัดผลสำ�เร็จอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลักดันให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย ประเด็นความยั่งยืนเพื่อบรรลุเป้าหมายด้านเศรษฐกิจ 1 ผลการดำ เนินงานเชิงเศรษฐกิจ เป้าหมาย สนับสนุนการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจผ่านการค้ ำ�ประกันสินเชื่อเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ให้สามารถ เข้าถึงแหล่งเงินทุน ซึ่งจะช่วยทำ�ให้ธุรกิจของ SMEs เติบโต และส่งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แนวทางบริหารจัดการ สนองนโยบายของภาครัฐในการสนับสนุน SMEs ให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน รวมทั้งสนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs ทุกกลุ่ม (Segment) ให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการ ผ่านการค้ ำ�ประกันสินเชื่อ เพื่อส่งเสริม การเติบโตทางธุรกิจและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ผลการดำ�เนินงานปี 2564 บสย. สามารถอนุมัติค้ำ ประกันสินเชื่อในปี 64 รวมทั้งสิ้น 245,548 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 73% เมื่อเทียบกับปีก่อน แก่ SMEs ทุกกลุ่ม วงเงินอนุมัติค้ำ ประกันสินเชื่อ บสย. ช่วยเหลือ SMEs ให้เข้าถึงสินเชื่อสะสม 705,893 ราย คิดเป็นสัดส่วน 22.52% จากจำ นวน SMEs ในฐานระบบ ของ สสว. ปีก่อน Penetration Rate เพิ่มขึ้น 103,660 ล้านบาท 245,548 ล้านบาท +73% เพิ่มขึ้น 5.05 % 22.52 % +5% รายงานประจำ ปี2564 118


จากการค้ำ ประกันสินเชื่อปี 64 ของ บสย. ก่อให้เกิดสินเชื่อ ในระบบเศรษฐกิจสูงถึง 261,545 ล้านบาท หรือสามารถ ก่อให้เกิดสินเชื่อจากการค้ำ ประกันฯ 1.07 เท่า ปริมาณสินเชื่อจากการค้ำ ประกันต่อปี จากการค้ำ ประกันสินเชื่อในปี 64 สามารถช่วยให้เกิด การขยายตัวทางธุรกิจของ SMEs ซึ่งคาดว่าสามารถ ก่อให้เกิดการจ้างงานเพิ่มในระบบได้กว่า 400,724 คน จำ นวนการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น 99,289 ล้านบาท 261,545 ล้านบาท +61% เพิ่มขึ้น 183,332 คน 400,724 คน +84% ในปี 2564 บสย. สามารถค้ำ ประกันสินเชื่อภายใต้ โครงการที่มีงบประมาณภาครัฐสนับสนุนสูง ถึง 239,719 ล้านบาท หรือคิดเป็น 97.63% จากวงเงินค้ำ ประกันสินเชื่อรวมทั้งหมด โดยเฉพาะ จากโครงการ พ.ร.ก. สินเชื่อฟื้นฟู กว่า 130,943 ล้านบาท รองลงมา คือ โครงการ PGS9 และ Micro4 ตามลำ ดับ ซึ่งสะท้อนถึงการช่วยเหลือ SMEs ทุกกลุ่มและทุกขนาด พ.ร.ก. สินเชื่อฟื้นฟู PGS9 Micro4 Soft Loan Plus PGS5 ขยายเวลา Start-up & Innobiz. 34% 55% 9% 2% 0% 0% ยอดอนุมัติค้ำ ประกันสินเชื่อโครงการตามนโยบายของภาครัฐ 2 ผลกระทบทางอ้อมเชิงเศรษฐกิจ เป้าหมาย ช่วยให้สถาบันการเงินมีความมั่นใจในการปล่อยสินเชื่อให้กับผู้ประกอบการ SMEs ได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยเพิ่ม เงินทุนหมุนเวียนและก่อให้เกิดการจ้างงานที่เพิ่มขึ้นในระบบ แนวทางบริหารจัดการ เป็นกลไกที่สำ�คัญของภาครัฐในการสนับสนุน SMEs ให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนผ่านการค้ ำ�ประกันสินเชื่อได้ ตามเป้าหมาย ซึ่งจะช่วยทำ�ให้เกิดสินเชื่อหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น รักษาการจ้างงาน และก่อให้เกิดการจ้างงานส่วนเพิ่ม จากการขยายธุรกิจของ SMEs เพื่อทำ�ให้เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเติบโต ผลการดำ�เนินงานปี 2564 3 ข้อปฏิบัติด้านเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมาย ช่วยเหลือ SMEs ตามนโยบายการส่งเสริม SMEs ของภาครัฐโดยครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย แนวทางบริหารจัดการ มุ่งเน้นการดำ�เนินงานที่ตอบสนองต่อนโยบายหรือมาตรการช่วยเหลือต่าง ๆ ของภาครัฐในการสนับสนุน SMEs ให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน เพื่อช่วยให้ธุรกิจอยู่รอดและเติบโตได้อย่างยั่งยืน ซึ่งครอบคลุมการดำ�เนินการตามพันธกิจเพื่อช่วยเหลือ ผู้ประกอบการ SMEs ทุกกลุ่ม โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายย่อย รวมทั้งเป็นเครื่องมือที่สำ�คัญของภาครัฐเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ ผลการดำ�เนินงานปี 2564 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 119


