นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ Healthy Public Policy แสดงความห่วงใยอย่างชัดเจนในเรื่องสุขภาพ พร้อมที่จะรับผิดชอบต่อผลกระทบทางสุขภาพ ที่อาจเกิดขึ้นจากนโยบายนั้น มุ่งสร้างเสริมสิ่งแวดล้อมทั้งทางสังคมและกายภาพ ที่เอื้อต่อการมีชีวิตที่มีสุขภาพดี มุ่งให้ประชาชนมีทางเลือกและสามารถเข้าถึงทางเลือก ที่ก่อให้เกิดสุขภาพที่ดีได้ Health in All Policy
“ สานพลังปัญญา สร้างสรรค์นโยบายสาธารณะ “
วิสัยทัศน์ ระบบสุขภาพไทยพัฒนาจากกระบวนการนโยบายสาธารณะ แบบมีส่วนร่วมบนพื้นฐานทางปัญญา (4PW : Participatory Public Policy Process based on Wisdom) “สานพลังความรู้ นโยบาย และสังคม เพื่อนำ ไปสู่นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมบนพื้นฐานทางปัญญา” พันธกิจ รู้จัก สช. รู้จัก 4PW 4PW ภายใต้ภารกิจและเป้าหมายของ สช. ที่เกิดขึ้นในทุกพื้นที่ ทุกระดับ คือ การส่งเสริมและสนับสนุน กระบวนการนโยบายสาธารณะโดยสังคม (Public policy by social) โดยมีปัญหาและความต้องการของสังคม เป็นโจทย์ตั้งต้น มีนโยบายรัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนพัฒนาประเทศ เป็นกรอบ ทิศทางและเครื่องมือ (4PW: Participatory Public Policy Process based on Wisdom) Process กระบวนการนโยบายสาธารณะ แบบมีส่วนร่วม 6 ขั้นตอน 1. กำ หนดประเด็น 2. กระบวนการพัฒนาข้อเสนอ 3. การตัดสินใจนโยบาย 4. ดำ เนินงานตามนโยบาย 5. ประเมินผลการดำ เนินงาน 6. ทบทวนเพื่อปรับปรุงหรือสิ้นสุด การดำ เนินงานตามนโยบาย การสร้าง การมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วน Publicสาธารณะและ สังคมโดยรวม Policy นโยบายหรือ ทิศทาง ที่เห็นพ้องกัน Wisdom การพัฒนานโยบาย สาธารณะบนพื้นฐาน ความรู้และปัญญา ของแต่ละพื้นที่ Participatory
“สานพลังปัญญา สร้างสรรค์นโยบายสาธารณะ“ ภารกิจและเป้าหมาย : การสร้างกระบวนการนโยบายสาธารณะโดยสังคม นโยบายสาธารณะ โดยรัฐ (ของรัฐ) Public Policies by State (กฎหมาย/กฎ/ระเบียบ /แผนงาน/โครงการ) กระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานรัฐ นโยบายสาธารณะโดยสังคม Public Policies by Social ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน แผนปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน แผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 2 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals (SDG) 17 เป้าหมาย ปัญหาที่ประชาชน เดือดร้อนจริงในระดับ พื้นที่/ประเด็น กระบวนการนโยบาย สาธารณะแบบมีส่วนร่วม บนพื้นฐานทางปัญญา สมัชชาสุขภาพ (ระดับชาติ/พื้นที่/ประเด็น) มติสมัชชาสุขภาพ (77 มติ) ธรรมนูญสุขภาพ (ระดับชาติ/พื้นที่/ประเด็น) ประกาศใช้ธรรมนูญ (607 ฉบับ) การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (โครงการ/ประเด็น) รายงานการประเมินผลกระทบ ฯ สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ (ภายใต้เครื่องมือ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550)
ธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ ธรรมนูญผีมอญ การจัดการอาหารในโรงเรียน จังหวัดสุรินทร์ แนวปฏิบัติเรื่องข้อมูลส่วนบุคคลด้านสุขภาพ เว็บไซต์รองรับอุปกรณ์พกพา นโยบายอาหารปลอดภัย มั่นคงแห่งภาคอีสาน ภาวะตายดีและการดูแลแบบประคับประคอง ระบบควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง เครือข่ายนโยบายสุขภาพระดับโลก คุณภาพชีวิตในวิถีมุสลิมภาคใต้ งานเด่นปี 61
