หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
วเิ คราะห์ถ่นิ กาเนิดและการต้งั ถิน่ ฐานในดินแดนไทย
คาบท่ี 5: ถนิ่ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
ตัวชี้วดั ช่วงช้ัน
วเิ คราะห์ประเดน็ สาคญั ของ
ประวตั ิศาสตร์ไทย (ส 4.3 ม. 4-6/1)
หัวข้อ: ถิ่นเดมิ ของชนชาตไิ ทย
1. แนวคดิ เกย่ี วกบั ถนิ่ เดมิ ของชนชาติไทย
2. แนวคดิ ว่าด้วยอาณาจักรน่านเจ้าเป็ นอาณาจักรของคนไทย
➢ 1. แนวคดิ เกย่ี วกบั ถ่นิ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
➢ ถ่ินเดมิ ของชนชาตไิ ทยอยู่ในบริเวณตอนกลางของจนี
แนวคิดนีเ้ ชื่อว่าถ่ินเดิมของชนชาติไทย
อยู่บริเวณที่ปัจจุบันเป็ นมณฑลซ่ือชวน ฉ่านซี
หูเป่ ย์ อานฮุย หูหนาน เจียงซี แล้วจึงอพยพมา
ทางตอนใต้ ของจีน และค่ อยอพยพลงมาสู่
คาบสมุทรอินโดจีนและประเทศไทย โดยมี
ผู้สนับสนุนแนวคดิ นีค้ ือ
➢ 1. แนวคดิ เกยี่ วกบั ถ่นิ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
➢ ถ่ินเดมิ ของชนชาตไิ ทยอยู่ในบริเวณตอนกลางของจีน
❖ ศาสตราจารย์แตเรียง เดอ ลาคูเปอรี (Terrien de Lacouperie) ผ้รู ิเริ่มแนวคดิ นี้
❖ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ
❖ หลวงวจิ ิตรวาทการ (กมิ เหลยี ง วฒั นปฤดา)
❖ พระบริหารเทพธานี
❖ พระยาอนุมานราชธน (ยง เสถียรโกเศศ)
oหลกั ฐานที่ใชใ้ นแนวคิดน้ีมาจากหลกั ฐาน 3 แหล่งดว้ ยกนั
ไดแ้ ก่ หลกั ฐานประเภทภาษาศาสตร์ ความคลา้ ยคลึงกนั
ดา้ นภาษา หลกั ฐานเอกสารจีน ที่นกั วชิ าการตีความวา่ ชน
ชาติท่ีปรากฏในเอกสารจีนน่าจะเป็ นชนชาติไทย
6
ขอ้ คดั คา้ น
• พ้นื ฐานทฤษฎีมาจากการตีความภาษาในเอกสารจีนร่วมกบั หลกั ฐาน
ทางดา้ นภาษาและความคลา้ ยคลึงของวฒั นธรรม แต่วา่ มีเหตุผลนอ้ ย
เกินไปในดา้ นความคลา้ ยของภาษา และขนบธรรมเนียมประเพณี
เป็นส่ิงท่ีสามารถถ่ายทอดกนั ระหวา่ งกลุ่มชนได้
• จากการคน้ พบทางโบราณคดีที่หมู่บา้ นซานซิงตุย มณฑลซอื่
ชน พ.ศ. 2519 พบประติมากรรมสาริดขนาดใหญ่จานวนมากมี
ท้งั รูปคน ศีรษะและหนา้ คน หล่อสาริดหลายขนาด เป็นของปลาย
สมยั ราชวงศช์ าง ลว้ นแตม่ รี ปู รา่ งสณั ฐานและใช ้
เครื่องนุ่งห่มต่างจากชนชาติไทย จึงเป็นหลกั ฐานยนื ยนั วา่ ไทยมิไดม้ ี
ถิ่นเดิมอยใู่ นบริเวณน้ี 7
