The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการนำเสนอ Best Practice 62 นางทิพย์วรรณ ใจสมุทร ครู โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บำรุง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by enjoy_kaka, 2019-12-23 12:24:50

เอกสารประกอบการนำเสนอ Best Practice 62 นางทิพย์วรรณ ใจสมุทร ครู โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บำรุง

เอกสารประกอบการนำเสนอ Best Practice 62 นางทิพย์วรรณ ใจสมุทร ครู โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บำรุง

การพฒั นาการจดั การเรียนรู้วชิ าภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ PLC เพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของโรงเรียนประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ

1

การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้วชิ าภาษาอังกฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของโรงเรยี นประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ

คานา

ตามที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ได้จัดประกวดคัดเลือกผลงานวิจัย/นวัตกรรมการ
ปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) เพ่ือเป็นกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุน การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือพัฒนา
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาโดยให้ครู ผู้บริหารได้คิดค้นส่ิงใหม่ๆ วิธีการ
ใหม่ๆ ในการจัดการเรยี นรนู้ ้นั

ข้าพเจา้ นางทิพย์วรรณ ใจสมทุ ร ตาแหนง่ ครู อนั ดับ คศ.1 โรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ อาเภอถา้ พรรณ
รา จังหวดั นครศรีธรรมราช จึงขอเสนอการปฏบิ ัติที่เป็นเลศิ (Best Practice) ประเภทครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาตา่ งประเทศ เร่ือง การพัฒนาการจัดการเรียนร้วู ิชาภาษาองั กฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพือ่ ยกระดบั
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนโรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารุง (TheDevelopment of Prasatratbumrung
Student’s Learning Achievement in English Subject by PLC

เอกสารเลม่ นจ้ี ดั ทาขึน้ เพ่อื ประกอบการพจิ ารณาคดั เลอื กผลงานวจิ ัย/นวตั กรรมการปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลิศ (Best
Practice) ซึ่งประกอบด้วย ความสาคญั ของผลงาน แนวทางการแก้ปัญหาและพฒั นา จดุ ประสงค์และเป้าหมาย
กระบวนการผลติ หรือข้ันดาตอนการดาเนินงาน การดาเนินงานตามกจิ กรรม ประสิทธิภาพของการดาเนนิ งาน การใช้
ทรพั ยากร ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธ/์ิ ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ ปจั จยั ความสาเรจ็ บทเรียนทไ่ี ด้รบั และเอกสารอ้างอิง
ตา่ งๆ ในภาคผนวกที่จะช่วยการพิจารณาของกรรมการต่อไป หากมขี ้อผดิ พลาดประการใด ผจู้ ัดทาขออภัยมา ณ
โอกาสนี้

( นางทพิ ยว์ รรณ ใจสมุทร )
ตาแหน่งครู อันดบั คศ.1
โรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

2

การพฒั นาการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ PLC เพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของโรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง

สารบญั

เรื่อง หนา้

คานา 1
สารบัญ 2
ความสาคัญของผลงาน 2
แนวทางการแกป้ ัญหาและพัฒนา 3
จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย 3
กระบวนการผลติ หรือข้ันดาตอนการดาเนินงาน 4
การดาเนินงานตามกิจกรรม 5
ประสทิ ธภิ าพของการดาเนินงาน 5
การใชท้ รัพยากร 6
ผลการดาเนินการ/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ 6
ปจั จยั ความสาเร็จ 6
บทเรยี นท่ไี ด้รับ 8
การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรบั /รางวัลทไี่ ด้รับ
ภาคผนวก

3

การพฒั นาการจดั การเรียนรู้วชิ าภาษาองั กฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารุง

แบบเสนอเพือ่ รับรางวลั วิธกี ารปฏบิ ัตทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice) ระดบั เขตพนื้ ท่ี

