The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เศรษฐกิจ-ระหว่าง-ประเทศ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pudsaya Tongban, 2020-02-26 00:33:01

เศรษฐกิจ-ระหว่าง-ประเทศ (1)

เศรษฐกิจ-ระหว่าง-ประเทศ (1)

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี 6

เศรษฐกิจ
ระหวา่ ง
ประเทศ

คาํ นํา ก

ศูนยพ์ ฒั นาการค้าและธรุ กิจไทยในประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซยี น (AEC

Business Support Center) หรอื ศูนยA์ EC ตังขนึ เพอื ให้
ความชว่ ยเหลือ เพอื เตรยี ม

ความพรอ้ มให้กับผูป้ ระกอบการไทย รองรบั การเขา้ รว่ ม
AEC ในป 2558

ศูนยA์ EC ณ กรงุ พนมเปญ ประเทศกัมพูชา มภี ารกิจ ดังนี
1) เปนแหล่งรวบ รวมขอ้ มูล จัดท าขอ้ มูลเชงิ ลึก กระจาย

ขอ้ มูล
ให้บรกิ ารขอ้ มูลเชงิ ลึกเพอื ให้ผูป้ ระกอบการสามารถใช้

ประกอบการ
ตัดสนิ ใจ

2) การสรา้ งความตืนตัว กระจายขอ้ มูล สง่ เสรมิ ให้มกี ารใช้
และขยาย

การใชส้ ทิ ธปิ ระโยชน์
3) เปนผูป้ ระสานงานนัดหมายกับภาครฐั และเอกชน เพอื

สอบถามขอ้ มูล
ทีสนใจและพบปะเจรจาการค้า
4) การให้ค าแนะน าเรอื งพนั ธมติ ร หรอื คู่ธรุ กิจ
5) การอ านวยความสะดวกด้านสถานทีเพอื ใชท้ างาน การ

จัดประชมุ
การให้ความชว่ ยเหลือทุกวถิ ีทางแก่ผูป้ ระกอบการ
6) การท าหน้าทีพเี ลียงให้ค าปรกึ ษาหากประสบปญหา

นางสาว ปษุ ยา ทองแบน
นางสาว พิลยั วรรณ เทยี มจนั ทร์

สารบญั ข

หน้า

คาํ นํา ก
สารบญั ข

การคา้ และการลงทนุ 1
ระหว่างประเทศ 2
3
การลงทนุ ประเทศ
4-5
การลงทุนระหวา่ ง
ประเทศ

องคก์ ารความรว่ มมอื
ทางเศรษฐกิจ
ระหวา่ งประเทศ

1.การค้าและการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ 1

1.1การค้าระหวา่ งประเทศ
การค้าระหวา่ งประเทศ
เปนการนาํ สนิ ค้าและบรกิ ารไป
แลกเปลียนกับอีกประเทศหนงึ
เนอื งจาก
ความแตกต่างกับทาง
ทรพั ยากรและความสามารถใน
การผลิต
1.)ประโยชน์ของการค้าระหวา่ งประเทศ

การทีบุคคลต่างๆ หรอื ประเทศ
ต่างๆมคี วามชาํ นาญในการผลิต

สนิ ค้า
ตัวอยา่ งเชน่ ประเทศญีปุน ถึงแม้
จะไมม่ ที รพั ยากรธรรมชาติอุดม
สมบูรณ์มากนักเมอื เปรยี บเทียบ
กับประเทศไทยและหลายประเทศ
แต่อาศัยความชาํ นาญในการผลิต

สนิ ค้าทีตนถนัด เชน่ รถยนต์
เครอื งใชไ้ ฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์

เปนต้น

2.)นโยบายการค้าระหวา่ งประเทศ

การติดต่อกค้าขายกับต่างประเทศโดยทัวไปจะมกี ฎ ระเบยี บ
หรอื ขอ้ จาํ กัดทีประเทศต่างๆ สามารถจาํ แนกเปน 2 แบบ คือ