➢ 1. แนวคดิ เกยี่ วกบั ถน่ิ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
➢ ชนชาตไิ ทยเป็ นเชื้อสายมองโกล มีถน่ิ เดมิ อยู่แถบเทือกเขาอลั ไต
ผู้ริเร่ิมแนวคิดนีค้ ือ ดร.วิลเลยี ม คลฟิ ตัน ดอดด์
(William Clifton Dodd) ซึ่งได้อธิบายว่า ชนชาติไทยมี
เชื้อสายมองโกล เป็ นชาติที่มีความเก่าแก่กว่าจีน และ
เจริญรุ่งเรืองมาก่อนจีน ถิ่นเดิมน่าจะอยู่ในเขตอบอุ่น
เหนือ ต่อมาย้ายมาสู่ประเทศจีน และต้ังอาณาจักรขึ้น
เรียกว่า อาณาจักรอ้ายลาว จีนเรียกว่า ต้ามุง เมอ่ื ประมาณ
1,700 ปี ก่อนพุทธศักราช
➢ 1. แนวคดิ เกย่ี วกบั ถิน่ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
➢ ชนชาติไทยเป็ นเชื้อสายมองโกล มีถ่นิ เดิมอยู่แถบเทือกเขาอลั ไต
ต่อมาชาวจีนมีความเข้มแข็งได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในถ่ินของชาวไทยและ
แย่งชิงพืน้ ที่ทากนิ ทาให้ชาวไทยอพยพไปหาที่ทากนิ แหล่งใหม่เมื่อประมาณ 60 ปี ก่อน
พุทธศักราชโดยอพยพลงไปสู่ทางใต้ของจีน นักประวตั ิศาสตร์รุ่นต่อมาได้ขยายแนวคิด
ออกไปมดี งั นี้
❖ ขุนวจิ ติ รมาตรา (รองอามาตย์โทสง่า กาญจนาคพนั ธ์)
มผี ้คู ดั ค้านแนวคดิ นีค้ ือ
❖ ศาสตราจารย์เฉินหลวฟ่ี ่ าน
• หลกั ฐานที่ใชใ้ นแนวคิดน้ีมีท่ีมาจากหลกั ฐาน
เอกสารของจีน พิจารณาความคลา้ ยคลึงดา้ นภาษา
และขนบธรรมเนียมประเพณี วา่ มีความคลา้ ยคลึง
กนั ระหวา่ งชนกลุ่มนอ้ ยในไทยกบั จีน หลกั ฐาน
ทางดา้ นภาษาจากการตีความคาบางคาในทอ้ งถิ่น
10
• ปัจจุบนั นกั วชิ าการต่างปฏิเสธแนวคิดน้ี เพราะมีเหตุผล
และหลกั ฐานคดั คา้ นหลายประการ เช่น
• ที่นกั วชิ าการไทยบางท่านเห็นวา่ ไต ชื่อเทือกเขาอลั ไต
เป็นภาษาไทย หมายถึงไท น้นั ศาสตราจารยเ์ ฉินหลวฟี่ ่ าน
แยง้ วา่ อลั ไตเป็นภาษาทูเจของเผา่ เช้ือสายตุรกีในจีน
แปลวา่ ทองคา ท้งั น้ีเพราะเทือกเขาอลั ไตอุดมไปดว้ ยแร่
ทองคามิไดเ้ กี่ยวขอ้ งกบั คาวา่ ไท แต่อยา่ งใด
11
• สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศของเทือกเขาอลั ไตเป็นทุ่งหญา้
เหมาะแก่การเล้ียงสตั ว์ ไม่เหมาะกบั การดารงชีพของชนชาติไทย
• พบภาพเขียนสีท่ีหนา้ ผาทางดา้ นใตข้ องเทือกเขาอลั ไตเป็นภาพ
สตั วต์ ่าง ๆ ภาพคนข่ีมา้ ล่าสตั ว์ ภาพการเล้ียงปศุสตั ว์ ภาพการ