ปีการศกึ ษา 2562 สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 12

ช่อื ผู้ส่งประกวด นางทพิ ย์วรรณ ใจสมุทร

ประเภทผลงาน การจัดการเรยี นรู้

ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

โรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารุง อาเภอถ้าพรรณรา จงั หวัดนครศรีธรรมราช

ชอ่ื ผลงาน การพฒั นาการจดั การเรียนรวู้ ิชาภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ PLC เพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของนักเรียนโรงเรยี นประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ
(The Development of Prasatratbumrung Student’s Learning Achievement in
English Subject by PLC )

1. ความสาคัญของผลงาน
1.1 ความสาคญั สภาพปญั หา
กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดหลกั การของแผนพัฒนาการของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-

2564) วา่ การท่จี ะพัฒนาประเทศไปสู่ความม่ันคง มงั่ คั่ง และย่ังยนื ใหเ้ กดิ ข้นึ ในอนาคตน้ัน จะต้องให้ความสาคัญกับ
การเสริมสร้างทนุ ของประเทศทม่ี ีอยู่ใหเ้ ข้มแข็ง และมีพลงั เพยี งพอในการขบั เคล่อื นกระบวนการพัฒนาท้ังในระยะ
กลางและระยะยาว โดยเฉพาะการ “การพฒั นาคน” ให้มกี ารเตรยี มความพรอ้ มรบั การเปล่ยี นแปลงของโลกใน
ศตวรรษที่ 21 ซง่ึ มสี ง่ิ สาคัญท่ีสุด คอื ทักษะการเรยี นรแู้ ละการเสรมิ สรา้ งปัจจัยแวดล้อมทเี่ อื้อตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพ
ของคน (กระทรวงศึกษาธิการ , 2559 )

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC (Professional Learning Community)เป็นกระบวนการสร้างการ
เปลย่ี นแปลงโดยเรยี นรู้จากการปฏบิ ัติงานของกลุ่มบคุ คลที่มารวมตัวกนั เพ่อื ทางานร่วมกันและสนับสนุนซ่ึงกันและกัน
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนร่วมกัน โดยร่วมกันวางเป้าหมายการเรียนรู้ของ ผู้เรียน และ
ตรวจสอบ สะทอ้ นผลการปฏิบตั ิงานท้ังในสว่ นบคุ คลและผลท่ีเกิดขึ้นโดยรวมผ่านกระบวนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การ
วิพากษ์วิจารณ์ การทางานร่วมกัน การร่วมมือรวมพลัง โดยมุ่งเน้นและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นองค์รวม
โดยมีการดาเนินการอยา่ งนอ้ ย 5 ประการ ดังนี้ 1) มีเป้าหมายร่วมกนั ในการจัดการเรียนรู้/การพัฒนาผู้เรียนให้พัฒนา
อย่างเต็มศักยภาพ 2) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากหน้างาน/สถานการณ์จริงของช้ันเรียน 3) ทุกฝ่ายเกี่ยวข้องร่วม
เรียนรู้และรวมพลัง/หนุนเสริมให้เกิดการสร้างความเปล่ียนแปลงตามเป้าหมาย 4) มีการวิพากย์ สะท้อนผลการ
ทางานพัฒนาผู้เรียน และ 5) มีการสร้าง HOPE ให้ทีมงานอันประกอบด้วย (1) honesty & humanity เป็นการยึด
ข้อมลู จริงที่เกิดข้ึนและให้การเคารพกันอย่างจริงใจ (2) option & openness เป็นการเลือกสรรสิ่งที่ดีที่สุดให้ผู้เรียน
และพร้อมเปิดเผย/เปิดใจเรียนรู้จากผู้อื่น (3) patience & persistence เป็นการพัฒนาความอดทนและความมุ่งมั่น
ทุ่มเทพยายยามจนเกิดผลชัดเจน (4) efficacy & enthusiasm เป็นการสร้างความเช่ือมั่นในผลของวิธีการจัดการ
เรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนว่าจะทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ และกระตือรือร้นท่ีจะพัฒนาตนเองอย่างเต็มที่ (เรวดี ชัยเชาว
รัตน์,2558)

โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุงเป็นโรงเรียนขนาดเล็ก เมื่อศึกษาถึงบริบทสภาพแวดล้อม พบว่า นักเรียน
สว่ นใหญค่ รอบครวั หย่ารา้ ง แตกแยก อาศัยอยกู่ บั ญาติ มฐี านะยากจน นักเรียนขาดเรียนบ่อยเพื่อไปช่วยผู้ปกครองหา
รายได้ ซ่ึงส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร จึงส่งผลให้การมาเรียนของนักเรียนไม่ต่อเน่ือง เมื่อพิจารณาผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศและผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O – Net) ของนักเรียน
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารุง พบว่าคะแนนเฉล่ียกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศในปีการศึกษา 2559

4

การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้วชิ าภาษาอังกฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพ่อื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของโรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ

มีคะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 28.32 ปีการศกึ ษา 2560 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 25.60 ซ่ึงมีคะแนนเฉลี่ยลดลง (โรงเรียนประสาธน์
ราษฎร์บารงุ : 2560 : 18) ซ่ึงเปน็ เร่ืองที่ต้องดาเนินการพัฒนาอย่างเร่งด่วน ถ้าหากยังปล่อยให้ผลการทดสอบต่าเช่นนี้
ต่อไปจะส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาได้ สาเหตุที่การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในปัจจุบันยังไม่ประสบผลสาเร็จ
ตามจดุ มุ่งหมายที่วางไว้มสี าเหตมุ าจาก นกั เรยี นเรยี นมีปญั หาในด้านเนื้อหา ไม่กล้าอ่าน กล้าพูด กล้าแสดงออกในการเรียน
วชิ าภาษาอังกฤษ เนอ่ื งจากคิดวา่ เป็นวชิ าท่ียากร้สู ึกโดดเด่ยี วในการเรียนรู้

1.2 แนวทางการแกป้ ญั หาและพฒั นา
ดังน้ันกระบวนการ PLC เปน็ กระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยใหน้ ักเรียนได้เกดิ การเรยี นรจู้ ากการ
ปฏิบัติงานของท่ีมารวมตัวกนั เพอ่ื ทางานร่วมกันและสนบั สนุนซ่งึ กนั และกัน โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื พัฒนาการเรยี นรู้
ของร่วมกัน โดยร่วมกันวางเป้าหมายการเรียนรู้ และตรวจสอบ สะท้อนผลการปฏิบตั ิงานทั้งในส่วนบคุ คลและผลที่
เกดิ ข้นึ โดยรวมผา่ นกระบวนการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ การวิพากษ์วิจารณ์ การทางานรว่ มกนั การร่วมมือรวมพลัง โดย
มงุ่ เน้นและสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนร้อู ย่างเป็นองค์รวม จากท่ีได้กล่าวมาข้างตน้ จึงได้พัฒนาการจัดการเรยี นรูว้ ชิ า
ภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ PLC เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์
บารงุ (The Development of Prasatratbumrung Student’s Learning Achievement in English Subject
by PLC )

2. จดุ ประสงคแ์ ละเป้าหมาย

2.1 จุดประสงค์
2.1.1.เพอื่ พัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนให้สูงข้ึน โดยใช้กระบวนการ

PLC
2.1.2 เพ่ือพัฒนาผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) วิชาภาษาอังกฤษ

ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใหส้ ูงข้ึน
2.1.3 เพือ่ สง่ เสริมใหค้ รูจัดกิจกรรมพฒั นาการเรียนรตู้ ามแนวทางการจัดการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21

อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

2.2 เป้าหมาย
2.2.1 เชงิ ปรมิ าณ
2.2.1.1 ครโู รงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารุง จานวน 2 คน
2.2.1.2 นักเรยี นโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารุง จานวน 25 คน

