การประกนั คณุ ภาพการศึกษา
และมาตรฐานคณุ ภาการศกึ ษา
จดั ทาโดย
นางสาวธญั ญาเรศ จนั ทรเ์ จอื ศริ ิ รหสั นกั ศกึ ษา 614179012
นางสาวมฑุ ติ า ลสิ อน รหสั นกั ศกึ ษา 614179017
คบ. ๔ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศกึ ษาและคอมพวิ เตอรก์ ารศกึ ษา
เสนอ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. จรนิ ทร์ งามแมน้
รายวชิ า การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา (PC58510)
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2565
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ
การประกันคุณภาพการศึกษากาหนดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (Internal Quality
Assurance) และระบบประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษา (External Quality Assurance) และให้ถือว่า
การประกนั คุณภาพภายในเปน็ สว่ นหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษา ท่ีตอ้ งดาเนินการอย่างต่อเน่ืองส่วน
มาตรฐานการศึกษาเป็นข้อกาหนดเก่ียวกับคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และมาตรฐานที่ ต้องการให้เกิดขึ้นใน
สถานศึกษาทุกแห่ง และเพ่ือใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริม และกากับดูแล การตรวจสอบ
การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา
ใน E- Book เลม่ น้ีประกอบไปดว้ ยการประกนั คุณภาพการศึกษา/ความหมายและความสาคัญของการ
ประกันคุณภาพการศึกษา/ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา/กระบวนการประกันคุณภาพ
ภายใน/ขั้นตอนการดาเนินการประกันคุณภาพภายในมีรายละเอียด/บทบาทหน้าที่ของครูในการประกัน
คุณภาพภายใน/การประเมินคุณภาพภายนอก/ความหมายของการประเมินคุณภาพภายนอก/นโยบายการ
ประเมินคุณภาพภายนอกรอบใหม่/ประโยชน์ของการประกันคุณภาพการศึกษาและมาตรฐานการศึกษา/
มาตรฐานการศึกษา /มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ/หลกั การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของชาต/ิ เปา้ หมายของ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ/ผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของการศึกษา /คาอธิบายความหมาย/คุณธรรม ความรู้
ทักษะที่จาเป็นสาหรับผู้เรียน/มาตรฐานการศึกษาของแต่ละระดับการศึกษา/มาตรฐานการศึกษาระดับ
ปฐมวัย/ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย/หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย/มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน ผู้จัดทาหวังว่า E- Book เล่มน้ีจะทาให้ทุกท่านท่ีอ่านได้เห็นคุณค่า และความสามารถโดยรวมของ
ผู้จดั ทา
สุดท้ายน้ีขอขอบพระคุณเว็บไซต์และแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ท่ีคณะผู้จัดทาได้เข้าไปศึกษาหาความรู้
รวมไปถึง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จรินทร์ งามแม้น อาจารย์ประจารายวิชา การประกันคุณภาพการศึกษา
(PC58510) ท่ีได้ให้คาปรึกษาในการรวบรวมเอกสาร และข้อมูลต่าง ๆ ในการจัดทา E -Book เล่มน้ีให้สาเร็จ
ลลุ ว่ งดว้ ยดี และข้อแนะนาหลายประการจนทาให้ผลงานเลม่ นี้มีความสมบูรณม์ ากยิ่งข้นึ
คณะผจู้ ัดทา
20/ม.ี ค./2565
เร่อื ง หนา้
การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 1
- ความหมายและความสาคัญของการประกนั คุณภาพการศึกษา
- ระบบและกระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา 2
4
กระบวนการประกันคุณภาพภายใน 5
ขนั้ ตอนการดาเนนิ การประกันคุณภาพภายในมีรายละเอยี ด 5
บทบาทหนา้ ท่ีของครูในการประกันคณุ ภาพภายใน
การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก 6
7
- ความหมายของการประเมินคุณภาพภายนอก
- นโยบายการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบใหม่ 8
สาระสาคัญของกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
ความสมั พันธ์ของประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในและประกันคณุ ภาพการศึกษาภายนอก 9
9
ประโยชนข์ องการประกันคุณภาพการศึกษาและมาตรฐานการศึกษา
10
มาตรฐานการศึกษา
13
มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
- หลกั การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติ
- เป้าหมายของมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 คุณธรรม ทักษะ และความรู้ที่จาเป็นบนฐาน
ค่านยิ มรว่ มสกู่ รอบผลลพั ธท์ ่ีพึงประสงคข์ องการศึกษา
- ผลลพั ธท์ ่พี งึ ประสงค์ของการศึกษา
คาอธบิ ายความหมาย
- คา่ นยิ มรว่ มของสังคม
คุณธรรม ความรู้ ทักษะท่จี าเป็นสาหรบั ผู้เรยี น
13
(ตอ่ ) หนา้
เรือ่ ง 14
15
มาตรฐานการศกึ ษาของแต่ละระดบั การศึกษา
มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั 22
- ปรัชญาการศกึ ษาปฐมวยั 30
- หลกั การจัดการศึกษาปฐมวัย 31
- มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
- มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
- มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เี่ น้นเด็กเปน็ สาคญั
มาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
- มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
- มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
- มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
สรุป ความหมายของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาและมาตรฐานการศึกษา
อา้ งอิง
1
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
คาวา “ประกัน” ในภาษาอังกฤษมี 2 คา คือ “Insure” กับ “Assure” Insure ภาษาไทยใชคาวา
“ประกัน” โดยมุ่งที่ประกันชีวิต ประกันอุบัติเหตุ ประกันวินาศภัย Assure ภาษาไทยใชคาวา “ประกัน”
เช่นกัน แต่มุ่งที่ให้ความม่ันใจแก่เจ้าของเงินว่า ผลผลิตของหน่วยงานน่าจะมีคุณภาพ ดังน้ัน การประกัน
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน (Quality Assurance) เป็นการให้หลักฐาน ข้อมูลแก่ประชาชนว่าบุคคลใน
โรงเรียนทางานอย่างเต็มความสามารถเพ่ือให้ผู้ปกครอง นักเรียน และสาธารณะชนม่ันใจว่านักเรียนน่าจะมี
คุณภาพตามท่ีระบุไว้ในหลักสูตรและมาตรฐานคุณภาพการศึกษาและสามารถดาเนินการให้เกิดคุณภาพ
การศึกษาตามบทบาทหน้าท่ีของครูในระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพ
ภายนอก พร้อมทง้ั มกี ารพฒั นาอย่างตอ่ เนื่อง
ความหมายและความสาคัญของการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
ความหมายของการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
การประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจปกติ
ของสถานศึกษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรยี นอย่างต่อเน่ือง สร้างความม่ันใจให้ผู้รับบริการทางการศึกษา ทั้ง
ผู้รับบริการโดยตรง ได้แก่ ผู้เรียน ผู้ปกครอง เป็นต้น และผู้รับบริการทางอ้อม ได้แก่ สถานประกอบการ
ประชาชน และสงั คมโดยรวม เป็นตน้
ความสาคญั ของการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
การประกนั คุณภาพ มคี วามสาคัญ 3 ประการ คือ
1. ทาให้ประชาชนได้รับข้อมูลคุณภาพการศึกษาท่ีเชื่อถือได้ เกิดความเชื่อม่ันและสามารถตัดสินใจ
เลือกใช้บรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพมาตรฐาน
2. ป้องกันการจัดการศึกษาท่ีไม่มีคุณภาพ ซ่ึงจะเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและเกิดความเสมอภาคใน
โอกาสทจ่ี ะได้รบั การบริการการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทว่ั ถึง
3. ทาให้ผู้รับผิดชอบในการจัดการศึกษามุ่งบรหิ ารจัดการศึกษาสู่คณุ ภาพและมาตรฐานอย่างจรงิ จังซ่ึง
มีผลให้การศึกษามีพลังที่จะพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเน่ือง การประกันคุณภาพ
การศกึ ษาจึงเป็นการบริหารจัดการและการดาเนินกิจกรรมตามภารกจิ ปกติของสถานศึกษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพ
ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะเป็นการสร้างความม่ันใจให้ผู้รับบริการการศึกษา ทั้งยังเป็นการป้องกันการจัด
การศึกษาที่ด้อยคุณภาพและสร้างสรรค์การศึกษาให้เป็นกลไกท่ีมีพลังในการพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพสูง
ยิ่งขน้ึ
2
ระบบและกระบวนการประกนั คุณภาพการศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาไทยตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ี
แก้ไขเพ่ิมเติม มาตรา 47 ประกอบด้วย 2 ระบบ คือ 1. ระบบการประกันคุณภาพภายใน และ 2. ระบบการ
ประกนั คณุ ภาพภายนอก
กระบวนการประกนั คณุ ภาพภายใน
ระบบการประกันคุณภาพภายใน หมายถึง ระบบการประเมินผล และการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถานศึกษาน้ั นเองหรือโดยหน่วยงานต้น
สังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษานั้น (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 : มาตรา 4)
สถานศึกษาจะต้องพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารและการ
ปฏิบัติงาน โดยคานงึ ถึงหลักการและกระบวนการดังต่อไปนี้
1. หลักการสาคัญของการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษามี 3 ประการ คือ (สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543 : 11)
1.1 จุดมุ่งหมายของการประกันคุณภาพภายใน คือ การท่ีสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาปรับปรุงคุณภาพ
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา ไม่ใช่การจับผิดหรือทาให้บุคลากรเสียหน้า โดยเป้าหมายสาคัญอยู่ที่การ
พฒั นาคณุ ภาพให้เกิดข้ึนกับผู้เรยี น
1.2 การที่จะดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายตามข้อ 1.1 ต้องทาให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็น
ส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารจัดการและการทางานของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาไม่ใช่เป็นกระบวน
การท่ีแยกส่วนมาจากการดาเนินงานตามปกติของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาจ้ะต้องวางแผนพัฒนาและ
แผนปฏิบัติการท่ีมีเป้าหมายชัดเจน ทาตามแผนตรวจสอบประเมินผลและพัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเป็น
ระบบทม่ี ีความโปร่งใสและมจี ิตสานกึ ในการพฒั นาคณุ ภาพการทางาน
1.3 การประกันคุณภาพเป็นหน้าที่ของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู
อาจารย์และบุคลากรอ่ืน ๆ ในสถานศึกษาโดยในการดาเนินงานจะต้องให้ผู้เก่ียวข้อง เช่น ผู้เรียน ชุมชน เขต
พ้ืนท่ีการศึกษา หรือหน่วยงานที่กากับดูแลเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย วางแผน ติดตาม
ประเมินผลพัฒนาปรบั ปรุง ช่วยกันคิด ช่วยกันทา ช่วยกันผลกั ดันให้สถานศึกษามีคุณภาพ เพ่ือให้ผู้เรียนได้รบั
การศึกษาทดี่ มี คี ุณภาพเปน็ ไปตามความต้องการของผู้ปกครอง สงั คม และประเทศชาติ
2. กระบวนการการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของการประกันคุณภาพ มี 3 ขั้นตอน คือ
(สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ 2543 : 7)
2.1 การควบคุมคุณภาพ เป็นการกาหนดมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ือพัฒนา
สถานศกึ ษาให้เขา้ สู่มาตรฐาน
2.2 การตรวจสอบคุณภาพ เป็นการตรวจสอบ และติดตามผลการดาเนินงานของสถานศึกษาให้
เปน็ ไปตามมาตรฐานทกี่ าหนด
3
2.3 การประเมนิ คุณภาพ เป็นการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาโดยสถานศึกษาและหน่วยงานต้น
สังกัดในระดบั เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาฯ และระดบั กระทรวง
3. กระบวนการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของหลักการบริหารที่เป็นกระบวนการครบวงจร
(PDCA) ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน คือ
3.1 การร่วมกนั วางแผน (Planning)
3.2 การร่วมกันปฏบิ ตั ิตามแผน (Doing)
3.3 การร่วมกนั ตรวจสอบ
3.4 การรว่ มกนั ปรบั ปรงุ
เมอื่ พิจารณากระบวนการการประกนั คุณภาพภายในตามแนวคิดของการประเมินคณุ ภาพและแนวคิด
ของการบริหารแบบครบวงจรจะเห็นว่ามคี วามสอดคล้องกนั ดังน้ี (2543 :10)
รว่ มกันวางแผน
รว่ มกันปรับปรงุ P การพัฒนาคุณภาพ
DPlan
A
Check
Act
C Do รว่ มกันปฏิบัติ
การประเมนิ คณุ ภาพ การตรวจตดิ ตามคุณภาพ
รว่ มกนั ตรวจ
ภาพที่ 1 การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพ
จากภาพ การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพก็คือกระบวนการบริหารเพ่ือพัฒนาคุณภาพ
ตามหลักการบริหารนั่นเอง โดยการควบคุมคุณภาพ คือ การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันวางแผนและดาเนนิ การ
ตามแผน เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา ส่วนการตรวจสอบ
คุณภาพ คือ การท่ีสถานศึกษาต้องร่วมกันตรวจสอบเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามเป้าหมายและ
มาตรฐานการศึกษาเมื่อสถานศึกษามีการตรวจสอบตนเองแล้วหน่วยงานในเขตพ้ืนที่การศึกษาและต้นสังกัดก็
เข้ามาช่วยติดตามและประเมินคุณภาพเพ่ือให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาปรับปรุงสถานศึกษา ซึ่งจะทาให้
สถานศึกษามคี วามอนุ่ ใจ และเกดิ ความต่ืนตัวในการพฒั นาคณุ ภาพอยู่เสมอ
4
ขน้ั ตอนการดาเนินการประกันคณุ ภาพภายในมีรายละเอียด ดังนี้
1. ข้นั การเตรียมการ ซง่ึ การเตรียมการท่ีมคี วามสาคญั คอื
1.1 การเตรียมความพร้อมของบุคลากร โดยต้องสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของการ
ประกันคุณภาพภายในและการทางานเป็นทีม ซ่ึงจะจัดทาการชี้แจงทาความเข้าใจโดยใช้บุคลากรภายใน
สถานศึกษาหรือวิทยากรมืออาชีพจากภายนอก โดยบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาได้มีโอกาสเข้าร่วมประชุม
รบั ทราบพรอ้ มกัน และตอ้ งพัฒนาความรู้ ทักษะเกย่ี วกับการประกันคุณภาพภายในให้บคุ ลากรทกุ คนเกิดความ
ม่ันใจในการดาเนินงานประกันคุณภาพด้วยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยเน้นเนื้อหาเกี่ยวกับการจัดทา
แผนพัฒนาสถานศึกษาและแผนปฏบิ ัติการในแต่ละป ตอ่ มาเน้นเน้ือหาการกาหนดกรอบและแผนการประเมิน
เคร่ืองมือประเมินและการรวบรวมข้อมูล ในช่วงท้ายเน้นเรื่องเก่ียวกับการวิเคราะห์ข้อมูล การนาเสนอผลการ
ประเมนิ และการเขยี นรายงานผลการประเมนิ ตนเอง
1.2 การแต่งตง้ั คณะกรรมการผู้รบั ผดิ ชอบในการประสานงาน กากับดูแล ช่วยเหลอื สนบั สนนุ
ให้ทกุ ฝ่ายทางานร่วมกนั และเช่ือมโยงเป็นทีม โดยการต้ังคณะกรรมการควรพิจารณาตามแผนภูมิโครงสร้างการ
บรหิ ารซ่ึงฝ่ายทร่ี ับผิดชอบงานใดควรเป็นกรรมการรับผดิ ชอบการพฒั นาและประเมินคุณภาพงานนั้น
2. ขนั้ การดาเนนิ งานประกนั คุณภาพภายใน ประกอบด้วยขั้นตอน หลัก 4 ข้ันตอน คอื
2.1 การวางแผน จะต้องมีการกาหนดเป้าหมาย แนวทางการดาเนินงาน ผู้รับผิดชอบงาน
ระยะเวลาและทรัพยากรท่ีต้องใช้ สาหรับแผนต่าง ๆ ท่ีควรจัดทา คือ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาป แผนการจดั การเรียนการสอนตามหลักสตู รซ่ึงสอดคล้องกับเป้าหมายของ
สถานศึกษา แผนการประเมนิ คณุ ภาพและแผนงบประมาณ เป็นต้น
2.2 การปฏิบัติตามแผน ซึ่งในขณะดาเนินการต้องมีการเรียนรู้เพ่ิมเติมตลอดเวลาและ
ผู้บริหารควรให้การส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรทุกคนทางานอย่างมีความสุข จัดส่ิงอานวยความสะดวก
สนับสนนุ ทรัพยากรเพื่อการปฏิบัติ กากับ ตดิ ตามการทางานท้ังระดบั บุคลากร รายกลุ่ม รายหมวด และใหการ
นิเทศ
2.3 การตรวจสอบประเมินผล ซึ่งเป็นกลไกสาคัญท่ีจะกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเพราะจะทา
ให้ได้ข้อมูลย้อนกลับท่ีแสดงว่าการดาเนินงานที่ผ่านมาบรรลุเป้าหมายเพียงใด โดยการประเมินตองจัดวาง
กรอบการประเมิน จัดหาหรอื จดั ทาเคร่ืองมือ จดั เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความข้อมูล และการ
ตรวจสอบปรบั ปรุงคุณภาพการประเมิน
2.4 การนาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน เมื่อแต่ละฝ่ายประเมินผลเสร็จแล้วจะส่งผลให้
คณะกรรมการรับผิดชอบนาไปวิเคราะห์ สังเคราะห์และแปลผลแล้วนาเสนอผลต่อผู้เก่ียวข้องเพ่ือนาไป
ปรบั ปรุงการปฏบิ ัติงานของผู้บริหารและบุคลากร นาไปวางแผนในระยะต่อไป และจดั ทาเป็นข้อมลู สารสนเทศ
หรือการเขียนรายงานประเมินตนเอง
5
3. ข้ันการจัดทารายงานประเมินตนเองหรือรายงานประจาปเม่ือสถานศึกษาดาเนินการประเมินผล
ภายในเสร็จแล้วจะจัดทารายงาน โดยเร่ิมจากรวบรวมผลการดาเนินงานและผลการประเมินมาวิเคราะห์
จาแนกตามมาตรฐานการศึกษาและเขยี นรายงาน
บทบาทหนา้ ท่ีของครูในการประกันคณุ ภาพภายใน
บทบาทหน้าทขี่ องครใู นการประกันคุณภาพภายใน มีดงั น้ี
1. มีการเตรียมความพร้อมของตนเอง โดยทาการศึกษาให้เกิดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักการ
วธิ ีการ ขั้นตอนในการประเมนิ ผลภายใน รวมทงั้ พยายามสร้างเจตคตทิ ี่ดีตอ่ การประเมินภายใน
2. ให้ความรว่ มมือกบั สถานศึกษาในการให้ข้อมูลพ้ืนฐานทั่วไปท่ีคณะกรรมการประเมนิ ผลภายในตอง
การ
3. ให้ความร่วมมือกับสถานศกึ ษาเมื่อได้รบั การแตง่ ตั้งใหเ้ ป็นคณะกรรมการในกิจกรรมใดกจิ กรรมหนึ่ง
ของการประเมินผลภายใน เช่น เข้าร่วมพิจารณาจัดทาปฏิทินการปฏิบัติงานด้านการประเมินผลภายใน
สถานศึกษา ร่วมกันพิจารณาจัดสร้างเคร่ืองมือในการจัดเก็บข้อมูลลักษณะต่าง ๆ ในกระบวนการประเมินผล
ภายใน ร่วมกันทาการสารวจเก็บข้อมูลที่คณะกรรมการสารวจ ร่วมกันทาการวิเคราะห์ข้อมูล (หากมีความรู้
ด้านการวิเคราะห)์ ร่วมกนั สรุปผลการประเมนิ เป็นต้น
4. ให้ความร่วมมือกับสถานศึกษา ในการร่วมกันกาหนดจุดประสงค์ กาหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ใน
การประเมินด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษาเอง และร่วมกันกาหนดเกณฑ์การตัดสินมาตรฐานและตัวบ่งชี้ในด้าน
ต่าง ๆ
5. ปฏิบัติหน้าที่หลักหรือหน้าที่ประจาที่รับผิดชอบอย่างมีระบบ ตามกระบวนการและสอดคล้องกับ
มาตรฐานการศึกษา เช่น ในหน้าที่การสอนต้องมีการพัฒนาหลักสูตรและแผนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็น
สาคัญ จัดเตรียมเน้ือหาสาระที่ถูกต้องเหมาะสมกับจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดทาส่ือการสอนท่ีมี
ประสิทธิภาพตรงตามจุดประสงค์การเรียนการสอน จัดกิจกรรม วิธีการเรียนรู้ท่ีสร้างให้ผู้เรียนเกิดการค้นคว้า
หาความรู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง เลือกวิธีการประเมินผลการเรียนหลากหลายและเหมาะสมรวบรวมผลสรุป
ผล ประเมินการเรียนการสอน พฤติกรรมของผู้เรียน นาผลการประเมินมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
อย่างตอ่ เนื่อง เป็นต้น
การประเมินคุณภาพภายนอก
ความหมายของการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอก คือ การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องคก์ ารมหาชน) หรือ สมศ. เพื่อมงุ่ ใหม้ ีคุณภาพดียิ่งขนึ้ การประเมินคุณภาพภายนอกจะนาไปสู่
6
การเข้าถึงคุณภาพการศึกษาด้วยความเป็นกลาง เพื่อสร้างสรรค์พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอย่าง
แทจ้ รงิ
นโยบายการประเมินคุณภาพภายนอกรอบใหม่
รูปแบบและหลักการประเมินคุณภาพรอบใหม่ ประกอบ การประเมินโดยอาศัยความเช่ียวชาญ
(Expert Judgment) การประเมินแบบองค์รวม (Holistic Assessment) และการประเมินเชิงประจักษ์
(Evidence Based Assessment)
แนวทางการประเมินภายนอกรอบใหม่ จะไม่ใช่เป็นการประเมินเพื่อตัดสินว่าใครได้ระดับใด ผ่าน
หรือไม่ผ่าน เป็นการประเมินท่ีไม่มีการรับรองคุณภาพของสถานศึกษา แต่จะเป็นการประเมินเชิงพัฒนา ท่ีมีผ้
เช่ียวชาญไปช่วยเหลือและแนะนา
องคป์ ระกอบผู้ประเมินคุณภาพภายนอกรอบใหม่ จะมีองคป์ ระกอบผู้ประเมินที่ประกอบด้วย ตัวแทน
3 ส่วน คือ 1) ผู้ทรงคุณวุฒิจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) 2)
ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานต้นสังกัด และ 3) ผู้บริหารสถานศึกษาท่ีเป็นอิสระจากการตรวจ โดยการประเมิน
รอบใหม่น้ี จะให้ความสาคัญกับมาตรฐานผู้ประเมินที่เน้นทักษะ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ
(Subjective Assessment)
สาระสาคัญของกฎกระทรวง การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561
สาระสาคัญของกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ประกาศลงในราชกิจจา
นุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่ 11ก วนั ท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2561 มดี ังนี้
ข้อ 1 ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธกี ารประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553
ข้อ 2 ในกฎกระทรวงน้ี
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม
ตรวจสอบระบบการบริหารคณุ ภาพการศกึ ษาท่ีสถานศึกษาจัดขึ้น เพ่ือให้เกิดการพฒั นาและสร้างความเชื่อม่ัน
ให้แก่ผู้มสี ่วนเกย่ี วขอ้ งและสาธารณชนว่าสถานศกึ ษาน้ันสามารถจดั การศึกษาได้อย่างมีคณุ ภาพ ตามมาตรฐาน
การศึกษา และบรรลุเป้าประสงคข์ องหน่วยงานต้นสังกัดหรอื หน่วยงานทก่ี ากับดูแล
“สานักงาน” หมายความว่า สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ
มหาชน)
ข้อ 3 ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจดั ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาโดยการ
กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภท
การศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมทั้งจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ จัดให้มีการ
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการ เพ่ือพัฒนา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้น
7
สังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปเพ่ือให้การดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ตามวรรคหน่ึงเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้หนว่ ยงานต้นสงั กัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษามีหน้าท่ี
ในการให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนาสถานศึกษา เพ่ือให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
พัฒนาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
ข้อ 4 เม่ือได้รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามข้อ 3 แลว ให้หน่วยงานต้นสังกัด
หรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาจัดส่งรายงานดังกล่าวพร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการ
ประเมินผลและการติดตามตรวจสอบซ่ึงรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ
สถานศึกษาแห่งนั้นให้แก่สานักงานเพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอกให้สานักงาน
ดาเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่ ง
รายงานผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะให้แกส่ ถานศึกษาและหน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาน้ัน ๆ เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป ในการดาเนินการตามวรรคสอง สานักงานอาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่
ได้รับการรับรองจากสานักงานดาเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาได้ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษาน้ันติดตามผลการดาเนินการ
ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามวรรคสองเพื่อนา ไปสู่การพัฒนาคุณภาพแล ะ
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในและประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายนอกมีความสัมพนั ธก์ นั อย่างไร
การประกันคุณภาพภายใน เป็นการตรวจสอบ การควบคุม การติดตาม ประเมินผลคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถาบันการศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถาบันการศึกษาน้ันท้ังหมด หรือโดย
หน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าท่ีกากับดูแลสถาบันการศึกษานั้น ผลจากการตรวจสอบคุณภาพภายใน คือ มีการ
วางระบบงานทีม่ รี ะบบและกลไกท่ีชดั เจน มกี ารดาเนินงานรวมทั้งมีการพัฒนาฐานขอ้ มลู ในด้านต่าง ๆ
ส่วนการประกันคุณภาพภายนอกเป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การ
ตรวจสอบ คุณภาพและมาตร ฐานการศึกษาของสถาบันการศึกษาซึ่งกระทาโดยหน่วยงานภายนอก หรือผู้
ประเมินภายนอก เพ่อื ม่งุ ให้มีการพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานของสถาบันการศกึ ษาใหด้ ยี ่งิ ขึน้
การประกันคุณภาพภายใน จะเน้นการตรวจสอบและประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาด้าน
ตา่ ง ๆ ของปจั จัยนาเข้า (Input) และกระบวนการ (Process)
ส่วนการประกันคุณภาพภายนอก จะเน้นการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในด้านต่าง ๆ
ของผลผลติ (Output) และผลลพั ธ์ (Outcome)
ดังนั้น การประเมินคุณภาพภายในย่อมส่งผลถึงการประกันคุณภาพภายนอกโดยตรง การประกัน
คุณภาพภายนอก จะใช้ตัวบ่งชี้ตามมาตรฐานต่าง ๆ ในการประเมินผลการดาเนินงานของสถาบันการศึกษา
รวมท้ังการตรวจเยีย่ มสถาบัน ซ่งึ ในการประเมินต้องคานงึ ถึงปรชั ญา พนั ธกจิ และลักษณะการจดั การเรยี นการ
8
สอนของแต่ละสถาบันการศึกษา โดยสถาบันการศึกษาจะต้องจัดทารายงานประจาปี เตรียมเอกสารข้อมูลใน
ดา้ นตา่ ง ๆ รวมถึงขอ้ มลู ตามตวั บง่ ชี้ และรายงานการประเมนิ ตนเอง
ประโยชน์ของการประกันคุณภาพการศึกษาและมาตรฐานการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาก่อให้เกิดประโยชน์ ดังน้ี
➢ เกิดการพฒั นาคณุ ภาพของสถาบนั การศกึ ษาอยา่ งต่อเนื่องเขา้ สมู่ าตรฐานสากล
➢ การใช้ทรพั ยากรในการบรหิ ารจดั การของสถาบนั อุดมศึกษาเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ
➢ การบริหารจัดการของสถาบันการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล อันจะทาให้การผลิตผู้สาเร็จ
การศึกษาทุกระดับ การสร้างผลงานวจิ ัย และการให้บริการทางวชิ าการ เกิดประโยชน์สูงสุด และตรง
กบั ความตอ้ งการของสังคมและประเทศชาติ
➢ ผูเ้ รียน ผู้ปกครอง ผู้จา้ งงาน และสาธารณชนมีขอ้ มลู สาหรับการตัดสนิ ใจท่ีถูกตอ้ งและเป็นระบบ
➢ สถาบันการศึกษา หน่วยงานบริการการศึกษา และรัฐบาลมีข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นระบบในการ
กาหนดนโยบาย วางแผน และการจดั บรกิ ารการศึกษา
➢ ผเู้ รยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนทุกสาระวิชาสงู ได้มาตรฐานสมา่ เสมอ
➢ ผู้เรียนรลู้ ่วงหน้าว่าจะไดร้ บั ผลอะไรจากการเรยี นในสถาบนั การศกึ ษาและไดผ้ ลตามความต้องการ
➢ ผู้ปกครอง ชุมชน ครู หน่วยงานการจัดการศึกษาในท้องถ่ิน มีส่วนร่วมกาหนดมาตรฐานคุณภาพที่
ผสมกลมกลืนระหว่างมาตรฐานสากล มาตรฐานชาติและมาตรฐานทอ้ งถ่ิน
➢ ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้นาการจัดการเพ่ือควบคุมคุณภาพการศึกษา โดยผนึกกาลังกับครู
คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน วางแผนการยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
เพื่อให้บังเกิดผลกับผู้เรียนตามมาตรฐาน มีการตรวจสอบยอมรับในแผนการดาเนินงานของ
สถาบนั การศกึ ษา
➢ ครูได้รับการพัฒนาและจูงใจให้วางแผนการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้น
กระบวนการปฏิบัติเพื่อให้นาไปสู่การบรรลุมาตรฐานคุณภาพการเรียนรู้อย่างครบถ้วน ให้ผู้เรียนทุก
คนได้เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ ผู้บริหารและคณะกรรมการสถานศึกษาติดตามตรวจสอบการเรียน
การสอน และชว่ ยใหค้ ุณภาพการศึกษามคี วามเป็นระบบระเบยี บ
➢ มีระบบการวัดประเมินผลตามสภาพจริง มุ่งตรงต่อการบรรลุมาตรฐานคุณภาพ และบันทึกลงแฟ้ม
ผลงานทผี่ ู้บรหิ ารและครูตรวจสอบผลการเรียนและบันทึกผล นาผลมาใชเ้ พ่ือการพัฒนาและรายงานสู่
ชุมชนสม่าเสมอวา่ การจัดการเรียนการสอนทาให้บงั เกดิ ผลตามเป้าหมายคุณภาพการเรียนรู้ที่กาหนด
ไว้ลว่ งหนา้ ได้ดเี พียงใด
9
มาตรฐานการศกึ ษา
มาตรฐานการศึกษา หมายถึง ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์และมาตรฐานท่ี ต้องการ
ให้เกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพ่ือใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริม และกากับดูแล การ
ตรวจสอบ การประเมนิ ผล และการประกนั คุณภาพทางการศึกษา
มาตรฐานการศกึ ษา มดี งั นี้
- มาตรฐานการศึกษาของชาติ
- มาตรฐานการศึกษาของแตล่ ะระดบั การศึกษา
- มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
- มาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
- มาตรฐานการศึกษาพเิ ศษ
- มาตรฐานการเรียนรูต้ ามหลกั สตู ร
มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
“มาตรฐานการศึกษาของชาติ” หมายถึง ข้อกาหนดเก่ียวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์ของ
คนไทย เพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่งยึดเป็นกรอบสาหรับสร้างคนไทย 4.0 ท่ีแม้แตกต่างตามบริบทของท้องถ่ิน
และของสถานศึกษา แต่มีจุดหมายร่วมคือ “ธารงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก” สามารถเป็นกาลัง
สาคัญในการพัฒนาประเทศทงั้ ในมิติเศรษฐกิจ มติ ิสงั คม และมิตกิ ารเมือง ต่อไปได้
หลกั การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ ซึ่งกาหนดผ่านกรอบ (framework) ผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของการศึกษา
น้ีจัดทาขึ้นให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ยทุ ธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 - 2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 กฎหมาย ยทุ ธศาสตร์และแผนงาน
ทั้งหลายเหล่านี้ ต่างมีอุดมการณ์เพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา เป็น
คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ตามความถนัดของตน มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน
สงั คม และประเทศชาติ เป็นพลเมืองดี มีคณุ ภาพ และความสามารถสูง พัฒนาตนอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ิตตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท้ังยังคาดหวังให้คนไทยท้ังปวงได้รับโอกาสเท่าเทียมกันทางการศึกษา
สามารถเปน็ ผรู้ ว่ มสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม เพื่อเป้าหมายของการพฒั นาประเทศสู่ ความม่นั คง มงั่ คง่ั และย่ังยนื
10
เป้าหมายของมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้สถานศึกษาทุกแห่ง ยึดเป็นแนวทางสาหรับการ
พัฒนาผู้เรียนไปสู่ผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของการศึกษา และให้หน่วยงานต้นสังกัดใช้เป็นเป้าหมายในการจัด
การศึกษา โดยการกาหนดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของผู้เรียนท่ีเหมาะสมตามช่วงวัยในแต่ละระดับและประเภท
การศึกษา และใช้เป็นเป้าหมายในการสนับสนนุ สถานศึกษาให้สามารถดาเนนิ การต่าง ๆ ได้อยา่ งสะดวกเพื่อให้
เกิดผลลัพธ์ดังกล่าว นอกจากน้ียังมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาใช้เป็น
แนวทางในการส่งเสริม การกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษา
เพ่ือให้เป็นไปตามหลักการในการจัดการศึกษา สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึงได้จัดทามาตรฐาน
การศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ในรูปของผลลัพธท์ ่ีพึงประสงค์ของการศึกษา เพ่ือให้สถานศึกษาและหน่วยงาน
ท่ีเก่ียวข้องในการจัดการศึกษาใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดการศึกษาและจดั ทามาตรฐานการศึกษาขั้นตา่ ที่จาเป็น
ของแต่ละระดับและประเภทการศึกษา เพ่ือให้เกิดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ข้ึนกับผู้เรียนท้ังในระหว่างท่ีกาลัง
ศกึ ษาและเพ่ือวางรากฐานใหผ้ เู้ รยี นในระหว่างที่กาลังศึกษาเพ่ือให้เกิดคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์หลังจากสาเร็จ
การศึกษา ซึ่งถือเป็น “คุณลักษณะของคนไทย 4.0” ท่ีสามารถสร้าง ความมั่นคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน ให้กับ
ประเทศ
เปา้ หมายสาคญั ของมาตรฐานการศกึ ษาของชาติในรูปของผลลพั ธ์ท่ีพึงประสงคข์ องการศึกษา คือ การ
ให้อสิ ระสถานศึกษาในการจัดการศึกษาใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศึกษาและตามความถนัดของผู้เรียน ท่ี
สอดรับกบั กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ซ่งึ กาหนดวา่ สถานศึกษาเป็นผจู้ ดั ใหม้ ีระบบ
การประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (การประเมินตนเอง) โดยการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของ
สถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของแต่ละระดับและประเภทการศึกษา พร้อมทั้งจัดทา
แผนพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือนาไปสู่กรอบผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ตามบริบท ระดับและประเภทการศึกษาของ
สถานศึกษา และให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ทาหน้าท่ี
ประเมินคุณภาพภายนอกตามรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาและประเดน็ อื่น ๆ ผา่ นหนว่ ยงาน