4 ความมั่นคงทางการเงิน เป้าหมาย สร้างความมั่นคงทางการเงินและการดำ�เนินงานที่มีประสิทธิภาพในการรองรับการขยายบทบาทการให้ความช่วยเหลือ SMEs ในอนาคต และลดการพึ่งพาภาครัฐ แนวทางบริหารจัดการ มุ่งเน้นการบริหารความสมดุลของรายได้และค่าใช้จ่าย เพื่อให้องค์กรมีรายได้จากธุรกรรมหลักที่สามารถครอบคลุม ค่าใช้จ่ายที่เป็นต้นทุนคงที่ได้อย่างยั่งยืน รวมถึงการสร้างความเข้มแข็งของเงินกองทุน เพื่อรองรับการขยายปริมาณการค้ ำ�ประกัน สินเชื่อในอนาคต ผลการดำ�เนินงานปี 2564 5 การเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล เป้าหมาย มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก่ผู้ประกอบการ SMEs และสนับสนุนการบริหาร จัดการภายในองค์กรของ บสย. แนวทางบริหารจัดการ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาช่องทางการให้บริการค้ ำ�ประกันสินเชื่อในรูปแบบ Digital Platform สำ�หรับอำ�นวยความสะดวกให้ผู้ประกอบการ SMEs เข้าถึงสินเชื่อจากสถาบันการเงินได้สะดวก และรวดเร็วขึ้น รวมถึง พัฒนาระบบฐานข้อมูล สำ�หรับวิเคราะห์ และประมวลผลเพื่อการบริหารจัดการองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลการดำ�เนินงานปี 2564 ในปี 2564 บสย. สามารถบริหารจัดการเพื่อให้ มีรายได้จากธุรกรรมหลัก ได้แก่ รายได้สุทธิ จากการค้ำ ประกันและรายได้สุทธิจากการ ติดตามหนี้ ที่สามารถครอบคลุมค่าใช้จ่าย พนักงาน ซึ่งเป็นต้นทุนคงที่ และครอบคลุม ค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมด ซึ่งช่วยลดการพึ่งพา รายได้จากการบริหารเงินลงทุน ซึ่งมีความ ผันผวนสูงตามสถานการณ์ต่างๆ รายได้สุทธิจากการค้ำ ประกันครอบคลุมค่าใช้จ่ายพนักงาน รายได้สุทธิเงินลงทุน รายได้สุทธิสภาพคล่อง รายได้สุทธิตามหนี้ รายได้สุทธิจาก การค้ำประกัน ค่าเสื่อมราคา ค่าใช้จ่ายดำ เนินงาน ค่าใช้จ่ายพนักงาน 734 202 205 246 114.15 394.09 60.15 รายได้สุทธิ 1,386 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายสุทธิ 568 ล้านบาท Financial Gateway Data Management ปี 2564 บสย. ได้จัดทำ แผนการพัฒนา แพลตฟอร์ม Financial Gateway โดยศึกษา ความต้องการของ SMEs และแนวทางการดำ เนินงาน ร่วมกับคู่ความร่วมมือ ปี 2565 พัฒนาระบบเพื่อรองรับ ธุรกรรมที่สำ คัญในการให้ บริการ SMEs ปี 2566-2569 มียอดอนุมัติ ค้ำ ประกันสินเชื่อ ผ่าน Online Platform ปี 2564 บสย. ได้ดำ เนินการพัฒนา ระบบ TCG Data Prototype และ Ingestion ที่เชื่อมโยงฐาน ข้อมูลทั้งภายในและภายนอก บสย. แบบบูรณาการ ปี 2565 มีฐานข้อมูลพร้อมใช้งาน เพื่อการวิเคราะห์และประมวล ผลในรูปแบบ Dashboard และ นำ ไปใช้สนับสนุนการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ ปี 2566-2569 มีพันธมิตรที่สมัครใช้บริการ (Subscriber) ฐานข้อมูล ของ บสย. รายงานประจำ ปี2564 120


มิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย : การสร้างคุณค่าด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม บสย. ได้กำ�หนดทิศทางองค์กร และยุทธศาสตร์การดำ�เนินงาน โดยคำ�นึงถึงความต้องการของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งครอบคลุม ลูกค้า คู่ค้า ผู้กำ�หนดนโยบายและงบประมาณ บุคลากรของ บสย. ผู้ถือหุ้น คู่ความร่วมมือ ผู้ส่งมอบ สื่อมวลชน ชุมชนและสังคม รวมทั้งให้ความสำ�คัญกับการช่วยเหลือผู้ประกอบการรายย่อยและกลุ่มเปราะบาง ให้สามารถเข้าถึง แหล่งเงินทุน ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างองค์ความรู้และการเป็นที่ปรึกษาทางด้านการเงินและการประกอบธุรกิจให้กับ SMEs เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการดำ�เนินธุรกิจกับผู้ประกอบการ ในขณะเดียวกัน บสย. มีการพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานและ การให้บริการที่คำ�นึงถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยการค้ ำ�ประกันสินเชื่อของ บสย. มุ่งเน้นช่วยเหลือกิจการทุกภาคธุรกิจ (Business Sector) ที่ดำ�เนินธุรกิจโดยชอบด้วยกฎหมายและไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี ซึ่งครอบคลุมถึงธุรกิจด้านการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม จึงทำ�ให้ บสย. สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งสนับสนุนการดำ�เนินงานที่ยั่งยืนขององค์กร ในที่สุด ประเด็นความยั่งยืนเพื่อบรรลุเป้าหมายด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 1 การเข้าถึงบริการทางการเงินสำ หรับผู้ด้อยโอกาส เป้าหมาย มุ่งช่วยเหลือ SMEs กลุ่มที่เข้าถึงสินเชื่อจากสถาบันการเงินได้ยาก ซึ่งครอบคลุมกลุ่มผู้ประกอบการรายย่อย กลุ่มเปราะบาง หรือกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่ายขึ้น แนวทางบริหารจัดการ ส่งเสริมและสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการ SMEs ทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้อย่างทั่วถึง เพื่อลด ความเหลื่อมล้ ำ�ทางสังคม โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์ค้ ำ�ประกันสินเชื่อที่สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าในแต่ละกลุ่มมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะผู้ประกอบการรายย่อย และกลุ่มเปราะบาง ผลการดำ�เนินงานปี 2564 ในปี 2564 บสย. ค้ำ ประกันสินเชื่อ โครงการ Micro4 ที่ออกแบบสำ หรับ ผู้ประกอบการรายย่อย 20,527 ล้านบาท ให้แก่ Micro จำ นวน 169,928 ราย หรือคิดเป็น 75% ของลูกค้ารวมที่ อนุมัติในปี ทั้งนี้ จากการค้ำ ประกันให้ Micro สะสม ของ บสย. สามารถช่วยให้ Micro เข้าถึง สินเชื่อกว่า 24.33% จากจำ นวน Micro ในระบบ ยอดอนุมัติค้ำ ประกันสินเชื่อโครงการ Micro ระยะที่ 4 วงเงินอนุมัติ 20,527 ล้านบาท จำ นวนลูกค้า 169,928ราย วงเงินอนุมัติ (ลบ.) 137,472 108.5% จำ นวนลูกค้า (Micro) 220,253 43.6% Ticket Size (Micro) 0.62 Penetration Rate 24.33 Micro บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 121