2.2.2 เชิงคณุ ภาพ
2.2.2.1 เพ่อื เป็นเครอ่ื งมือที่ชว่ ยให้การแลกเปล่ยี นเรียนรูม้ ีประสทิ ธภิ าพ
2.2.2.2 เพอ่ื ใหเ้ กิดความร่วมมอื ในการพัฒนาการเรียนการสอนสู่คณุ ภาพของผู้เรยี น
2.2.2.3 เพอื่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผ้เู รยี นและผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ใหส้ งู ขึ้น

5

การพฒั นาการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาองั กฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของโรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ

3. กระบวนการผลติ งานหรอื ขั้นตอนการดาเนินงาน
3.1 การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม
โรงเรียนมีนโยบายในการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนทุกด้าน โดยเฉพาะด้านการเรียนรู้ตามแนวทางการจัด

การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 จงึ ได้นาแนวทางดังกลา่ วมาใช้เพื่อเป็นเครอื่ งมอื พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนตามข้ันตอนท่แี สดง
ไว้ใน Flow ดังตอ่ ไปนี้

ศกึ ษาวเิ คราะหข์ อ้ มลู การดาเนินงาน

วิเคราะห์นกั เรียน

จัดทาหลักสตู ร/แผนการจดั การเรยี นรู้ ไม่ผ่าน การนเิ ทศการ
PLC สอนแบบ
กลั ยาณมิตร
ดาเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้
PLC ปรับปรงุ /พฒั นา

ประเมนิ ผลการเรียนรู้

ผ่าน

รายงานสรปุ ผล

3.2 การดาเนินงานตามกจิ กรรม (ตามวงจร PDCA )
3.2.1 ขั้นเตรยี มการ ( Plan )
3.2.1.1 ประชุมช้ีแจงให้ความรู้คณะครูและร่วมอภิปรายถึงวัตถุประสงค์และคุณค่าของแนวคิด

ของการจัดการเรยี นรู้ชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ PLC เพื่อเพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนโรงเรียน
ประสาธนร์ าษฎรบ์ ารงุ

3.2.1.2 จัดทาโครงการพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ

3.2.1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานวิเคราะห์ข้อมูลกาหนดแนวทางการดาเนินงาน วางแผน
ดาเนินงาน

6

การพฒั นาการจดั การเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพอื่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของโรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารุง

3.2.2 ขัน้ ดาเนินการ ( Do )
3.2.2.1 ครูทีป่ รกึ ษา และกลมุ่ บริหารงานวิชาการ รว่ มกนั ดาเนินการวเิ คราะห์นักเรยี น
3.2.2.2 จดั หลกั สตู ร คาอธิบาย แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาที่เน้นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

PLC ในรายวชิ าพ้นื ฐานและรายวิชาเพ่มิ เตมิ ของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ
3.2.2.3 จัดต้ังศูนย์การเรียนรู้ครู จานวน 3 กลุ่มๆ ละ 4-5 คน ซึ่งอยู่บนพ้ืนฐานวัฒนธรรม

ความสมั พันธ์แบบกัลยาณมติ รในการทางานจรงิ รว่ มกันอย่างมีวิสัยทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจร่วมกันแบบทีม
เรยี นรู้ คน้ หาปญั หา ความต้องการของกลุ่มและออกแบบกจิ กรรม

3.2.2.4 ดาเนินการประชุมคณะกรรมการนิเทศ ได้แก่ ฝ่ายบริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
เพ่ือจัดทาปฏิทินกาหนดการเยี่ยมชนั้ เรียน และวางแผนการดาเนนิ งานการเยยี่ มช้ันเรยี น

3.2.2.5 ในแต่ละกลมุ่ ดาเนินการจับค่เู พ่ือเขา้ นิเทศการจัดการเรียนการสอนของเพื่อนครู และแจ้ง
การเข้านิเทศการจัดการเรียนการสอนของครูแต่ละคู่ให้ฝ่ายบริหารต่อไปโดยครูที่จับคู่นิเทศกันนั้นจะต้องผลัดกันเป็น
ทัง้ ผู้นเิ ทศและผ้รู บั การนิเทศ และรายงานตอ่ ฝ่ายบริหาร

