The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

A3F1D80C-C80B-4BD9-B260-555886A4955E

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Passara Srichanrat, 2022-12-01 09:04:47

A3F1D80C-C80B-4BD9-B260-555886A4955E

งานแม็กกาซีน
เรื่อง



ส่วนประกอบของ
ดอกทองอุไร



จัดทำโดย
นางสาวภัศรา ศรีจันทร์รัตน์ ชั้น ม.5 ห้อง 336
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ เลขที่ 17

เสนอ
อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรลักษ์
ครูชำนาญ กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประกอบรายวิชาชีววิทยา4(ว30244)
ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2565




























งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 1 จาก 13

คำนำ

แม็กกาซีนนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคการเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียน-

เตรียมอุดมศึกษา หัวข้อ การสืบพันธ์ุและการเจริญเติบโตของพืชดอก

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประกอบของดอกไม้ และนำความรู้ที่ได้
จากการในห้องเรียน มาปฏิบัติ ทดลอง นำมาศึกษาส่วนประกอบและ


สร้างเป็นชิ้นงานเพื่ อเป็นประโยชน์ต่อตัวนักเรียนต่อไป



โดยแม็กกาซีนฉบับนี้ จะมีการบรรยายข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทาง

พฤกษศาสตร์ โครงสร้างของดอก สันฐานภายนอก กายวิภาคภายใน


และวีดีทัศน์อธิบายโครงสร้างดอกของต้นทองอุไร



ทั้งนี้ เนื้อหาในส่วนต่างๆได้มีการศึกษามาจากหนังสือแบบเรียน

อินเตอร์เน็ต และ อาจารย์ประจำวิชา ขอบพระคุณอาจารย์เป็นอย่างสูง

ที่กรุณาให้คำแนะนำ แก้ไข ข้อเสนอแนะตลอดการทำงาน ผู้จัดทำหวังว่า
แม็กกาซีนฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ผู้ที่สนใจและผู้นำไปใช้ในภาย


ภาคหน้าให้เกิดผลที่หวังไว้

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 2 จาก 13

สารบัญ 1
2
ข้อมูลทั่วไปของต้นทองอุไร 3
ข้อมูลเบื้องโครงสร้างดอกทองอุไร 4
ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของดอกทองอุไร 6
ภาพประกอบข้อมูลพฤกษศาสตร์ของดอกทองอุไร 8
ภาพประกอบโครงสร้างของดอกทองอุไร 10
บรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 3 จาก 13

ข้อมูลทั่วไป

ของต้นทองอุไร

ชื่อทั่วไป : Yellow elder, Yellow bells,

Trumpet vine
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tecoma stans (L.)

Kunth
ประเภท : พุ่มไม้

แหล่งที่พบ : ถิ่นกำเนิด อเมริกาเขตร้อน หมู่เกาะอินดีสตะวันตก
ฤดูกาลออกดอก : ตลอดปี
การขยายพันธุ์ : เพาะเมล็ด และ ตอนกิ่ง
การใช้ประโยชน์ : เป็นไม้ประดับ ประโยชน์ทางเภสัช พบข้อมูลใน

ต่างประเทศว่าใช้ในการรักษาโรคเบาหวาน โรคเกี่ยวกับปัญหาทาง

เดินอาหาร

ลักษณะทั่วไป ลำต้น สูง 2-5 ม.
ใบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงตรงข้าม ใบย่อยมี 2-5 คู่ รูปรีแกม

รูปไข่ โคนใบและปลายใบแหลม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย
ดอก ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติด

กันเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง เชื่อมติดกัน เป็นรูประฆัง
ผล ผลเป็นฝัก รูปทรงกระบอก แตกเป็นสองซีก กว้าง 0.7-0.8 ซม. ยาว

12-16 ซม.
เมล็ด มีจำนวนมาก

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 4 จาก 13

โครงสร้างของ
ดอกทองอุไร

ลักษณะของดอก ลักษณะเพศของดอก
-ดอกช่อแบบดอกกระจะ เกสรเพศผู้ มีจำนวน 4 อัน มี
สองคู่ยาวไม่เท่ากัน เกสรเพศ
ดอกสมมาตร เมีย มีจำนวน 1 อัน อยู่เหนือ
เดอกสมมาตรตามรัศมี วงกลีบ
เส้นผ่าศูนย์กลางดอกย่อย
2-3 ซม. ดอกย่อยประกอบด้วย การติดของส่วนต่างๆ
กลีบเลี้ยงเชื่อมกันปลายแยก บนฐานรองดอก
5 แฉก ปลายแหลม กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยกเป็น
5 แฉก โคนกลีบดอกเชื่อมติดกัน
เป็นหลอด ยาว 3-4 ซม. ปลาย
แยกเป็น 5 กลีบ คล้ายรูปแตร