ฟ้อนรา แสดงใหเ้ ห็นความเป็นอยแู่ ละวฒั นธรรมของกลมุ่ ชน
เร่ร่อน มิใช่วฒั นธรรมของไทย
• การอพยพจากเทือกเขาอลั ไตตอ้ งเดินทางไกลมาก ผา่ น
ทะเลทรายการเดินทางลงมาทางใตต้ อ้ งผน่ ทะเลทรายโกบี อนั
กวา้ งใหญ่ไพศาลกวา้ งใหญ่ทุรกนั ดาร จึงไม่น่าเป็นไปได้ หรือ
ถา้ เป็นไปไดก้ ค็ งจะเหลือผรู้ อดชีวติ ไม่มากนกั
12
➢ 1. แนวคดิ เกยี่ วกบั ถิ่นเดมิ ของชนชาตไิ ทย
➢ ถิน่ เดมิ ของชนชาตไิ ทยอยู่ในบริเวณตอนใต้ของจนี
แ น ว คิ ด นี้เ ช่ื อ ว่ า ถิ่ น เ ดิ ม ข อ ง ช น
ชาติไทยอยู่บริเวณที่ปัจจุบันเป็ นมณฑล
หยุนหนาน เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง
และมณฑลกว่างตงของจีน ตอนเหนือของ
เวียดนาม รัฐชานของพม่า และรัฐอัสสัม
ของอนิ เดยี
➢ 1. แนวคดิ เกยี่ วกบั ถน่ิ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
➢ ถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่บริเวณตอนใต้ของจีน
โดยมผี ู้สนับสนุนแนวคดิ นีค้ ือ
❖ อาร์ชิบอลด์ รอสส์ คอลคูน (Archibald Ross Colqhoun) ผู้เสนอแนวคดิ นี้
❖ พระยาประชากจิ กรจักร
❖ พนั ตรี เอช.อาร์. เดวสี ์ (H.R. Davies)
❖ วลิ เฮล์ม เครดเนอร์ (Wilhelm Credner) นักภาษาศาสตร์ชาวเยอรมัน
❖ ศาสตราจารย์วลิ เลยี ม เจ. เกดนีย์ (William J. Gedney) นักภาษาศาสตร์ชาวอเมริกนั
❖ ศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช และนักวชิ าการจนี อกี หลายท่าน
• หลกั ฐานท่ีสาคญั ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของแนวคิดน้ี คอื หลกั ฐาน
ทางดา้ นมานุษยวทิ ยากบั หลกั ฐานทางดา้ นภาษาศาสตร์ เป็น
หลกั ฐานท่ีไดม้ าจากการศึกษาการต้งั ถ่ินฐาน วถิ ีการดารงชีวติ
ในกลุ่มชนที่พดู ภาษาตระกลู ไทย พบวา่ ชนกลุ่มน้ีต้งั ถ่ินฐาน
กระจายเป็นบริเวณกวา้ งทางตอนใตข้ องจีน ลกั ษณะวฒั นธรรม
ชนชาติไทยจะสมั พนั ธ์กนั
• สรุปไดว้ า่ แนวคิดน้ีเป็นแนวคิดที่เป็นท่ีมีหลกั ฐานทาง
โบราณคดี ประวตั ิศาสตร์ นิรุกติศาสตร์ สนบั สนุน จึงเป็น
แนวคิดที่เป็นที่ยอมรับมากท่ีสุดร่วมกนั ในหมู่นกั วชิ าการ
15
➢ 1. แนวคดิ เกย่ี วกบั ถนิ่ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
➢ ถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในคาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะอนิ โดนีเซีย