ตน้ สงั กดั โดยมงุ่ หมายให้เปน็ การประเมนิ เพื่อพัฒนา
มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 คณุ ธรรม ทักษะ และความรู้ท่จี าเป็นบนฐาน
ค่านิยมรว่ ม สูก่ รอบผลลพั ธ์ท่ีพงึ ประสงคข์ องการศึกษา
การจัดการศึกษาของชาติจะต้องทาให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ซึ่งเป็นคุณลักษณะของผู้เรียน อันเป็น
ผลที่เกิดจากการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา จนถึงการ
อุดมศกึ ษา ทัง้ นสี้ ถานศึกษามีอสิ ระในการกาหนดแนวคิด ปรชั ญา และวิสยั ทศั น์ของการจัดการศึกษาให้เป็นอัต
ลักษณแ์ ละสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศึกษาและตามความถนัดของผเู้ รยี น
11
หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องมีการสนับสนุน กากับ ติดตาม ประเมินและพัฒนา
คุณภาพของการจัดการศึกษา โดยมงุ่ เนน้ ความรับผดิ ชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability) มรี ะบบการบริหาร
จัดการทั้งด้านผู้บริหาร ครู คณาจารย์ และบุคลากร หลักสูตรการเรียนการสอน สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล
ทรัพยากร ส่ิงสนบั สนุนการศึกษา และการประเมิน ตลอดจนระบบและกลไกการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนือ่ ง
ท่ีทาให้เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ที่เหมาะสมตามแต่ละระดับ และประเภทการศึกษา และผลลัพธ์สะสมท่ี
ครอบคลุมระดับและประเภทการศึกษาท่ีต่อเนื่องกัน นอกจากนส้ี ถาบนั ผลิตและพัฒนาครูในฐานะกลไกสาคัญ
ในการพัฒนาครูให้มีคุณภาพ จะต้องมีบทบาทในการเตรียมความพร้อมครูก่อนประจาการ และส่งเสริมการ
พัฒนาครูประจาการให้มีสมรรถนะทางวิชาชีพที่สอดคล้ องกับการจัดก ารเรียนรู้ยุคใหม่เพื่อผลลัพธ์ท่ี พึง
ประสงค์ของการศกึ ษา
ผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education : DOE Thailand)
หมายถึง คุณลักษณะของคนไทย 4.0 ท่ีตอบสนองวิสัยทัศน์การพัฒนาประเทศสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน
โดยคนไทย 4.0 จะต้อง ธารงความเป็นไทยและแข่งขันได้ในเวทีโลก นั่นคือเป็นคนดี มีคุณธรรม ยึดค่านิยม
ร่วมของสังคมเป็นฐานในการพัฒนาตนให้เป็นบุคคลที่มีคุณลักษณะ 3 ด้าน โดยเป็นคุณลักษณะข้ันต่า
ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ผเู้ รยี น
เป็นผู้มีความเพียร ใฝ่เรียนรู้ และมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือก้าวทันโลกยุคดิจิทัลและโลกใน
อนาคตและมีสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากความรู้ ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ มีสุนทรียะ รักษ์และ
ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาไทย มีทักษะชีวิต เพื่อสร้างงานหรือสัมมาอาชีพบนพ้ืนฐานของความพอเพียง ความ
มั่นคงในชีวิต และคุณภาพชีวติ ทด่ี ี ตอ่ ตนเอง ครอบครัว และสงั คม
2. ผ้รู ่วมสรา้ งสรรค์นวัตกรรม
เป็นผู้มีทักษะทางปัญญา ทักษะศตวรรษท่ี 21 ความฉลาดดิจิทัล (digital intelligence) ทักษะการ
คิดสร้างสรรค์ ทักษะข้ามวัฒนธรรม สมรรถนะการบูรณาการข้ามศาสตร์ และมีคุณลักษณะของความเป็น
ผ้ปู ระกอบการ เพื่อร่วมสรา้ งสรรค์ และพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีหรือสังคม เพ่มิ โอกาส และมลู ค่าให้กับ
ตนเอง และสังคม
3. พลเมืองทเี่ ข้มแข็ง
เป็นผู้มีความรักชาติ รักท้องถ่ิน รู้ถูกผิด มีจิตสานึก เป็นพลเมืองไทยและพลโลก มีจิตอาสา มี
อุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาตินหลักการประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเท่าเทียม เสมอภาค
เพ่อื การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มทีย่ ั่งยืน และการอยู่รว่ มกนั ในสังคมไทยและประชาคมโลก
อย่างสนั ติ
12
โดยผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ 3 ด้าน ที่เหมาะสมตามช่วงวัย ท่ีมีความต่อเน่ืองเช่ือมโยง และสะสมตั้งแต่
ระดับการศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษา แสดงไว้ในแผนภาพท่ี 1
ท้ังน้ี การนากรอบผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของการศึกษาไปสู่การปฏิบัติ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จะ
เป็นหน่วยประสานงานในการดาเนินงานของหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ในการแปลงกรอบ
ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาสู่การจัดทากากับ ติดตาม และประเมินมาตรฐานการศึกษาข้ันต่าที่จาเป็น
สาหรับแต่ละระดับและประเภทการศึกษา เพื่อให้เกิดการเช่ือมต่อของผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของแต่ละระดับ
และประเภทการศึกษา กระบวนการดาเนินงานดังกล่าว ควรใช้การทางานแบบมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคสว่ นและ
ใช้การวิจัยเป็นฐาน
13
คาอธิบายความหมาย
คา่ นิยมร่วมของสังคม
1. ความเพียรอันบริสุทธิ์ ผู้เรียนมีความอดทน มุ่งมั่น ทาสิ่งใด ๆ ให้เกิดผลสาเร็จอย่างไม่ย่อท้อต่อ
ความลาบาก เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์แกต่ นเอง สว่ นรวม ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ
2. ความพอเพียง ผู้เรียนมีความสมดุลรอบด้านทั้งความรู้ คุณธรรม และทักษะท่ีเกี่ยวข้อง โดย
คานงึ ถึงความสมดลุ ทงั้ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ชมุ ชน และสังคม
3. วิถีประชาธิปไตย ผู้เรียนยึดม่ันในการมีส่วนร่วม การเคารพกติกา สิทธิหน้าท่ี ความรับผิดชอบ
การรับฟังความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกต่าง และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมพหวุ ฒั นธรรมได้อย่างมีความสขุ
4. ความเท่าเทียมเสมอภาค ผู้เรียนเคารพความแตกต่าง และให้ความสาคัญแก่ผู้อื่น โดยปราศจาก
อคติ แมม้ สี ถานภาพแตกต่างกนั ทางเศรษฐกิจ สงั คม เช้อื ชาติ ถิน่ ทอ่ี ยู่ วัฒนธรรมและความสามารถ
คณุ ธรรม ความรู้ ทักษะทีจ่ าเปน็
สาหรบั ผู้เรียน
1. คุณธรรม คือ ลักษณะนิสัยที่ดี และคุณลักษณะท่ีดี ด้านคุณธรรมพื้นฐาน การรู้ถูกผิด ความดีงาม
จริยธรรม จรรยาบรรณในการเป็นสมาชิกของสังคม เช่น ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความขยันหมั่นเพียร
ความซ่อื สัตย์ เปน็ ต้น
2. ทักษะการเรียนรู้และชีวิต คือ ทักษะท่ีจา เป็นสาหรับการเรียนรู้เพื่อโลกดิจิทัลและโลกในอนาคต
เช่น การรู้วิธีเรียน ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะชีวิตและทักษะการจัดการ ความสามารถในการปรับตัว
ยดื หยนุ่ พร้อมเผชิญความเปลย่ี นแปลง
3. ความรู้และความรอบรู้ คือ ชุดความรู้ท่ีจาเป็นสาหรับการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้ตนเองรู้เท่า
ทันการเปลี่ยนแปลงได้ ได้แก่ 1) ความรู้พ้ืนฐาน (ภาษา การคานวณ การใช้เหตุผล และความรู้ตามหลักสูตร)
2) การรู้จักตนเอง 3) ความรู้เร่ืองภูมิปัญญาไทยท้องถ่ิน ชุมชน สภาพภูมิสังคม ภูมิอากาศ ประเทศชาติ
ประชาคมโลก 4) ความรอบรู้ด้านต่าง ๆ ได้แก่ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การเงิน สารสนเทศ และ 5) ความรู้
เรื่องการงานอาชีพ
4. ทักษะทางปัญญา คือ ทักษะที่จาเป็นในการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีหรือทางสังคม เช่น ภูมิ
ปัญญาไทยและศาสตร์พระราชา ทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะพหุปัญญา ทักษะข้าม
วัฒนธรรม ความสามารถในการบูรณาการข้ามศาสตร์ สร้างสรรค์นวัตกรรม และมีคุณลักษณะของความเป็น
ผ้ปู ระกอบการที่เทา่ ทันการเปล่ยี นแปลงของสงั คมและโลกยุคดจิ ิทัล
14
มาตรฐานการศกึ ษาของแต่ละระดับการศึกษา
มาตรฐานการศึกษาในแต่ละระดับ กาหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพของมาตรฐานมี 5 ระดับ คือ
ระดับกาลังพัฒนา ระดับปานกลาง ระดับดี ระดับดีเลิศ และระดับยอดเยี่ยม รายละเอียดของมาตรฐาน
การศึกษาแตล่ ะระดับ ประเด็นพิจารณา และระดบั คณุ ภาพ มีดังนี้
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
ปรัชญาการศึกษาปฐมวยั
การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์รวมบนพื้นฐานการ
อบรมเล้ียงดู และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแต่ละคนให้เต็ม
ตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และความเข้าใจ
ของทุกคนเพ่ือสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง
ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ
หลักการจัดการศึกษาปฐมวยั
เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
ตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสมด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่เด็กกับ
ผู้สอนเด็กกับผู้เลี้ยงดูหรือผู้ท่ีเก่ียวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู การพัฒนาและให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย เพ่ือให้
เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลาดบั ข้ันของพฒั นาการทุกด้านเป็นองคร์ วมมีคณุ ภาพ และเตม็ ตามศักยภาพโดย
กาหนดหลักการ ดังน้ี
1. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรแู้ ละพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน
2. ยึดหลักการอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษาท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคลและวิถีชีวติ ของเด็กตามบรบิ ทของชมุ ชน สังคมและวัฒนธรรมไทย
3. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นอย่างมีความหมายและมีกิจกรรมที่
หลากหลายได้ลงมอื กระทาในสภาพแวดลอ้ มท่เี ออื้ ต่อการเรียนรูเ้ หมาะสมกับวัย และมกี ารพักผอ่ นเพยี งพอ
4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นคนดี มวี นิ ัย และมีความสขุ
5. สร้างความรู้ ความเข้าใจและประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่
ครอบครวั ชมุ ชน และทกุ ฝ่ายทเี่ ก่ยี วข้องกับการพฒั นาเด็กปฐมวยั
15
มาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาสังกัดองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ทกี่ ระทรวงมหาดไทยประกาศให้ใชไ้ ดย้ ึดหลกั ปรัชญา หลกั การจดั การศึกษา สอดคลอ้ งกับ
มาตรฐานชาติ มาตรฐานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ คุณภาพของเด็ก กระบวนการบริหารและการ
จัดการและการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญและข้อกาหนดในกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561 การกาหนดมาตรฐานการศกึ ษาจึงเน้นทีก่ าหนดเกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพของมาตรฐานมี
5 ระดับ คือ ระดับกาลังพัฒนาระดับปานกลาง ระดับดี ระดับดีเลิศ และระดับยอดเยี่ยม รายละเอียดของแต่
ละมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ ประเด็นพิจารณา และระดับคุณภาพ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขน้ั พ้ืนฐาน, 2561 : 6-30) ดังนี้
มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย พ.ศ. 2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน 14 ประเด็นพิจารณา