ประเภทของรังไข่
half-superior ovary
รังไข่อยู่ระหว่างฐานรองดอกและส่วน
ประกอบอื่นๆของดอก


งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 5 จาก 13

ข้อมูลทาง
พฤกษศาสตร์

ของดอกทองอุไร

กลีบดอก กลีบเลี้ยง
กลีบดอกโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด
ดอกมีกลีบเลี้ยงสีเขียวเป็นรูป

ปลายบานแยกเป็นกลีบดอก 5 กลีบ กระดิ่ง ปลายแยกเป็น 5 แฉก

กลีบเป็นรูประฆังสีเหลืองสด

เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย
มีจำนวน 4 อัน มีสองคู่
มีจำนวน 1 อัน อยู่เหนือวงกลีบ
ยาวไม่เท่ากัน

ฐานรองดอก

รองรับส่วนต่าง ๆ ของดอก เชื่อมต่อ

ออกมาจากปลายก้านดอก ฐานรองดอก


ของดอกทองอุไร จะมี

กลีบเลี้ยงหุ้มไว้อีกชั้นหนึ่ง

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 6 จาก 13

ภาพประกอบสัญฐานภายนอก

ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์

ของดอกทองอุไร

ก้านดอก (Peduncle) ก้านดอกย่อย (Peduncel)

กลีบเลี้ยง (Seal)

ฐานรองดอก (Receptacle)

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 7 จาก 13

ภาพประกอบกายวิภาคภายใน

ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์

ของดอกทองอุไร

กลีบดอก (Petal)

หลอดกลีบดอก(CorollaTube)

ก้านเกสรเพศเมีย (style) ยอดเกสรเพศเมีย (Stigma)
เกสรเพศเมีย (Pistil) รังไข่ (Ovary)

อบัเรณู (Anther) เกสรเพศผู้ (Stamen)
ก้านเกสรเพศผู้ (Filament)

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 8 จาก 13

ภาพประกอบสัญฐานภายนอก

โครงสร้าง

ของดอกทองอุไร

กลีบดอก หลอดกลีบดอก
(Petal) (CorollaTube)

กลีบเลี้ยง (Seal) ฐานรองดอก

ก้านดอกย่อย
(Receptacle)
(Peduncel)
ก้านดอก (Peduncle)

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 9 จาก 13

ภาพประกอบสัญฐานภายใน

โครงสร้าง

ของดอกทองอุไร

กลีบดอก หลอดกลีบดอก

(Petal) (CorollaTube)

เกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้
(Pistill)
(Staneb) อับเรณู
ก้านเกส
รเพศเมีย (Abther)
(Style) ก้านเกสรเพศผู้
รั
งไข่ (Filanebt)

(Ocary)


ฐานรองดอก


เกสรเพศเมีย (Receptacle)
(Pistilk)

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 10 จาก 13

บรรณานุกรม

ข้อมูลและรูปภาพ

1. https://skm.ssru.ac.th/news/view/wut065
2. http://www.rspg.or.th/plants_data/kp_bot_garden/kpb_

04-1.htm
3. http://laemglad.go.th/news/doc_download/a_300519_15

4605.pdf
4. https://www.royalparkrajapruek.org/Plants/view?


id=1370

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 11 จาก 13

ภาคผนวก

คลิปวิดีโอประกอบการศึกษา
โครงสร้างดอกดาวเรือง

https://youtu.be/MmqvZX7lP00

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 12 จาก 13

ภาคผนวก

รูปภาพการศึกษาโครงสร้างดอกทองอุไร

การศึกษา

โครงสร้างของ

ดอกดาวเรือง

การผ่าโครงสร้าง
ดอกทองอุไร

งานแม็กกาซีน เรื่อง หน้า 13 จาก 13


Click to View FlipBook Version