แนวคดิ นีเ้ ชื่อว่าคนไทยมเี ชื้อสายมลายู มถี ่นิ กาเนิดในบริเวณหมู่เกาะอนิ โดนีเซีย
ต่อมาอพยพมาทางเหนือยงั ประเทศไทย และขึน้ เหนือไปถงึ มณฑลหยนุ หนาน
โดยมผี ้สู นับสนุนแนวคดิ นีค้ ือ
❖ รูธ เบเนดกิ ต์ (Ruth Benedict) นักมานุษยวทิ ยาชาวอเมริกนั เป็ นผ้เู สนอแนวคดิ นี้
❖ นายแพทย์สมศักด์ิ พนั ธ์ุสมบุญ ผู้สนับสนุนความคดิ ของรูธ เบเนดกิ ต์
• หลกั ฐานทสี่ นับสนุนแนวคดิ นี้ คอื ขอ้ มูลทางดา้ น
มานุษยวทิ ยา หลกั ฐานทางการแพทยด์ า้ นพนั ธุศาสตร์ การตรวจสอบ
กลุ่มเลือดและรหสั พนั ธุกรรม
• แนวคิดน้ีไม่เป็นท่ียอมรับ โดยมีเหตุผลและหลกั ฐานโตแ้ ยง้ คือ ไม่มี
หลกั ฐานทางภาษาศาสตร์และประวตั ิศาสตร์สนบั สนุน อีกท้งั ขดั กบั
หลกั ท่ีวา่ วฒั นธรรมยอ่ มเคล่ือนยา้ ยจากตน้ น้าทางเหนือลงไปทางใต้
ส่วนเร่ืองหมู่เลือดไดใ้ ชว้ ิธีการที่ทนั สมยั ตรวจสอบพบวา่ กลุ่มไทยดา
และผไู้ ทยชนท่ีพดู ภาษากลุ่มตระกลู ไทในเวยี ดนาม มีหมู่เลือดใกลเ้ คียง
กบั คนจีน ไม่ใกลเ้ คียงกบั คนมาเลเซียและคนเขมร
17
➢ 1. แนวคดิ เกยี่ วกบั ถนิ่ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
➢ ถิน่ เดมิ ของชนชาติไทยอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน
ผู้ริเริ่มแนวคดิ นีค้ ือ ดร.ควอริตช์ เวลส์ (Quaritch Wales) นักประวตั ศิ าสตร์
และโบราณคดีชาวอังกฤษ จากการขุดพบกะโหลกศีรษะที่พงตึก อาเภอท่ามะกา
จังหวัดกาญจนบุรี มีอายุอยู่ในราว พ.ศ. 500 ซึ่งเวลส์เห็นว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับ
กะโหลกศีรษะของคนไทยปัจจุบัน จึงเสนอแนวคิดว่า คนไทยอาจมาต้ังหลักแหล่งอยู่
ในประเทศไทยมากว่า 2,000 ปี แล้ว และดนิ แดนนีอ้ าจเป็ นถน่ิ กาเนิดของชนชาติไทย
➢ 1. แนวคดิ เกย่ี วกบั ถิน่ เดมิ ของชนชาตไิ ทย
➢ ถิน่ เดิมของชนชาติไทยอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน
โดยมผี ู้สนับสนุนแนวคดิ นีค้ ือ
❖ ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุด แสงวเิ ชียร
❖ ศาสตราจารย์ชิน อย่ดู ี
❖ ศรีศักร วลั ลโิ ภดม
❖ สุจติ ต์ วงษ์เทศ
มผี ู้คดั ค้านแนวคดิ นีค้ ือ
❖ ศาตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภทั รดศิ ดศิ กลุ ผ้เู ชี่ยวชาญด้านประวตั ศิ าสตร์ศิลปะ