2.1 นโยบายการค้าเสรี (Free Trade Pplicy) 2
เปนนโบายทีเปดใหเ้ อกชนมกี ารติดต่อค้าขายได้โดยเสรี ไมม่ อี ุปสงค์ใดๆ

2.2 นโยบายค้มุ ครอง(Protection Policy)
เปนนโบายทีรฐั เขา้ มาแทรกแซง

1.2 การลงทนุ ประเทศ

การลงทนุ มคี วามสาํ คัญต่อการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ
สาํ หรบั ประเทศกําลังพฒั นา เนอื งจากมรี ายไดต้ กตําทําใหม้ กี าร

ออมตํา การสะสมทนุ จงึ มนี อ้ ย เปนอุปสรรคต่อการพฒั นา

1.การใหก้ ้ยู มื และการลงทนุ ในหลักทรพั ย์ โดยทัวไปปจจยั หรอื แรง
จูงใจทีทําใหผ็ ตู้ ัดสนิ ใจลงทนุ

๒) การลงทนุ โดยตรงเมอื กล่าวถึงการลงทนุ โดยตรงจากต่างประเทศ
โดยทัวไปจะหมายถึงการไหลของทนุ ระหวา่ งประเทศ

๒. ๑ เงินตราต่างประเทศและการแลกเปลียน

การติดต่อค้าขายระหวา่ งประเทศ เชน่ การทีไทยซอื เครอื งจกั รจากญปี ุน ผู้
ซอื มกั จะไมน่ าํ เงินตราสกลุ ของตนไปชาํ ระสนิ ค้า เพราะผชู้ ายมกั ไมร่ บั

3

สาํ หรบั อัตราแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศ จะหมายถึง ราคาของเงินตราสกลุ หนงึ เมอื
เทียบกับอีกสกลุ หนงึ ตัวอยา่ งเชน่ เงินบาทเทียบกับดอลลารส์ หรฐั เงินเยนเทียบกับเงิน

ปอนดห์ รอื เงินบาทเทียบกับเงินยูโร เปนต้น

ลงทุนระหวา่ งประเทศ

ผลทีเกิด      
 1. ประเทศกาํ ลงั พัฒนา ได้เรยนรู้วทยาการ เทคโนโลยีใหม่ ๆ        
2. ประเทศกาํ ลงั พฒั นา มีการว่าจา้ งงานมากขนึ       
 3. เกิดการเอาเปรยบประเทศทีรับการลงทนุ       
 4. อาจกอ่ ความขดั แยง้ ระหว่างประเทศได้

การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ   มีลกั ษณะการรวมกล่มุ 6 ประเภทคือ

1. เขตลดพิกดั อตั ราภาษีศุลกากร  ลดหยอ่ นภาษศี ุลกากร
ระหวา่ งกัน  

 2. เขตการคา้ เสร ยกเลกิ โควตานําเขา้ ระหวา่ งสมาชิกและ
ยกเลิกกําแพงภาษี

4

3. สหภาศุลกากร  ยกเลิกตามเขตการ
ค้าเสรและให้กาํ หนดอตั ราภาษศี ุลกากร
สําหรับสนิ คา้ นําเขา้ จากประเทศที 3 ในอัตรา
เดยี วกัน
     4. ตลาดร่วม  สนิ คา้ และปจจัยการผลิต
เคลือนไหวโยเสร

 5. สหภาพทางเศรษฐกิจ มกี ารประสาน
นโยบายทางเศรษฐกิจและการเงิน    
    6. สหภาพเศรษฐกิจแบบสมบรู ณ์
กําหนดนโยบายการเมือง สังคมแบบเดยี วกัน