3.2.3 ขน้ั ตรวจสอบและประเมนิ ผล ( Check )
3.2.3.1 การนิเทศครูผ่านกระบวนการนิเทศประเมินผลจากการพัฒนาโดยใช้กระบวนการ PLC

โดยคณะกรรมการนิเทศติดตามและประเมินผล มีการแลกเปลี่ยน ข้อเสนอแนะนาไปสู่การสอนปฏิบัติและทาการ
สงั เกตการสอน

3.2.3.2 ดาเนินการตดิ ตามสอบถาม สมั ภาษณ์ นักเรยี นในเรื่องความพึงพอใจเก่ียวกับการจัดการ
เรยี นร้ใู นกลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

3.2.3.3 ฝ่ายบริหารแจง้ ผลในภาพรวมของโรงเรยี นให้ครไู ดท้ ราบเพื่อการพฒั นา
3.2.3.4 ประชุมเพ่ือสรุปผลการดาเนินงาน ข้อดี ข้อด้อยในการดาเนินงาน และ หาแนวทางการ
พฒั นาหรือแนวทางปฏบิ ัติเพอื่ การพฒั นาตอ่ ไป
3.2.3.5 สรปุ ผลการดาเนินงานและจดั ทารายงานผลการดาเนินงาน

3.2.4 ขั้นปรับปรงุ และพฒั นา ( Action )
โดยนาผลการประเมินมาวิเคราะห์ และพัฒนาการดาเนินงานครั้งต่อไปสรุปผลการประเมิน และ

ข้อเสนอแนะสรุปผลการดาเนินงานคือ ครูได้รับการพัฒนาทักษะ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการปฏิบัติตนด้านความรู้ ด้าน
ทกั ษะและดา้ นการปฏบิ ตั ิงานและนักเรียนไดร้ บั การส่งเสริมพัฒนาทกุ ด้านโดยใชค้ วามสามารถอย่างเต็มศักยภาพ

3.3 ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน
ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ PLC เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนของนักเรยี น สามารถปฏบิ ัติเปน็ ขัน้ ตอนจนครูสามารถสร้างนวัตกรรมในการเรียนรู้ของตัวเองในรายวิชา
ท่ีสอน ซ่ึงส่งผลให้นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้มากข้ึน นอกจากนั้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นและผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) สูงข้ึนและนักเรียนสามารถเข้าศึกษาต่อในสาขาอาชีพที่ตนเองสนใจใน
ระดบั ทส่ี ูงข้นึ ด้วย

7

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้วชิ าภาษาองั กฤษโดยใช้กระบวนการ PLC เพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของโรงเรียนประสาธน์ราษฎร์บารงุ

3.4 การใช้ทรัพยากร
ในการดาเนนิ การได้ใช้ทรัพยากรบุคคล เช่น นักเรยี น ครูในโรงเรยี นและนอกโรงเรียน ตลอดจนครู

ผเู้ ชย่ี วชาญ ผปู้ กครอง ศกึ ษานเิ ทศก์ในการให้คาปรกึ ษา แนะนา ในการดาเนินการกจิ กรรมในคร้ังน้ีไดอ้ ย่างมี
ประสิทธิภาพ

4. ผลการดาเนินการ/ผลสมั ฤทธ/์ิ ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั

4.1 ผลการดาเนนิ การ
4.1.1 เปน็ การเสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูมีโอกาสเปน็ ผใู้ ห้ความชว่ ยเหลือเพ่ือนดว้ ยกนั ลด

ความโดดเดีย่ วระหวา่ งการปฏิบัติงานสอนของครู
4.1.2 เป็นเครอื่ งมอื ท่ีชว่ ยใหก้ ารแลกเปลี่ยนเรียนรู้มปี ระสิทธภิ าพ
4.1.3 เป็นการเสริมสรา้ งความร่วมมอื รวมพลงั ของทุกฝา่ ยในการพฒั นาการเรียนการสอนสูค่ ณุ ภาพ