ประวตั ิศาสตร์และโบราณคดี
• แนวคิดน้ีถูกคดั คา้ นโดยนกั วชิ าการบางท่าน เช่น ศาสตราจารย์
หม่อมเจา้ สุภทั รดิศ ดิศกลุ ทรงมคี วามเห็นวา่ โครง
กระดูกมนุษยอ์ าจแบ่งได้ 3 แบบ คือ คนผวิ ขาว คนผิวดา และ
คนผวิ เหลือง เม่ือทราบวา่ โครงกระดูกท่ีขดุ พบท่ีบา้ นเก่า เป็นโครง
กระดูกคนผวิ เหลืองแลว้ ถา้ จะพสิ ูจนว์ า่ เป็นคนไทยกต็ อ้ งพิสูจนใ์ ห้
ไดว้ า่ ไม่ใช่คนชาติผวิ เหลืองอื่น ๆ จึงจะลงความเห็นเป็นเช่นน้นั ได้
นอกจากน้ียงั ทรงเช่ือวา่ คงมีคนไทยมาอยใู่ นประเทศไทยปัจจุบนั
นานแลว้ แต่เป็นกลุ่มของชนกลุ่มนอ้ ย ต่อมาคนไทยคอ่ ย ๆ เพ่มิ
มากข้ึน โดยอพยพจากภาคตะวนั ออกเฉียงใตข้ องจีนตามหลกั ดา้ น
ภาษาศาสตร์
20
➢ 2. แนวคิดว่าด้วยอาณาจักรน่านเจ้าเป็ นอาณาจักรของคนไทย
เดิมชนชาติไทยมีถิ่นฐานอยู่ในดินแดนประเทศจีน ต่อมา
ถูกจีนรุกรานจึงต้ังอาณาจักรน่านเจ้าในช่ วงพุทธศตวรรษท่ี 11
แล้วอาณาจักรน่านเจ้าถูกยึดครองโดยพวกมองโกลในช่ วงปลาย
พุทธศตวรรษที่ 18 ชนชาติไทยจึงอพยพลงมายังประเทศไทยปัจจบุ ัน
แล้วต้ังอาณาจกั รสุโขทัยขนึ้
➢ 2. แนวคิดว่าด้วยอาณาจกั รน่านเจ้าเป็ นอาณาจักรของคนไทย
นักวชิ าการทยี่ อมรับแนวความคดิ นี้ มหี ลายกล่มุ คือ
❖ กลุ่มทเี่ ชื่อว่าชนชาตไิ ทยมถี ่ินเดมิ อย่บู ริเวณเทือกเขาอลั ไต
เช่น ขุนวจิ ิตรมาตรา (รองอามาตย์โทสง่า กาญจนาคพนั ธ์)
❖ กลุ่มทเี่ ชื่อว่าชนชาตไิ ทยมถี ิ่นเดมิ บริเวณตอนกลางของประเทศจนี
เช่น หลวงวิจิตรวาทการ (กมิ เหลยี ง วฒั นปฤดา) พระบริหารเทพธานี
❖ กล่มุ ทเี่ ช่ือว่าชนชาตไิ ทยอยู่บริเวณตอนใต้ของจีน
เช่น อ.ี เอช. ปาร์เกอร์ ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์
ศาสตราจารย์โวลแฟรม อเี บอร์ฮาร์ด
➢ 2. แนวคิดว่าด้วยอาณาจักรน่านเจ้าเป็ นอาณาจักรของคนไทย
มผี ้คู ดั ค้านแนวคดิ นีค้ ือ
❖ ปอล เปลลโิ อ (Paul Pelliot) นักประวตั ศิ าสตร์ชาวฝร่ังเศส
❖ เฟรเดอริก โมต (Frederick Mote) นักประวตั ศิ าสตร์ชาวอเมริกนั
❖ ชาร์ลส์ แบกคสั (Charles Backus) ผ้ศู ึกษาเกย่ี วกบั เอกสารจนี
❖ ศาสตราจารย์เฉินหลวฟี่ ่ าน นักวชิ าการจีน
ประเดน็ ทน่ี ักวชิ าการหลายท่านคดั ค้านเร่ืองน่านเจ้า ได้แก่
❖ เร่ืองภาษา
❖ เร่ืองชนชาติ
❖ เรื่องวฒั นธรรม