The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทคนิคการปิดทองเรซิ่น 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surat boonthrong, 2020-03-28 04:29:10

เทคนิคการปิดทองเรซิ่น 3

เทคนิคการปิดทองเรซิ่น 3

เทคนิคการปิ ดทองพืน้ ผิวพลาสติก

1. ช้ินงานที่นามาทาการปิ ดทองคาเปลว
เน้ือพลาสติก สูง 10 น้ิว พ้ืนผวิ เป็ นพลาสติกท่ี
ผ่านการหล่อมา มีการซ่อมแซมหรือเพิ่มเน้ือ
ส่วนท่ขี าดหายไปมาเรียบร้อยแลว้

พ้นื ผิวมีคราบไขมันเกาะติดอยใู่ นบา้ ง
ส่วนของพน้ื ผวิ ช้ินงาน

ช้ินงานท่ีเป็ นพ้ืนผวิ พลาสตกิ หรือเรซิ่น
จะมีคราบไขมนั บา้ งอยา่ งเกาะตดิ อยดู่ ว้ ย จะตอ้ ง

ทาการลา้ งออก

ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บญุ ทรง สาขาวชิ าหตั ถศิลป์ (2554) ๔๒

2. การลา้ งคราบไขมนั ออกใช้ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ในการทาความสะอาดไดเ้ ช่น ผงซกั ฟอง น้ายา

ลา้ งจาน หรือโซดาไฟ นามาลา้ งทาความสะอาดพ้ืนผิวบนพ้ืนผิวทีเป็ นพลาสติกหรือเรซิ่น ได้ดี

จะทาให้คราบไขมนั หลุดออกหมด ในการลา้ งด้วยโซดาไฟ จะทาให้พ้ืนผิวของพลาสติก

หรือเรซิ่น มีความดา้ นเกิดข้ึนบนพ้นื ผวิ เล็กน้อย เป็ นการทาความสะอาดพ้นื ผวิ ช้ินงานคร้ังแรก

ก่อนได้ จากน้นั ต้งั ทงิ้ ไวใ้ หน้ ้าแหง้ สนิท จงึ จะนามาทาข้นั ตอนตอ่ ไป

3. ใชส้ ีสเปรยพ์ น่ รองพ้นื ชนิดแหง้ เร็ว WIN เบอร์ 263 เป็นสีสเปรยท์ ีมีเน้ือสีมาก ตดิ ทนนานเป็ น
เงาใส กบั ทุกพ้นื ผวิ ก่อนการพน่ สีสเปรย์ ใหท้ าความสะอาดช้ินงานใหแ้ หง้ ปราศจากฝ่นุ และ
คราบตา่ ง ๆ ก่อนใหส้ ะอาด

(ในกรณีน้ี สามารถทาการรองพ้นื ผวิ พลาสตกิ หรือเรซิ่นไดก้ ่อนหน่ึงช้นั โดยการใช้ แชล็ดทา
ไม้ ท่ีผสมดว้ ยเม็ททลิ แอลกอฮอล์ ทาการทาแชลด็ บาง ๆ 2 – 3 ช้นั ในแต่ละช้นั ทิง้ ระยะเวลาห่างกนั
ประมาณ 20 – 30 นาที เป็นการรองพน้ื ผวิ ไวค้ ร้งั หน่ึงก่อนทีจะทาการพอ่ สีสเปรยร์ องพน้ื กไ็ ด)้

ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บญุ ทรง สาขาวิชาหตั ถศิลป์ (2554) ๔๓

5. เม่ือพน่ สีสเปรยร์ องพ้ืนชนิดแหง้ เร็ว WIN เบอร์ 263 ในคร้ังแรกให้พน่ สีสเปรยพ์ ่นบาง ๆ
ห่างจากช้ินงานประมาณ 1 ฟุต ปล่อยให้สีสเปรยร์ องพ้ืนแห้งประมาณ 10-20 นาที แล้วจึงพ่นสี
สเปรยท์ บั คร้งั ที่ 2 หรือ 3 ต่อไป

ชิ้นงานทีเป็ นเน้ือพลาสติกหรือ เรซิ่น จะเปล่ียนสีเป็ นสีของสเปรยส์ ีเทา ทีทาการพ่นไวท้ ้งั
ชิ้นงาน อยา่ งเสมอกนั ท้งั ชิ้นงาน จากน้นั ต้งั ทิ้งไวป้ ระมาณ 3 – 5 ชว่ั โมง ใหส้ ีสเปรยท์ ที าการพน่ ไว้
แหง้ สนิทก่อนจึงสามารถทาข้นั ตอนตอ่ ไปได้

ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บญุ ทรง สาขาวชิ าหตั ถศิลป์ (2554) ๔๔

6. ใช้สีสเปรย์ PYLAC ( 217 BLACK )ชนิด
ทนแดด ทนฝน แห้งเร็ว ความสูง ยดึ เกาะแน่น
บนโลหะ และไม้

นามาพ่นทบั สีสเปรยพ์ ่นรองพ้ืนรถยนต์
กนั สนิมชนิดแหง้ เร็ว

สามารถใชส้ ีสเปรยช์ นิดอื่น ๆ กไ็ ดช้ นิดสี
ดา ห รื อสี อะไรก็ได้มาใช้แท น ตามค วาม
เหมาะสม และความสะดวก

6. ใช้สีสเปรย์ PYLAC ( 217 BLACK ) ชนิดทนแดด ทนฝน แห้งเร็ว ยึดเกาะแน่นบน
โลหะ และไม้ นามาพน่ ทบั สีสเปรยพ์ ่นรองแห้งเร็ว WIN เบอร์ 263 (สามารถใช้สีสเปรยช์ นิด
อื่น ๆ ชนิดสีดา หรือสีอะไรกไ็ ดม้ าใชแ้ ทนตามความเหมาะสม และความสะดวก )

ก่อนใชส้ ีสเปรย์ PYLAC สีดา พ่น พ้นื ผิวที่จะพ่นตอ้ งทาความสะอาด ใหพ้ ้นื ผวิ แห้ง
สนิท ปราศจากฝ่นุ และคราบต่าง ๆ จงึ พน่ สีสเปรย์ PYLAC สีดา ทบั สีสเปรยพ์ น่ รองพน้ื WIN เบอร์
263 โดยพน่ บางๆ ห่างจากช้ินงานประมาณ 1 ฟตุ ใหท้ ว่ั ชิ้นงาน

จากน้ันเวน้ ระยะเวลาให้สีแห้งประมาณ 15 – 20 นาที หลังจากน้ันพ่นสีสเปรย์
PYLAC สีดา ทบั หนา้ อีก 1-2 คร้ัง ในแต่ละคร้ังทิง้ ระยะเวลาใหส้ ีแหง้ 15 – 20 นาที

ทาการพน่ สีสเปรย์ PYLAC สีดา ประมาณ 2 – 3 คร้ังเสร็จเรียบร้อยแลว้ พ้ืนผิวจะเป็ นมัน
เงาท้งั หมด จากทงิ้ ใหส้ ีแหง้ สนิทประมาณ 3 – 5 ชวั่ โมง

ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บุญทรง สาขาวิชาหตั ถศิลป์ (2554) ๔๕

7. เมื่อท้ิงไวจ้ นสีสเปรย์ PYLAC ( 217 BLACK ) แหง้ สนิทแลว้ ผิวของชิ้นงานจะเป็นสีดามนั
เงางาม ท้งั ช้ินงาน ให้ตรวจสอบความเรียบร้อยของการพน่ สีสเปรยส์ ีดาวา่ ครอบคลุมทกุ จดุ ของ
ช้ินงานหรือไม่ อยา่ งใหห้ ลง ลืม จุดใดจดุ หน่ึง ถา้ มีใหท้ าการพน่ สีสเปรยซ์ ่อม ใหเ้ ป็ นที่เรียบรอ้ ย

8. สีแฟลกซ์ (Flex) เบอร์ 2613 สีเหลือง ท่ีนามาใชใ้ นการทาสีปิ ดทอง

9. น้ามนั ตงั อ๊ิว ที่ขายส่วนใหญ่เป็ นแบบ ท่ีผา่ นการผสมมาแลว้ ท้งั น้ัน ทาให้ความเหนียว
ของน้ามนั ตงั อ๊ิวลดน้อยลง ควรเปิ ดฝาท้ิงไวใ้ ห้ประมาณ 2 – 3 วนั น้ามนั ท่ีผสมมาระเหยออกไป
หรือนาน้ามนั ตงั อ๊ิว มาต้งั ไฟเคย่ี วใหน้ ้ามนั ทีผสมอยู่ ระเหยออกไปก็ได้