ของผู้เรยี น
4.1.4 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผูเ้ รียนสูงข้ึนจากร้อยละ 56.67 เปน็ รอ้ ยละ 62.45 และผลการ

ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ให้สงู ข้ึน
4.2 ผลสัมฤทธิ์
4.2.1 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ั้นพื้นฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 วิชา

ภาษาองั กฤษสูงขน้ึ อย่างต่อเนื่อง
4.2.2 การจัดเรียงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

มีลาดบั ทดี่ ขี ึน้ จากลาดับที่ 92 ในปีการศึกษา 2559 เป็นลาดับท่ี 45 ในปีการศกึ ษา 2561
4.3 ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับ
4.3.1 เป็นกระบวนการสร้างการเปลย่ี นแปลงกระบวนการเรียนรู้
4.3.2 เปน็ การเสรมิ สร้างสัมพันธภาพที่ดรี ะหวา่ งครูมโี อกาสเปน็ ผู้ให้ความช่วยเหลอื เพื่อนด้วยกันลด

ความโดดเด่ียวระหวา่ งการปฏิบัตงิ านสอนของครู
4.3.3 เปน็ เคร่อื งมอื ทช่ี ว่ ยให้การแลกเปลีย่ นเรยี นร้มู ปี ระสิทธภิ าพ
4.3.4 เปน็ การเสริมสรา้ งความรว่ มมือรวมพลังของทุกฝา่ ยในการพัฒนาการเรียนการสอนสูค่ ณุ ภาพ

ของผ้เู รียน
4.3.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-

NET) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ให้สงู ขึ้น

8

การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้วชิ าภาษาองั กฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของโรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารุง

5.ปจั จยั ความสาเร็จ
5.1 ครูเปน็ ผ้มู ีความรคู้ วามสามารถ มีความตัง้ ใจ มีการเสียสละ และเป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้
5.2 โรงเรียนใหก้ ารสนบั สนุน ในด้านการพัฒนาความสามารถของผู้เรยี นให้เตม็ ศักยภาพ
5.3.ผู้บรหิ ารเป็นผมู้ ีวสิ ัยทัศนใ์ หก้ ารสนบั สนนุ ในการทางาน
5.4 นกั เรียนมีพ้ืนฐานมีความรคู้ วามสามารถ และมีความมุ่งม่ันต้งั ใจในการเรียน

6.บทเรียนท่ไี ดร้ ับปรับคณุ ภาพมุง่ พัฒนาตอ่ ไป

6.1 บทเรียนทีไ่ ดร้ ับ
6.1.1 ครผู ูส้ อนลดความรู้สกึ โดดเดยี่ วงานสอนของครเู พิ่มความรสู้ กึ ผูกพันต่อพันธกจิ และเป้าหมาย

ของโรงเรยี นมากขึน้
6.1.2 การทางานรว่ มกันแบบทีมเรียนรู้ท่ีครูเป็นผ้นู าร่วมกนั และผบู้ ริหารชว่ ยดูแลสนบั สนนุ การ

เรยี นรจู้ ะนาไปสคู่ ุณภาพการจัดการเรียนรทู้ ่เี นน้ ความสาเรจ็ หรอื ประสิทธผิ ลของผู้เรียนเป็นสาคญั
6.1.3 โรงเรียนมีการปรบั ปรุงแกไ้ ขปัญหานามาสกู่ ารสนบั สนุนการปฏบิ ัติ งานวชิ าชพี ของครูผู้สอน

6.2 ปรับคุณภาพมุ่งพฒั นาต่อไป
6.2.1 นากระบวนการ PLC ไปประยกุ ต์ใชก้ บั การกิจกรรมอ่นื ๆ ในโรงเรียนภายใต้การทางานรว่ มกนั

เป็นทีม
6.2.2 ขยายเครือขา่ ยโดยเพิ่มการแนะนา แนะแนว การเรยี นรู้เกยี่ วกับการจดั การบรหิ ารโดยใช้