องคก์ ารความร่วมมือทางเศรษฐกจิ
ระหว่างประเทศ

สหภาพยุโรป (Economic Union)   
   สมาชกิ  25 ประเทศ คือ เบลเยียม
ฝรังเศส เยอรมนั อติ าลี ลักแซมเบอร์ก เน
เธอแลนด์  สหราชอาณาจกั ร เดนมาร์ก
สาธารณรัฐไอร์แลนด์ กรซ สเปน โปรตุเกส
 ไซปรัส  เชค   สโลวาเกีย  สโลวเนยี สวเดน
เอสโทเนยี ลัตเวย ลิทวั เนีย มอลต้า
ออสเตรย  ฟนแลนด์ โปแลนด์ ฮังการ จดุ
ประสงคก์ ารก่อตัง เพอื พัฒนาและยก
มาตรฐานการครองชีพ ยกขอ้ จํากดั ทางการ
ค้าในกลุ่มสมาชิกและปองกันประเทศนอก
กลมุ่ ประเทศสมาชิกสหภาพนําเงินยโู รมาใช้
1 ม.ค. 2002 มีสมาชกิ ทรี ่วมใชเ้ งิน ยูโร 12
ประเทศ คอื เบลเยียม ฝรังเศส เยอรมนั
อติ าลี ลักแซมเบอร์ก เนเธอแลนด ์
ไอร์แลนด์ กรซ สเปน โปรตุเกส ออสเตรย 

ฟนแลนด์ โปตุเกส

สมาคมประชาชาตเิ อเซียตะวนั ออกเฉียง 5

ใต้ (Association Southeast Asean

Nations)      ประกอบดว้ ย อนิ โดนเี ซีย

มาเลเซยี ไทย ฟลปิ นส์ สงิ คโปร์ บรูไน เวยดนาม

พมา่ และลาว จดุ ประสงคเ์ พือการร่วมมือกันด้าน

สังคม เศรษฐกจิ วฒั นธรรม มกี ารคดั เลือก

อุตสาหกรรมตามความถนดั และวตั ถุดิบทปี ระเทศ

สมาชกิ มกี ารประกาศเขตการคา้ เสรอาเซยี น

(AFTA) เพอื ลดหย่อนภาษใี ห้เหลอื  0-5%

กลมุ่ ประเทศผสู้ ่งออก

นาํ มนั  (OPEC)     ก่อตังเมอื

พ.ศ. 2502 ประกอบด้วย อิหร่าน คูเวต

ซาอดุ อิ าระเบยี กาตาร์ ลิเบีย สหรัฐอมิ ิ

เรต แอลจเี รย กาบอง เวเนซเู อลา

เอกวาดอร์ อนิ โดนเี ซีย อริ ัก โอมาน

วตั ถปุ ระสงค์เพอื สร้างอาํ นาจการต่อรอง

ราคานาํ มัน โดยการกาํ หนดราคาและ

ปรมาณการผลติ

ธนาคารเพอื การบรู ณะและพันฒ
นา (IBRD)      หรอธนาคารโลก
เปนแหลง่ ให้กเู้ งนิ สาํ หรับประเทศต่าง



กองทนุ การเงินระหวา่ งประเทศ (IMF)      ตังขนึ
เพือสร้างความร่วมมอื ในดา้ นการเงนิ ระหวา่ งประเทศ

รักษาเสถียรภาพของอัตราแลกเปลยี นเงนิ ตรา
ระหวา่ งประเทศ และแก้ปญหาการขาด
ดุลการชาํ ระเงนิ แกป่ ระเทศสมาชกิ        

6.  องคก์ ารค้าโลก  (WTO) มีพฒั นาการมาจากข้อ
ตกลงวา่ ด้วยภาษีศุลกากรและการค้า แก

ตต ์ General Agreement on Tariffs and
Trade : GATT     ตังเมอื 1 ม.ค. 2538 

สํานกั งานอยทู่ ี นครเจนวี า ประเทศสวตเซอร์แลนด ์  
ปจจบุ นั 2548 มสี มาชิก 148 ประเทศ  มี

วตั ถุประสงค์ เปนเวทเี จรจาเพอื ลดอุปสรรค์ และข้อ
กดี กันทางการค้า  จดั ทํากฏระเบียบการค้าระหวา่ ง
ประเทศ  ยตุ ิขอ้ พพิ าททางการคา้ ระหวา่ งสมาชิก

6

บรรณานุกรรม

https://sites.
google.com/s
ite/sersthsas
trbyboussab
a2560/neuxh

a-bth-
reiyn/bth-

thi-6-
sersthkic-
rahwang-

prathes


Click to View FlipBook Version