2 การให้ความรู้ทางการเงิน เป้าหมาย มุ่งเน้นการเสริมสร้างพื้นฐานความรู้ทางการเงินและการประกอบธุรกิจ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาทางการเงินและทางธุรกิจ เพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนทางธุรกิจให้กับผู้ประกอบการ SMEs แนวทางบริหารจัดการ เสริมสร้างองค์ความรู้ทางการเงินและการดำ�เนินธุรกิจควบคู่กับการค้ ำ�ประกันสินเชื่อให้แก่ผู้ประกอบการ SMEs เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงสินเชื่อ และช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ประสบปัญหาทางธุรกิจโดยขยายบทบาทในการเป็นที่่ปรึกษา ทางการเงินผ่าน บสย. F.A. Center เพื่อให้คำ�ปรึกษาทางการเงินและทางธุรกิจในเชิงลึก ที่สามารถตอบโจทย์ความต้องการของ SMEs ได้อย่างทั่วถึง โดยครอบคลุมทั้งกลุ่มฐานรากและกลุ่มเปราะบาง ผลการดำ�เนินงานปี 2564 มิติด้านการกำ กับดูแลกิจการที่ดี เป้าหมาย : การกำ กับดูแลกิจการที่ดีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การที่ บสย. จะเติบโตได้อย่างยั่งยืนในระยะยาวต้องมีพื้นฐานสำ�คัญจากการขยายตัวอย่างมั่นคงของภาคเศรษฐกิจและ ความเป็นอยู่ที่ดีของภาคสังคมและสิ่งแวดล้อมควบคู่กัน โดยการจะทำ�ให้ทุกมิติอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุลนั้น บสย. ต้องปฏิบัติงาน และมุ่งให้บริการตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี บสย.จึงให้ความสำ�คัญการการดำ�เนินงานตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งเป็นหนึ่งในสามหลักการของ ESG Framework โดยจัดทำ�เป็นนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งสอดคล้องกับหลักการและแนวทาง การกำ�กับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 ของสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) และหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งสำ�นักงานคณะการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) นำ�มาใช้กับบริษัทจดทะเบียนตั้งแต่ปี 2562 ซึ่งคณะกรรมการ บสย. ผู้บริหาร และพนักงานทุกระดับใช้ยึดถือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการกำ�หนดแผนงานและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ กำ�กับดูแลกิจการที่ดีและการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่ชัดเจน รวมไปถึงการกำ�หนดผลิตภัณฑ์ บริการ และกระบวนการปฏิบัติงานที่ คำ�นึงถึงประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ระบบการติดตาม ประเมินและรายงานผล เพื่อให้การปฏิบัติงานทั่วทั้ง บสย. สามารถดำ�เนินภารกิจในการช่วยเหลือผู้ประกอบการ SMEs ได้อย่างยั่งยืน ในปี 2564 บสย. ให้คำ ปรึกษาแก่ SMEs ผ่านช่องทางต่าง ๆ รวมถึงกิจกรรมที่ ส่งต่อหมอหนี้ บสย. เพื่อให้คำ ปรึกษา จำ นวน 3,687 ราย โดย บสย. พิจารณา กลั่นกรองนำ ส่งให้สถาบันการเงิน จำ นวน 780 ราย และได้มีการติดตาม ผลการได้รับสินเชื่อ พบว่า มี SMEs ได้รับสินเชื่อจากสถาบันการเงิน 278 ราย หรือคิดเป็น Success rate 35.64% ความสำ เร็จของการส่งต่อผู้ประกอบการที่รับคำ ปรึกษาให้เข้าถึงสินเชื่อ ให้คำ ปรึกษา (ราย) 3,687 นำ ส่ง SMEs ที่พร้อม แก่ธนาคาร (ราย) 780 SMEs ได้รับสินเชื่อ ทั้งมี บสย. ค้ำ และไม่มี (ราย) 278 รายงานประจำ ปี2564 122