กระบวนการ PLC เพือ่ ประโยชนข์ องผู้เรยี นและโรงเรยี นเป็นสาคญั

6.3 ข้อควรพึงระวัง
6.3.1 กระบวนการ PLC มงุ่ เนน้ ใหม้ กี ารปรบั ตัว อย่างรวดเรว็ การรวมตัว รว่ มใจ ร่วมพลงั รว่ มทา

และเรยี นรู้รว่ มกันจะต้องอย่บู นพ้นื ฐานความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร

7.การเผยแพร/่ การได้รบั การยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ
7.1 การเผยแพร่
7.1.1 ได้รับคัดเลือกจาก สพฐ. รว่ มนาเสนอผลงานสถานศกึ ษาต้นแบบการบรหิ ารจดั การคุณภาพ

และมาตรฐานการศึกษา เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพของสถานศึกษา รางวัล IQA AWARD ระดบั ยอดเย่ียม
7.1.2 ได้เผยแพร่ผลงานทางเว็บไซน์ของโรงเรียน และFace Book เพือ่ นครูโรงเรียน

ประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ เพ่อื เป็นแนวในการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนในกลุ่มสาระอืน่
7.1.3 จดั นทิ รรศการในกลุ่มสาระ / งานวันวิชาการ

7.2 การได้รับการยอมรบั /รางวัลทีไ่ ดร้ บั

7.2.1 การอบรมเชิงปฏบิ ัติการ PLC (Professional Learning Community ) สานักงานเขตพืน้ ที่
การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 12

9

การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้วิชาภาษาอังกฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของโรงเรยี นประสาธนร์ าษฎร์บารุง

Camp 10 7.2.2 โครงการพฒั นาครแู กนนาดา้ นการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดบั ภมู ิภาค Boot

7.2.3 รางวัลเชิดชเู กียรติ “ครสู อนดศี รถี ้าพรรณรา” อาเภอถ้าพรรณรา จังหวดั นครศรธี รรมราช
7.2.4 การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ”โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.”

ลงช่ือ ผูเ้ สนอ
(นางทิพย์วรรณ ใจสมทุ ร)
ตาแหน่ง ครู คศ.1

โรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง

ลงชอ่ื ผู้รบั รอง
( นางณภัค อินทร์ปาน )

ตาแหนง่ ผ้อู านวยการโรงเรยี นประสาธน์ราษฎรบ์ ารงุ

10

การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้วชิ าภาษาองั กฤษโดยใช้กระบวนการ PLC เพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของโรงเรยี นประสาธน์ราษฎร์บารุง

ภาคผนวก

11

การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้วิชาภาษาอังกฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

การพัฒนาการจัดการเรยี นรู้วชิ าภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ PLC
เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

The Development of Prasatratbumrung Student’s
Learning Achievement in English Subject by PLC

12

การพฒั นาการจดั การเรียนรู้วชิ าภาษาองั กฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

13

การพฒั นาการจดั การเรียนรู้วชิ าภาษาองั กฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

14

การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้วิชาภาษาองั กฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของโรงเรียนประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง

ผลท่ีเกดิ กบั ผ้เู รยี น

15

การพัฒนาการจัดการเรยี นรู้วชิ าภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ PLC เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของโรงเรยี นประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง

รางวัลทไ่ี ดร้ ับ

16

การพัฒนาการจัดการเรยี นรู้วชิ าภาษาอังกฤษโดยใช้กระบวนการ PLC เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของโรงเรยี นประสาธนร์ าษฎรบ์ ารุง

รางวัลทไ่ี ดร้ ับ

17

การพฒั นาการจดั การเรียนรู้วชิ าภาษาองั กฤษโดยใชก้ ระบวนการ PLC เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของโรงเรียนประสาธนร์ าษฎร์บารงุ

18


Click to View FlipBook Version