‘ประสิทธิภาพสูง ธรรมาภิบาลสูง’ ปัจจุบันองค์การมหาชน ที่มี พ.ร.บ.เฉพาะ แต่ละองค์กรต้องแสดง ศักยภาพให้เห็นความแตกต่าง และต้องเป็นองค์กรที่มีขนาดเล็ก กะทัดรัด ใช้คนน้อย ใช้งบประมาณน้อย แต่สร้างผลงาน ผลผลิต และผลสะเทือนได้มากกว่า และเป็นองค์กรที่มีความโดดเด่นด้าน ความโปร่งใสปลอดทุจริต สามารถตรวจสอบได้ และสร้างการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน “สานพลังปัญญา สร้างสรรค์นโยบายสาธารณะ“ เข็มมุ่งปี 62 ‘งานได้ผล คนเป็นสุข’ สช. มีผลงานที่เป็นรูปธรรม ประชาชนทั่วไปสามารถจับต้องสัมผัสได้ปรากฏ เป็นรูปธรรมในเชิงพื้นที่ระดับต่างๆ อย่างครอบคลุม บุคลากร สช. (ชาวสุชน) ทุกระดับทุกคนต่างมีความภาคภูมิใจในเกียรติศักดิ์ ศรีแห่งองค์กร มีวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็งเป็นอัตลักษณ์ “การเดินหน้าสร้างบรรยากาศ สร้างครอบครัว สช. (สุชน) ให้เกิด ความอยู่เย็นเป็นสุข บนพื้นฐานขององค์กรที่มีความมั่นคง จากสำ เร็จในหน้าที่การงาน” ‘เครือข่ายเข้มแข็ง องค์กรมั่นคง’ ภูมิคุ้มกันองค์การมหาชนนั้นอยู่ที่การมีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งและ มีสัมพันธภาพเครือข่ายที่มีความเหนียวแน่น ส่งเสริมสนับสนุน กระบวนการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบ มีส่วนร่วม ทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ มีการต่อยอดขยายผล ให้งานเครือข่ายมีความแข็งแรงทั้งในเชิงความคิด จิตสำ นึก และมี ศักยภาพ ที่จะเข้าร่วมแก้ไขปัญหาให้กับประเทศชาติและประชาชน เพราะเมื่อเครือข่ายเข้มแข็ง องค์กรก็จะมีความมั่นคงไปด้วย
โอกาส...สร้างอัตลักษณ์ที่แตกต่าง นำ ทีมวิจัยรางวัลระดับโลก เข้าพบนายกรัฐมนตรี หนุนพลเมืองอาสา ผนึกกำ ลังพันธมิตร รวมพลังแสงเลเซอร์ สร้างตำ บลเข้มแข็งทั่วประเทศ สช. องค์กรคนกลาง : Midfielder สช. องค์กรสำนักคิด : School of Thought ความร่วมมือสมัชชาสุขภาพไทย-อิหร่าน ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปภาคประชาชน ฟังความเห็นแผนปฏิรูปสาธารณสุข
“สานพลังปัญญา สร้างสรรค์นโยบายสาธารณะ“ ยกหมอภูมิปัญญา ผู้มีผลงานเด่นด้านวัฒนธรรม การพัฒนาคุณภาพ ประสิทธิภาพ ของกำ ลังคน สช. และสร้างสมรรถนะองค์กร (Blueprint for change) สช. องค์กรริเริ่มสร้างสรรค์ : Originator สช. องค์กรนักสานพลัง : Collaborator บุกเบิกงานมหกรรมสานพลังสร้างสุขภาวะ เสริมพลังกองทุนหมู่บ้าน สร้างชุมชนเข้มแข็ง-อำ เภอบูรณาการ
ครอบครัว สช. ที่ปรึกษา นพ.ศิริวัฒน์ ทิพย์ธาราดล ที่ปรึกษา นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ เลขาธิการ นพ.พลเดช ปิ่นประทีป โทร. 0 2832 9010 รองเลขาธิการ นางอรพรรณ ศรีสุขวัฒนา โทร. 0 2832 9129 รองเลขาธิการ น.ส.พัชรา อุบลสวัสดิ์ โทร. 0 2832 9129 รองเลขาธิการ ผศ.วีระศักดิ์ พุทธาศรี โทร. 0 2832 9092 รองเลขาธิการ นายสุรพงษ์ พรมเท้า โทร. 0 2832 9089 ที่ปรึกษาและผู้บริหาร สช. สำนักต่างๆ ใน สช. สำ นักส่งเสริมและพัฒนานโยบายสาธารณะฯ (สน.) โทร. 0 2832 9075 สำ นักขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะฯ (สข.) โทร. 0 2832 9063 สำ นักนโยบาย ยุทธศาสตร์ และประเมินผล (สย.) โทร. 0 2832 9045 สำ นักสนับสนุนยุทธศาสตร์สังคมเข้มแข็ง (สยส.) โทร. 0 2832 9092 สำ นักอำ นวยการ (สอ.) โทร. 0 2832 9022 สำ นักพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพฯในระดับพื้นที่ (สพ.) โทร. 0 2832 9087 กลุ่มงานสื่อสารทางสังคม (กส.) โทร. 0 2832 9144 กลุ่มงานความร่วมมือระหว่างประเทศ (กป.) โทร. 0 2832 9025 กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล (กบ.) โทร. 0 2832 9036 ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร สช. (ศสข.) โทร. 0 2832 9128 ติดต่อ สช. สำ นักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) โทรศัพท์ 0 2832 9000 โทรสาร 0 2832 9001 และ 0 2832 9002 เว็บไซต์ สช. www.nationalhealth.or.th Facebook : สช. สำ นักงานคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