ได้แก่
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเปน็ สาคัญ
รายละเอยี ดแต่ละมาตรฐาน มดี งั น้ี
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก
1.1 มพี ฒั นาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยทดี่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
1.2 มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
1.3 มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกทดี่ ีของสังคม
1.4 มีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคดิ พน้ื ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้
คาอธิบาย
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก
ผลพัฒนาการเด็กในด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญา
1.1 มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นิสัยทดี่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้
เด็กมีน้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคล่ือนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตา
ประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏบิ ัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลงเกี่ยวกับ
ความปลอดภยั หลกี เลยี่ งสภาวะท่ีเสี่ยงตอ่ โรค สง่ิ เสพติด และระวังภยั จากบคุ คล ส่ิงแวดล้อม และสถานการณ์
ทเ่ี สี่ยงอนั ตราย
16
1.2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับ
และพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อื่น มีจิตสานึกและค่านิยมท่ีดี มีความม่ันใจ กล้าพูด
กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกล้ัน ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม ตามท่ีสถานศึกษากาหนด ช่นื ชมและมคี วามสขุ กับ ศิลปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว
1.3 มีพฒั นาการด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ทีด่ ีของสงั คม
เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ัติกิจวตั รประจาวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วม
ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การยิ้มทักทาย และมี
สัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกต่าง ระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม
พื้นฐานครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่นได้ แก้ไขข้อขัดแย้ง โดย
ปราศจากการใช้ความรุนแรง
1.4 มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอ่ื สารไดม้ ที ักษะการคดิ พื้นฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้
เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ตั้งคาถามในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือ สงสัย และพยายาม
ค้นหาคาตอบ อ่านนิทานและเล่าเร่ืองท่ีตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคิดรวบยอด การ
คิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเร่ืองง่าย ๆ ได้
สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคล่ือนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ เป็นต้น
และใช้ส่ือเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็นต้น เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหา
ความรูไ้ ด้
การให้ระดับคณุ ภาพ
ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
กาลังพฒั นา - มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ยังไม่บรรลุตาม เป้าหมายท่ี
สถานศกึ ษากาหนดทกุ ดา้ น
ปานกลาง - มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ยังไม่บรรลุตาม เป้าหมายที่
สถานศกึ ษากาหนดบางด้าน
ดี - มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา บรรลุตามเป้าหมายท่ีสถานศกึ ษา
กาหนดทุกด้าน
ดเี ลศิ - มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา สูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
กาหนดทุกดา้ น
ยอดเย่ียม - มีพฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสตปิ ญั ญา สูงกวา่ เป้าหมายทส่ี ถานศึกษา
กาหนดทกุ ด้าน และมคี วามพรอ้ มในการศึกษาระดบั ประถมศึกษา
17
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
2.1 มหี ลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของทอ้ งถิน่
2.2 จัดครใู หเ้ พียงพอกับช้ันเรยี น
2.3 สง่ เสริมใหค้ รมู คี วามเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์
2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและส่อื เพ่อื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ
2.5 ใหบ้ รกิ ารส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรียนร้เู พื่อสนับสนนุ การจดั ประสบการณ์
2.6 มีระบบบรหิ ารคุณภาพท่เี ปิดโอกาสให้ผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายมีสว่ นร่วม
คาอธบิ าย
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
สถานศึกษาดาเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลุมด้านวิชาการ ด้านครู และบุคลากร
ด้านข้อมูลสารสนเทศ ด้านสภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ และด้านระบบประกันคุณภาพภายใน โดย
เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีการกากับติดตามการดาเนินงานอย่างเป็น
ระบบและต่อเน่ืองเพอื่ สรา้ งความมั่นใจต่อคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา
2.1 มหี ลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของทอ้ งถ่นิ
สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โดย
สถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณ์ท่ีเตรียมความพรอ้ มอย่างเป็นองค์รวมและเหมาะสมตามวยั เน้นการ
เรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติ และ
กลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ และสอดคลอ้ งกบั วิถชี วี ิตของครอบครวั ชมุ ชน และทอ้ งถิน่
2.2 จดั ครูให้เพยี งพอกบั ชั้นเรยี น
สถานศึกษาจัดครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรียนการสอนหรือจัดครูท่ีจบการศึกษาปฐมวัยหรือผ่าน
การอบรมการศกึ ษาปฐมวัยอย่างพอเพียงกับชัน้ เรยี น
2.3 สง่ เสริมให้ครูมคี วามเชย่ี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์
พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความรคู้ วามสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มี
ทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก ใช้ประสบการณ์สาคัญในการออกแบบการจัด
กิจกรรมมีการสงั เกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มปี ฏิสมั พนั ธท์ ่ีดีกับเด็กและครอบครวั
2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ
สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่คานึงถึงความปลอดภัย ส่งเสริมให้เกิด
การเรียนรู้เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือร่วมใจ มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีส่ือการเรียนรู้เช่น
ของเล่น หนังสือนิทาน ส่อื จากธรรมชาติ ส่ือสาหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย ส่ือเทคโนโลยี สื่อเพ่อื การสืบเสาะหา
ความรู้
18
2.5 ใหบ้ รกิ ารสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนบั สนุนการจดั ประสบการณส์ าหรับ
ครู
สถานศึกษาอานวยความสะดวก และให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ และอุปกรณ์ เพ่ือ
สนบั สนุนการจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาครู
2.6 มรี ะบบบริหารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ยี วขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม
สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย
และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากาหนด จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่
สถานศึกษากาหนดและดาเนินการตามแผน มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการดาเนินงานและจัดทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี นาผลการประเมินไปปรับปรุงและ
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและจัดส่งรายงานผลการประเมิน
ตนเอง ใหห้ นว่ ยงานตน้ สังกัด
การให้ระดับคุณภาพ
ระดับคณุ ภาพ ประเด็นพจิ ารณา
- มหี ลกั สตู รสถานศกึ ษาทไี่ มย่ ดื หยุน่ ไมส่ อดคลอ้ งกับหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย และบริบทของ
กาลงั พฒั นา ท้องถน่ิ
- มีระบบบริหารคุณภาพ แต่ไม่สง่ ผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพเดก็ ปฐมวยั
ปานกลาง - มีหลักสตู รสถานศกึ ษาทย่ี ืดหยุ่น สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัยและบรบิ ทของท้องถน่ิ
- มีระบบบริหารคณุ ภาพ แตไ่ มส่ ่งผลตอ่ การพัฒนาคุณภาพเดก็ ปฐมวัย
- มหี ลักสูตรสถานศกึ ษาที่ยืดหย่นุ สอดคล้องกบั หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยและบริบทของท้องถน่ิ
- จดั ครูให้เพียงพอและเหมาะสมกับช้ันเรียน
- มีการส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งผลต่อคุณภาพเด็ กเป็น
รายบุคคล
ดี - จดั สภาพแวดลอ้ มอยา่ งปลอดภัย และมีสอ่ื เพื่อการเรียนร้อู ยา่ งเพียงพอและหลากหลาย
- ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์
เหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา
- มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษาที่ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา
และเปิดโอกาสให้ผเู้ ก่ยี วข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ ม
19
ระดับคุณภาพ ประเดน็ พิจารณา
ดเี ลศิ - มีการประเมนิ และพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาให้สอดคล้องกบั หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและ
บรบิ ทของทอ้ งถิน่
ยอดเย่ียม - จดั ครใู หเ้ พยี งพอและเหมาะสมกบั ช้ันเรียน
- มกี ารส่งเสริมให้ครมู คี วามเชี่ยวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ทสี่ ่งผลต่อคุณภาพเดก็ เป็น
รายบคุ คล ตรงความต้องการของครแู ละสถานศกึ ษา
- จัดสภาพแวดล้อมอย่างปลอดภยั และมสี อ่ื เพื่อการเรยี นร้อู ย่างเพยี งพอและหลากหลาย
- ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
เหมาะสมกับบริบทของสถานศกึ ษา
- มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา การชี้แนะระหว่างการปฏิบัติงานที่สง่ ผลตอ่
คณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา บรู ณาการการปฏบิ ตั งิ านและเปดิ โอกาสให้ผเู้ ก่ยี วข้อง
ทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ ม
- มีการประเมินและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกบั หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั และ
บรบิ ทของท้องถน่ิ
- จัดครูใหเ้ พียงพอและเหมาะสมกบั ช้ันเรยี น
- มกี ารส่งเสรมิ ให้ครูมคี วามเช่ยี วชาญด้านการจดั ประสบการณท์ สี่ ง่ ผลตอ่ คุณภาพเด็กเปน็