ประเด็นความยั่งยืนเพื่อบรรลุเป้าหมายการกำ กับดูแลกิจการที่ดี การกำกับดูแลกิจการที่ดี เป้าหมาย เป็นองค์กรที่มีการดำ�เนินงานตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี เพือสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทุกกลุ่ม และนำ�ไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน แนวทางบริหารจัดการ ส่งเสริมการรับรู้และแนวทางปฏิบัติงานตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี โดยกำ�หนดนโยบายและคู่มือการกำ�กับ ดูแลกิจการที่ดี เพื่อเป็นแนวทางให้แก่บุคลากรของ บสย. ทุกระดับยึดถือและดำ�เนินงานด้วยความสุจริต โปร่งใส ปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความรับผิดชอบระมัดระวัง (duty of care) ซื่อสัตย์สุจริตต่อองค์กร (duty of loyalty) ควบคู่กับการส่งเสริมและสนับสนุน การดำ�เนินงานของ บสย. ให้เติบโตอย่างก้าวหน้าและยั่งยืน ผลการดำ�เนินงานปี 2564 บสย. ได้รับคะแนนผลการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดำ เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำ ปี 2564 ระดับ A โดยมีคะแนน เท่ากับ 91.58 คะแนน และมีคะแนน ในส่วนของการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ บนเว็บไซต์ (OIT) เต็ม 100 คะแนน สะท้อน การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตในองค์กร บสย. ได้รับรางวัลการบริหารสู่ความ เป็นเลิศ Thailand Quality Class (TQC) ประจำ ปี 2564 ซึ่งถือเป็นรางวัล อันทรงเกียรติที่สำ นักงานรางวัล คุณภาพแห่งชาติ สถาบันเพิ่มผลผลิต แห่งชาติมอบให้กับองค์กรต้นแบบในการ พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางธุรกิจทัดเทียมระดับมาตรฐาน สากล ซึ่งการประเมินครอบคลุมด้าน การกำ กับดูแลองค์กรด้วย ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA) ปี 2564 รางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ ประจำ ปี 2564 (TQC 2021) 91.58 คะแนน บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 123


รายงานประจำ ปี2564 170 งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานประจำ ปี2564


หน่วย : พันบาท หมายเหตุ 2564 2563 สินทรัพย์ เงินสด 6.1 177 111 รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงินสุทธิ 6.2 421,288 357,347 เงินลงทุนสุทธิ 6.3 33,925,376 27,285,289 ลูกหนี้รอการชดเชยจากรัฐบาลตามธุรกรรมนโยบายรัฐ 6.4 3,804,769 3,499,179 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์สุทธิ 6.5 181,372 111,117 สินทรัพย์ไม่มีตัวตนอื่นสุทธิ 6.6 170,741 110,279 สินทรัพย์อื่นสุทธิ 6.7 122,650 57,360 รวมสินทรัพย์ 38,626,373 31,420,682 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 171


หน่วย : พันบาท หมายเหตุ 2564 2563 หนี้สินและส่วนของเจ้าของ ค่าธรรมเนียมค้ ำ�ประกันรับล่วงหน้า 6.8 5,690,787 2,716,820 เงินอุดหนุนค่าธรรมเนียมจากรัฐบาล 6.9 189,274 485,817 เงินชดเชยค่าความเสียหายโครงการ PGS จากรัฐบาล 6.10 8,979,797 10,681,543 ภาระผูกพันผลประโยชน์ของพนักงาน 6.11 95,711 85,958 สำ�รองค่าประกันชดเชย 6.12 13,481,028 8,167,077 หนี้สินอื่น 6.13 275,935 118,457 รวมหนี้สิน 28,712,532 22,255,672 ส่วนของเจ้าของ ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 68,399,467 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท 6,839,947 6,839,947 ทุนที่ออกและชำ�ระแล้ว หุ้นสามัญ 67,024,730 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท 6.14 6,702,473 6,702,473 องค์ประกอบอื่นของส่วนของเจ้าของ 6.15 66,691 (57,608) กำ�ไร (ขาดทุน) สะสม จัดสรรแล้ว ทุนสำ�รองตามกฎหมาย 6.16 635,710 497,358 ยังไม่ได้จัดสรร 2,508,967 2,022,787 รวมส่วนของเจ้าของ 9,913,841 9,165,010 รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ 38,626,373 31,420,682 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ลงชื่อ (นายธีรัชย์ อัตนวานิช) ประธานกรรมการ ลงชื่อ (นายสิทธิกร ดิเรกสุนทร) กรรมการและผู้จัดการทั่วไป รายงานประจำ ปี2564 172


หน่วย : พันบาท หมายเหตุ 2564 2563 รายได้จากการดำ เนินงาน รายได้ดอกเบี้ย 6.20 233,497 175,526 ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย (1,058) (1,016) รายได้ดอกเบี้ยสุทธิ 232,439 174,510 รายได้ค่าธรรมเนียมค้ ำ�ประกัน 825,527 718,600 รายได้ค่าธรรมเนียมค้ ำ�ประกันจากธุรกรรมนโยบายรัฐ 7,329,578 5,993,503 รายได้ค่าธรรมเนียมค้ ำ�ประกัน 8,155,105 6,712,103 ค่าประกันชดเชย (8,149,439) (6,678,413) รวมรายได้ค่าธรรมเนียมค้ ำ�ประกันสุทธิ 5,666 33,690 รายได้เงินชดเชยจากธุรกรรมนโยบายรัฐ 3,946,467 1,660,317 ค่าประกันชดเชยจากธุรกรรมนโยบายรัฐ (3,946,467) (1,660,317) รายได้เงินชดเชยจากธุรกรรมนโยบายรัฐสุทธิ - - กำ�ไรสุทธิจากเงินลงทุน 6.21 246,263 218,095 รายได้จากการดำ�เนินงานอื่น ๆ 6.22 52,874 62,778 รายได้จากธุรกรรมนโยบายรัฐ 6.28 879,220 309,872 รวมรายได้จากการดำ เนินงาน 1,416,462 798,945 ค่าใช้จ่ายจากการดำ เนินงานอื่นๆ ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน 37,127 44,900 ค่าตอบแทนกรรมการ 766 957 ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคารสถานที่และอุปกรณ์ 8,656 10,926 อื่น ๆ 6.23 8,964 9,424 รวมค่าใช้จ่ายจากการดำ เนินงานอื่น ๆ 55,513 66,207 ค่าใช้จ่ายจากธุรกรรมนโยบายรัฐ 6.28 542,716 479,792 กำ ไรสุทธิ 818,233 252,946 กำ ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น รายการที่จัดประเภทรายการใหม่เข้าไปไว้ในกำ�ไรหรือ ขาดทุนในภายหลัง กำ�ไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลค่าเงินลงทุนเผื่อขาย 124,299 (122,226) รวมกำ ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสุทธิ 124,299 (122,226) กำ ไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม 942,532 130,720 กำ ไรต่อหุ้น กำ ไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) 6.27 12.21 3.77 หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม งบกำ ไรขาดทุนและกำ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น สำ หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 ลงชื่อ (นายธีรัชย์ อัตนวานิช) ประธานกรรมการ ลงชื่อ (นายสิทธิกร ดิเรกสุนทร) กรรมการและผู้จัดการทั่วไป บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 173


ที่ตั้งสำ นักงานเขตและช่องทางการติดต่อสำ คัญ สำ นักงานใหญ่ อาคารชาญอิสสระทาวเวอร์ 2 ชั้น 16-18 เลขที่ 2922/243 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทร. 0-2890-9988 โทรสาร 0-2890-9900, 0-2890-9800 ที่ตั้งสำ นักงานเขต สำ นักงานเขตนครหลวง อาคารชาญอิสสระทาวเวอร์ 2 (ชั้น1) เลขที่ 2922/53 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ : 02-308-2151-2 มือถือ : 08-1889-2235, 09-3134-2277 โทรสาร : 02-308-2152 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ กรุงเทพมหานคร, นนทบุรี, สมุทรปราการ, สมุทรสาคร, ปทุมธานี, นครปฐม สำ นักงานเขตภาคกลาง เลขที่ 58/8 หมู่ 1 ถ.โรจนะ ต.ธนู อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา 13000 โทรศัพท์ : 0-3595-7772 มือถือ : 09-3139-4445, 09-3139-4447 โทรสาร : 0-3595-7773 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ พระนครศรีอยุธยา, อ่างทอง, สิงห์บุรี, สุพรรณบุรี, ลพบุรี, นครนายก, สระบุรี สำ นักงานเขตภาคเหนือตอนบน เลขที่ 265/6 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์ : 0-5200-4330 มือถือ : 09-3131-7474, 08-1885-3534 โทรสาร : 0-5200-4331 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ เชียงใหม่, ลำ�พูน, เชียงราย, แม่ฮ่องสอน, พะเยา, ลำ�ปาง, แพร่, น่าน สำ นักงานเขตภาคเหนือตอนล่าง เลขที่ 28/125-126 ถ.สิงหวัฒน์ ต.ในเมือง อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ : 0-5525-8552 มือถือ : 08-0507-7035, 08-1257-2217 โทรสาร : 0-5525-8553 E-mail : [email protected] ผู้จัดการ : นายชูศักดิ์ นันทสุวรรณ พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ พิษณุโลก, พิจิตร, กำ�แพงเพชร, ตาก, เพชรบูรณ์, อุทัยธานี, นครสวรรค์, สุโขทัย, อุตรดิตถ์, ชัยนาท สำ นักงานเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เลขที่ 239/5 ถ.อุดรดุษฎี ต.หมากแข้ง อ.เมืองอุดรธานี จ.อุดรธานี 41000 โทรศัพท์ : 0-4211-1670-71 มือถือ : 08-1379-4774, 06-2310-0570 โทรสาร : 0-4211-1671 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ อุดรธานี, ขอนแก่น, หนองบัวลำ�ภู, หนองคาย, เลย, กาฬสินธุ์, สกลนคร, นครพนม, มุกดาหาร, บึงกาฬ รายงานประจำ ปี2564 252