รายบคุ คล ตรงความต้องการของครูและสถานศึกษา และจัดให้มีชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี
- จดั สภาพแวดลอ้ มอยา่ งปลอดภยั และมีสอื่ เพ่ือการเรียนร้อู ย่างเพยี งพอและหลากหลาย
- ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
เหมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษา
- มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาที่เหมาะสมและตอ่ เน่ือง มกี ารช้ีแนะระหว่าง
การปฏิบัตงิ านส่งผลต่อคณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา บูรณาการการปฏิบัติงานและเปดิ
โอกาสให้ผ้เู กยี่ วขอ้ งทุกฝา่ ยมสี ่วนรว่ มจน เป็นแบบอย่างท่ีดีและได้รบั การยอมรับจากชมุ ชนและ
หน่วยงานที่เกย่ี วขอ้ ง
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ นน้ เด็กเป็นสาคญั
3.1.จดั ประสบการณท์ สี่ ่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทุกดา้ นอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ
3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ย่างมีความสขุ
3.3 จดั บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนร้ใู ช้สอ่ื และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด
ประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็
20
คาอธบิ าย
มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเปน็ สาคัญ
ครูจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ รู้จักเด็กเป็นรายบุคคลและ
สร้างโอกาสให้เด็กทุกคนได้รบั ประสบการณต์ รง เล่นและลงมือกระทาผ่านประสาทสัมผัส จัดบรรยากาศที่เออื้
ต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย มีการติดตามและประเมินผลพัฒนาการเด็กอย่างเป็น
ระบบ
3.1 จดั ประสบการณท์ ่สี ่งเสริมให้เด็กมพี ฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
ครูวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล จัดทาแผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะห์มาตรฐาน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้าน ท้ังด้าน
ร่างกาย ด้านอารมณ์ จติ ใจ ดา้ นสังคม และด้านสตปิ ญั ญา ไมม่ งุ่ เนน้ การพัฒนาดา้ นใดด้านหนึง่ เพียงดา้ นเดียว
3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบตั ิอย่างมคี วามสุข
ครูจัดประสบการณ์ท่ีเช่ือมโยงกับประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาสเลือกทากิจกรรมอย่างอิสระตาม
ความตอ้ งการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวธิ กี ารเรียนรู้ของเด็กเปน็ รายบคุ คลหลากหลายรูปแบบ
จากแหล่งเรยี นร้ทู ี่หลากหลาย เด็กได้เลอื กเลน่ เรยี นรู้ ลงมือ กระทา และสร้างองค์ความรูด้ ้วยตนเอง
3.3 จัดบรรยากาศท่ีเอ้อื ต่อการเรียนรู้ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกบั วัย
ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นท่ีแสดงผลงานเด็ก พ้ืนท่ี สา หรับมุม
ประสบการณ์และการจดั กิจกรรม เดก็ มีส่วนรว่ มในการจดั สภาพแวดลอ้ มในห้องเรยี น เชน่ ปา้ ยนิเทศ การดแู ล
ตน้ ไม้ เป็นตน้ ครูใชส้ อื่ และเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวิถีการเรยี นรู้ของเด็ก เช่น
กลอ้ งดจิ ิตอล คอมพวิ เตอร์สาหรับการเรียนรกู้ ลุ่มย่อย สื่อของเล่นท่กี ระต้นุ ให้คดิ และหาคาตอบ เปน็ ตน้
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และน าผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด
ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก
ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวตั รประจาวนั ด้วยเครื่องมือและวิธีการท่ีหลากหลายไม่
ใชแ้ บบทดสอบวิเคราะหผ์ ลการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยผูป้ กครองและผู้เก่ียวข้องมีส่วนร่วม และนาผลการ
ประเมินท่ีได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็กและแลกเปลยี่ นเรียนรู้การจัดประสบการณท์ ่ีมีประสิทธิภาพ
การใหร้ ะดบั คุณภาพ
ระดับคณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา
- จัดประสบการณท์ สี่ ่งเสริมให้เด็กมีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปญั ญา
กาลงั พฒั นา ไมส่ มดลุ
- ไม่สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติกิจกรรมอย่างอิสระตามความ
ต้องการ ความสนใจและความสามารถของเดก็
21
ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
ปานกลาง - จดั ประสบการณ์ที่ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา
ดี อย่างสมดลุ
- สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณต์ รง เล่นและปฏบิ ัติกจิ กรรมอย่างอิสระตามความตอ้ งการ
ดีเลศิ ความสนใจและความสามารถของเด็ก
- จดั ประสบการณ์ทสี่ ่งเสริมใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา
ยอดเย่ียม อยา่ งสมดุล เต็มศักยภาพของเดก็ เป็นรายบคุ คล
- สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ลงมือทา และสร้าง
องคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเองอย่างมคี วามสุข
- จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมกับวัย
- ครูประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย โดยผู้ปกครอง และ
ผเู้ กีย่ วข้องมีสว่ นรว่ มนาผลการประเมนิ ทไ่ี ดไ้ ปปรบั ปรุงการจัดประสบการณ์ และพัฒนาเด็ก
- จัดประสบการณ์ท่สี ง่ เสรมิ ให้เดก็ มีพฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญา
อยา่ งสมดลุ เตม็ ศกั ยภาพโดยความรว่ มมือของพอ่ แมแ่ ละครอบครัว ชมุ ชนและผเู้ ก่ียวขอ้ ง
- สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ลงมือทา และสร้าง
องค์ความรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งมคี วามสขุ
- จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้โดยเด็กมีส่วนร่วมใช้สื่อและ
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั วยั
-ครปู ระเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย โดยผปู้ กครองและผู้เก่ียวขอ้ ง
มสี ่วนรว่ มนาผลการประเมินท่ีไดไ้ ปปรับปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก
- จัดประสบการณ์ท่สี ง่ เสริมให้เดก็ มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม และสติปัญญา
อย่างสมดุล เต็มศักยภาพโดยความร่วมมือของพ่อแม่และครอบครัว ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องและ
เปน็ แบบอย่างท่ดี ี
- สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ลงมือทาและสร้าง
องค์ความร้ดู ว้ ยตนเองอย่างมีความสุข
- จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้โดยเด็กมีส่วนร่วมใช้ส่ือและ
เทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวยั
-ครูประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงดว้ ยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย โดยผ้ปู กครองและผ้เู กีย่ วข้อง
มีส่วนร่วมนาผลการประเมนิ ทไี่ ดไ้ ปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก
22
มาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน 21 ประเด็น
พจิ ารณา ไดแ้ ก่
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผเู้ รยี น
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1.2 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผ้เู รียน
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
รายละเอยี ดแต่ละมาตรฐาน มดี งั นี้
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร และการคดิ คานวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน ความ
คิดเห็น และแก้ปัญหา
3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม
4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
5) มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
6) มคี วามร้ทู ักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีต่องานอาชีพ
1.2 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผูเ้ รยี น
1) การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มท่ดี ตี ามที่สถานศึกษาก าหนด
2) ความภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นและความเป็นไทย
3) การยอมรับท่จี ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม
คาอธิบาย
มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นคณุ ภาพผเู้ รียน
ผลการเรียนรู้ที่เป็นคุณภาพของผู้เรียนท้ังด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการประกอบด้วย ความสามารถใน
การอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคานวณ การคิดประเภทต่าง ๆ การสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการส่อื สาร ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สูตร การมีความรู้ ทักษะพน้ื ฐานและเจตคติที่ดีต่อ
วิชาชีพ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่เป็นค่านิยมท่ีดีตามท่ีสถานศึกษากาหนด ความภูมิใจในท้องถิ่น
และความเป็นไทย การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย รวมท้ังสุขภาวะทางร่างกาย
และจิตสงั คม
23
1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รยี น
1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคานวณ
ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขยี น การส่อื สาร และการคดิ คานวณตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษา
กาหนดในแต่ละระดับชน้ั
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น
และแกป้ ญั หา
ผู้เรยี นมีความสามารถในการคิดจาแนกแยกแยะ ใครค่ รวญไตรต่ รอง พิจารณาอย่างรอบคอบ
โดยใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ มีการอภิปรายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น และแกป้ ัญหาอย่างมีเหตุผล
3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรูไ้ ดท้ ง้ั ด้วยตัวเองและการทางานเป็นทีม เชอ่ื มโยง
องค์ความรูแ้ ละประสบการณ์มาใชใ้ นการสรา้ งสรรคส์ ่งิ ใหม่ ๆ อาจเปน็ แนวความคดิ โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน
ผลผลติ
4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
ผู้เรียนมีความสามารถในใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการพัฒนาตนเอง และ
สงั คมในดา้ นการเรียนรูก้ ารสื่อสาร การทางาน อยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละมีคณุ ธรรม
5) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา
ผู้เรียนบรรลุและมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดิมใน
ด้านความรู้ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ รวมท้ังมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติหรือผล
การทดสอบอนื่ ๆ
6) มคี วามรูท้ ักษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ่ีดีต่องานอาชพี
ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติท่ีดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่