สำ นักงานเขตภาคใต้ตอนบน เลขที่ 231/12 หมู่ 1 ถ.ชนเกษม ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง สุราษฎร์ธานี จ.สุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์ : 0-7721-9801-2 มือถือ : 08-9874-7574 โทรสาร : 0-7721-9803 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ สุราษฎร์ธานี, ชุมพร, พังงา, กระบี่, ระนอง, ภูเก็ต สำ นักงานเขตภาคใต้ตอนล่าง เลขที่ 13 ถ.โชติวิทยะกุล 3 ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 โทรศัพท์ : 0-7426-2551-2 มือถือ : 08-1766-1528, 08-1379-7887 โทรสาร : 0-7426-2553 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ สงขลา, พัทลุง, สตูล, นครศรีธรรมราช, ตรัง, ปัตตานี, ยะลา, นราธิวาส สำ นักงานเขตภาคตะวันตก เลขที่ 42/116 ซ.หัวหิน 6 ถ.เพชรเกษม ต.หัวหิน อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ 77110 โทรศัพท์ : 0-3254-7151 มือถือ : 09-3139-5551, 08-6805-5594 โทรสาร : 0-3254-7141 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ ประจวบคีรีขันธ์, เพชรบุรี, ราชบุรี, สมุทรสงคราม, กาญจนบุรี ช่องทางการติดต่อที่สำ คัญ ศูนย์ที่ปรึกษาทางการเงิน SMEs (บสย. F.A. Center) ชั้น 1 อาคาร SME Bank Tower ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทร : 065-507-8999, 065-502-6999 E-mail : [email protected] FB : ศูนย์ที่ปรึกษาทางการเงิน SMEs สำ นักงานเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 เลขที่ 610 ถ.ชยางกูร ต.ในเมือง อ.เมืองอุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ : 0-4521-0844 มือถือ : 09-3139-5445, 08-9186-3244 โทรสาร : 0-4521-0845 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ, อำ�นาจเจริญ, ยโสธร, ร้อยเอ็ด สำ นักงานเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 เลขที่ 901/6 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ : 0-4426-2104 มือถือ : 08-1876-3911, 09-3134-8885 โทรสาร : 0-4426-2105 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ นครราชสีมา, ชัยภูมิ, บุรีรัมย์, สุรินทร์, มหาสารคาม สำ นักงานเขตภาคตะวันออก เลขที่ 208/14 หมู่ 3 ถ.พระยาสัจจา ต.เสม็ด อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี 20000 โทรศัพท์ : 0-3811-1434 มือถือ : 09-3139-4141, 06-2310-0562 โทรสาร : 0-3811-1435 E-mail : [email protected] พื้นที่จังหวัดในความรับผิดชอบ ชลบุรี, ฉะเชิงเทรา, ระยอง, จันทบุรี, ตราด, ปราจีนบุรี, สระแก้ว บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 253


สแกน QR Code เพื่อทำ แบบสำ รวจ ความพึงพอใจต่อรายงานประจำ ปี 2564 เลขที่ 2922/243 อาคารชาญอิสสระทาวเวอร์ 2 (ชั้น 16-18) ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ : 0-2890-9988 โทรสาร : 0-2890-9900, 0-2890-9800 ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ : 0-2890-9999 Email : [email protected] www.tcg.or.th tcg.or.th ห้องข่าว บสย. tcg_newsroom @doctor.tcg


Click to View FlipBook Version