สูงข้นึ การทางานหรืองานอาชพี
1.2 คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น
1) มีคุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสานึก
ตามท่ีสถานศกึ ษากไหนดโดยไมข่ ัดกบั กฎหมายและวฒั นธรรมอนั ดีของสงั คม
2) มคี วามภมู ใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย
ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
วัฒนธรรมและประเพณีไทย รวมทัง้ ภมู ปิ ัญญาไทย
3) ยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
ผเู้ รียนยอมรับและอย่รู ว่ มกนั บนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัย เชอ้ื ชาติศาสนา
ภาษา วฒั นธรรม ประเพณี
24
4) มีสขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม
ผู้เรียนมีการรักษาสขุ ภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์สังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่
ละช่วงวยั สามารถอย่รู ่วมกบั คนอ่นื อยา่ งมคี วามสขุ เขา้ ใจผ้อู ่นื ไม่มคี วามขัดแยง้ กบั ผู้อ่นื
การใหร้ ะดับคุณภาพ
ระดับคณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผ้เู รยี น
- ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ ต่ากว่าเป้าหมาย
ท่ีสถานศึกษากาหนด
กาลงั พัฒนา - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาต่ากว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
กาหนด
1.2 คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ของผเู้ รียน
- ผู้เรียนมคี ณุ ลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ีต่ากว่าเปา้ หมายท่สี ถานศึกษากาหนด
- ผเู้ รียนมสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคมต่ากวา่ เปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี น
- ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณเป็นไปตาม
เป้าหมายทส่ี ถานศึกษากาหนด
ปานกลาง - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาเป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษา
กาหนด
1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น
- ผเู้ รยี นมีคุณลกั ษณะและค่านิยมทดี่ ีเปน็ ไปตามเป้าหมายทส่ี ถานศึกษากาหนด
- ผู้เรียนมีสขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คมเปน็ ไปตามเปา้ หมายที่สถานศกึ ษากาหนด
1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผเู้ รียน
- ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณเป็นไปตาม
เป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษากาหนด
- ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ
ดี คิดเห็นและแกป้ ญั หาได้
- ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ มีทักษะพ้นื ฐานในการสร้างนวัตกรรม
- ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่ือพัฒนาตนเองได้อยา่ ง
เหมาะสม ปลอดภัย
- ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาเป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
กาหนด
25
ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา
ดีเลศิ - ผู้เรยี นมีความรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ีดีตอ่ งานอาชพี
1.2 คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงคข์ องผเู้ รียน
- ผู้เรียนมคี ุณลักษณะและค่านิยมที่ดเี ป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถานศกึ ษากาหนด
- ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะและคา่ นยิ มทีด่ ีเปน็ ไปตามเปา้ หมายท่สี ถานศึกษากาหนด
- ผเู้ รียนมีความภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ เห็นคณุ ค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
ประเพณี และภูมิปญั ญาไทย
- ผ้เู รียนสามารถอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
- ผ้เู รียนมีสุขภาวะทางร่างกายและจติ สงั คมตามเปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด
1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผูเ้ รียน
- ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณสูงกว่าเป้าหมายท่ี
สถานศึกษากาหนด
- ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษา
กาหนด
- ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความ
คิดเห็น โดยใช้เหตผุ ลประกอบการตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาได้
- ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
- ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อพัฒนาตนเองและ
สังคมในด้านการเรยี นรู้การสอื่ สาร การทางาน
- ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ดี ีพร้อมท่ีจะศึกษาต่อในระดับช้ันท่ีสงู ข้ึน และการ
ทางานหรอื งานอาชีพ
1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
- ผเู้ รียนมีคณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมทดี่ ีสูงกวา่ เปา้ หมายท่สี ถานศกึ ษากาหนด
- ผู้เรียนมคี วามภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ เหน็ คุณค่าของความเปน็ ไทย มีส่วนร่วมในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรม
ประเพณี และภมู ปิ ัญญาไทย
- ผู้เรียนสามารถอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย
- ผู้เรียนมสี ขุ ภาวะทางร่างกายและจติ สาธารณะตามเปา้ หมายทสี่ ถานศึกษากาหนด
26
ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ พิจารณา
ยอดเย่ียม 1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรียน
- ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคานวณสงู กวา่ เป้าหมายที่
สถานศึกษากาหนด
- ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาสูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
กาหนด
- ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น โดยใช้เหตผุ ลประกอบการตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาได้
- ผู้เรยี นมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีการนาไปใช้และเผยแพร่
- ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง และ
สงั คมในด้านการเรยี นรู้ การสือ่ สาร การทางาน อย่างสร้างสรรคแ์ ละมคี ุณธรรม
- ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงข้ึนและการ
ทางานหรอื งานอาชพี
1.2 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
- ผเู้ รยี นมคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มทด่ี ีสูงกว่าเปา้ หมายทีส่ ถานศกึ ษากาหนดเป็นแบบอย่างได้
- ผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถ่ิน เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
วฒั นธรรม ประเพณแี ละภมู ปิ ัญญาไทย
- ผเู้ รยี นสามารถอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย
- ผ้เู รยี นมสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคมสูงกวา่ เป้าหมายท่สี ถานศึกษากาหนด
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
2.1 มีเป้าหมายวสิ ัยทัศนแ์ ละพันธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก
กลมุ่ เป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวิชาชพี
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมที่เอื้อต่อการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจดั การเรียนรู้
คาอธิบาย
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
เป็นการจัดระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา มีการกาหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกจิ
อย่างชัดเจน สามารถดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาในทุก
กลุ่มเป้าหมาย จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ดาเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ
27
เชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้
รวมทง้ั จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้อื ต่อการจดั การเรียนรู้
2.1 มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพนั ธกิจท่ีสถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
สถานศึกษากาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาล
และของต้นสังกัดรวมท้งั ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของสงั คม
2.2 มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา
สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทั้งในส่วนการวางแผน
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนาแผนไปปฏิบัติเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบ
ประเมนิ ผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องทุก
ฝ่ายมสี ว่ นรว่ มการวางแผน ปรบั ปรงุ และพัฒนา และรว่ มรับผิดชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา
2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย
สถานศึกษาบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรท่ี
เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เช่ือมโยงวิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย หมายรวมถึงการจัดการ
เรยี นการสอนของกลมุ่ ทีเ่ รียนแบบควบรวมหรอื กลมุ่ ท่ีเรียนรว่ มด้วย
2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ
สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ และจัดให้มีชุมชน
การเรียนรู้ทางวชิ าชพี มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรขู้ องผู้เรยี น
2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ
สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทาง
สังคม ท่เี ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรูแ้ ละมีความปลอดภัย
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้
สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใช้ในการบริหาร
จดั การและการจดั การเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
การใหร้ ะดบั คุณภาพ
ระดับคุณภาพ ประเดน็ พิจารณา
- เปา้ หมายวิสัยทศั น์และพันธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากาหนดไมช่ ดั เจน
กาลังพัฒนา - มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาแต่ไม่ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษา
ปานกลาง - เป้าหมายวิสัยทศั นแ์ ละพนั ธกิจท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน เป็นไปได้ในการปฏบิ ัติ
28
ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
ดี - มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษาทส่ี ่งผลตอ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา
ดเี ลศิ - เป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ
ยอดเยี่ยม สถานศึกษา เปน็ ไปได้ในการปฏิบตั ิ
- มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
- ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเปา้ หมาย
- พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ
- จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอื้อต่อการจดั การเรียนรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ
- จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู
- มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศกึ ษา ความตอ้ งการชุมชน นโยบายรัฐบาล แผนการศกึ ษาแห่งชาตเิ ป็นไปไดใ้ นการปฏบิ ัติ
- มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยความรว่ มมือของผ้เู กย่ี วข้องทกุ ฝา่ ย
- ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย เช่ือมโยงกบั ชีวิตจรงิ
- พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและ
สถานศึกษา
- จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออื้ ต่อการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพและมีความ
ปลอดภัย
- จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่
เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา
- เป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของ
สถานศึกษา ความต้องการชุมชน นโยบายรฐั บาล แผนการศึกษาแห่งชาติเปน็ ไปได้ในการปฏบิ ตั ิ
ทันตอ่ การเปลีย่ นแปลง
- มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตาม
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา โดยความรว่ มมือของผเู้ ก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ย มีการนาข้อมูลมาใช้
ในการปรับปรุง พฒั นางานอย่างต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างได้
28
- ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก
กลุ่มเปา้ หมาย เช่ือมโยงกบั ชีวติ จริง และเปน็ แบบอย่างได้
- พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและ
สถานศึกษา และจดั ใหม้ ชี ุมชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพเพ่ือพฒั นางาน
- จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออื้ ต่อการจดั การเรยี นรู้อย่างมคี ุณภาพและมีความ
ปลอดภัย
- จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ท่ี
เหมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั
3.1 จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริง และสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้
3.2 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้
3.3 มกี ารบริหารจดั การชัน้ เรยี นเชิงบวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผู้เรียน
3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้
คาอธบิ าย
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั
เปน็ กระบวนการจดั การเรียนการสอนตามมาตรฐานและตวั ชวี้ ดั ของหลักสูตรสถานศึกษา สรา้ งโอกาส
ให้ผูเ้ รียนมสี ว่ นร่วมในการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง มีการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชิงบวก สร้าง
ปฏิสัมพันธ์ท่ีดีครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคลดาเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนาผล
มาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาผลท่ีได้มาให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง
การจดั การเรียนรู้
3.1 จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง มี
รูปแบบการจดั การเรียนร้เู ฉพาะสาหรับผู้ท่ีมคี วามจาเปน็ และต้องการความชว่ ยเหลอื พิเศษ ผ้เู รียนไดร้ บั การฝึก
ทักษะแสดงออก แสดงความคดิ เห็น สรุปองค์ความรนู้ าเสนอผลงานและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้
3.2 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้
มีการใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ รวมทงั้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ มาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้
โดยสร้างโอกาสให้ผเู้ รียนได้แสวงหาความรูด้ ้วยตนเองจากสื่อท่หี ลากหลาย
3.3 มีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก
ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการช้ันเรียน โดยเน้นการการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้เด็กรักครูครูรักเด็ก
และเดก็ รกั เดก็ เด็กรกั ท่จี ะเรียนรู้สามารถเรียนรูร้ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข
29
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี นอย่างเปน็ ระบบและนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น
มีการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจดั การเรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบ มขี ้นั ตอนโดยใชเ้ ครื่องมือ และ
วิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน เพื่อ
นาไปใชพ้ ฒั นาการเรียนรู้
3.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลับเพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้
ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์รวมท้ังให้ข้อมูลป้อนกลับ เพ่ือ
นาไปใช้ในการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การเรยี นรู้
การใหร้ ะดับคุณภาพ
ระดบั คุณภาพ ประเดน็ พจิ ารณา
- จัดการเรียนรู้ท่ไี ม่เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้ใช้กระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริง
กาลังพฒั นา - ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรยี นร้ทู ไี่ ม่เอ้อื ต่อการเรยี นรู้
- ตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอยา่ งไมเ่ ปน็ ระบบ
- จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ ริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตวั ชว้ี ัดของหลักสูตร
ปานกลาง สถานศึกษาและสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชีวติ
- ใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู ่เี ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้
- ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนาผลมาพฒั นาผเู้ รียน
- จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรยี นรู้ตัวชีว้ ัดของหลักสูตร
สถานศกึ ษาและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนินชวี ิต
ดี - ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ี่เอ้อื ต่อการเรียนรู้
- ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผูเ้ รียน
- มีการบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก
- มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะทอ้ นกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้
- จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชีว้ ัดของหลกั สูตร
สถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนาไป
ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ได้
- ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้รวมท้ังภูมิปัญญาทอ้ งถน่ิ ทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้
ดีเลศิ - ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัด และ
ประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และนาผล
มาพัฒนาผเู้ รยี น
- มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชิงบวก เด็กรกั ทจ่ี ะเรียนรู้และเรียนรรู้ ่วมกันอย่างมคี วามสุข
- มีชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหวา่ งครเู พอื่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้
30
ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา
ยอดเยี่ยม - จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวช้วี ัดของหลักสูตร
สถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนาไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ไดม้ ีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้และมกี ารเผยแพร่
- ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้รวมท้ังภูมิปญั ญาท้องถ่ินที่เอ้ือต่อการเรียนรู้โดย
สร้างโอกาสให้ผ้เู รยี นได้แสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง
- ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัด และ
ประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน และนาผล
มาพัฒนาผ้เู รยี น
- มกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชงิ บวก เดก็ รกั ทจี่ ะเรยี นรแู้ ละเรียนรู้รว่ มกันอย่างมีความสุข
- มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครูและผู้เก่ียวข้องเพื่อพัฒนา และปรับปรุงการ
จัดการเรียนรู้ครูและผู้เก่ียวข้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ
ปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้
จ ะ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ป ฐ ม วั ย แ ล ะ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ต า ม ท่ี
กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศให้โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินได้นาไปเป็นเป้าหมายในการ
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้เป็นเอกภาพ มาตรฐานดังกล่าวมีความสอดคล้องกับมาตรฐานชาติ และ
มาตรฐานกระทรวงศกึ ษาธิการ
ท้ังน้ีสถานศึกษาในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดต้องการเพิ่มมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ เพื่อให้สอดคล้องกับ
บริบทของสถานศึกษา หรือท้องถิ่นนั้น ๆ ก็สามารถดาเนินการได้แต่ท้ังนี้จะต้องไม่น้อยกว่ามาตรฐานที่
กระทรวงมหาดไทยประกาศใช้
สรปุ ความหมายของการประกนั คุณภาพการศกึ ษาและมาตรฐานการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา (QUALITY ASSURANCE) หมายถึง การทากิจกรรม หรือ การ
ปฏิบัติภารกิจหลักอย่างมีระบบตามแบบแผนที่กาหนดไว้ โดยมีการควบคุมคุณภาพ (QUALITY CONTROL)
การตรวจสอบคุณภาพ (QUALITY AUDITING) และการประเมนิ คณุ ภาพ (QUALITTY ASSESSMENT) จนทา
ใหเ้ กิดความมัน่ ใจในคุณภาพและมาตรฐานของดชั นี ช้ีวดั ระบบและกระบวนการผลิต ผลผลิตและผลลัพธ์ ของ
การจัดการศึกษา ประกอบด้วยการ ประกันคุณภาพภายใน และการประกันคณุ ภาพภายนอก
มาตรฐานการศึกษา หมายถึง ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์และมาตรฐานท่ี ต้องการ
ให้เกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพ่ือใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการส่งเสริม และกากับดูแล การ
ตรวจสอบ การประเมินผล และการประกนั คุณภาพทางการศึกษา
31
อ้างอิง
https://eduservice.yru.ac.th/newweb/files/mua/1651-file.pdf
https://www.kkzone1 . go.th/administrator-control/data/0 0 3 / 2 0 - 0 3 - 2 0 1 8 - 1 5 - 4 5 -
27_838365262.pdf
http://localschool.info/download/qamanual.pdf
https://www.eg.mahidol.ac.th/qa/index.php?option=com_content&view=article&id=70