คุณสมบตั ิของน้ามนั ตงั อ๊ิวจะช่วยใหส้ ีแหง้ เท่ากนั ท้งั หนา้ สี

ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บญุ ทรง สาขาวิชาหตั ถศิลป์ (2554) ๔๖

10. การผสมสีแฟลกซ์ (Flex) ปริมาณสุทธิ
0.946 ลิตร กบั น้ามนั ตงั อ๊ิว ใส่น้ามนั ตงั อิ๊วผสม
ลงไปประมาณ 30 c.c. หรือ ประมาณ 3 ช้อน

โตะ๊ ผสมลงในสีแฟลกซ์ (Flex) คนนาน ๆ ให้
สีแฟลกซ์ (Flex) เขา้ กับน้ ามนั ตงั อ๊ิว เป็ นเน้ือ
เดียวกนั

ใชพ้ กู่ นั ขนอ่อนทาหรือระบายสีแฟลกซ์

(Flex) ทผี สมกบั น้ามนั ตงั อ๊ิว ดีแลว้ ลงบนพน้ื
ผวิ ชิ้นงานทที าการเตรียมพน้ื ไวเ้ ป็นอยา่ งดีแลว้

11. ในการทาหรือระบายสีลงบนพ้ืนผวิ ชิ้นงานที่จะทาการปิ ดทอง ให้ทาหรือระบายต้งั แต่
ส่วนล่างสุดของชิ้นงานข้ึนไปหาดา้ นบนของช้ินงาน ให้ทวั่ ชิ้นงานท้งั ดา้ นหน้าและดา้ นหลงั ตาม
ร่องต่าง ๆ ในการทาหรือระบายสีจะตอ้ งทาหรือระบายสีให้เสนอกันอยา่ ให้มีส่วนใดส่วนหน่ึง

บางหรือเขม้ เกินไป ตรวจสอบจุด มุมต่าง ๆ ของชิ้นงานท่ีทาการทาหรือระบายสี ใหท้ ว่ั อยา่ หลง
ลืมส่วนใดส่วนหน่ึงไป ถา้ หลง ลืม กท็ าการทาหรือระบายสีลงไปเพมิ่

ในการทาหรือระบายสีน้ีจะตอ้ งใชแ้ ปรงหรือพกู่ นั ขนอ่อนมาทาหรือระบายสี จะทาใหไ้ ม่มี
รอยขนแปรง เกิดข้ึนบนพน้ื ผวิ ของสี

ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บุญทรง สาขาวชิ าหตั ถศิลป์ (2554) ๔๗

12. ทองคาเปลวท่ีใช้ในการปิ ดทองเป็ น
ทองคาเปลวแท้ 100 % ตราช้าง ชนิดเตม็ แผ่น
ในทอ้ งตลาดทว่ั ไปขายหลายขนาด ควรเลือกซ้ือ
ให้เหมาะสมกบั การใชง้ าน แปรงขนอ่อนขนาด
ตา่ ง ๆ ใชใ้ นการกระทงุ้ ทอง

13. เมื่อทาหรือระบายสีเสร็จแลว้ ใหต้ ้งั ท้ิงไวป้ ระมาณ 3 – 5 ชว่ั โมงในท่ี ๆมีอากาศถ่ายเทได้
ไม่ควรต้งั ทิง้ ไวใ้ นหอ้ งทีอากาศไม่ถ่ายเทหรือหอ้ งแอร์ เพราะจะทาใหส้ ีแหง้ ชา้ มาก

ให้ใชน้ ้ิวมือตะ ท่ีผิวสีดูว่า สีเริ่มแหง้ แลว้ หรือยงั ถา้ สีเร่ิมแหง้ จะไม่ติดนิ้วมือ ลักษณะ
คลา้ ยสีท่ีแห้งแต่ยงั มียางอยู่ และจะมีกล่ินสีโชยออกมาใหไ้ ดก้ ลิ่นสี แสดงว่าเริ่มแหง้ แลว้ (ข้นั ตอน
น้ีจะตอ้ งใชค้ วามชานาญในการสงั เกตว่าสีเร่ิมแหง้ ) เริ่มปิ ดแผน่ ทองคาเปลวแผน่ แรกลงบนช้ินงาน
ต้งั แต่จุดแรกท่ีได้เริ่มทาหรือระบายสีแฟลกซ์ (Flex) ที่ผสมน้ ามันตงั อิ๊วไว้ โดยการปิ ดแผ่น
ทองคาเปลวใหเ้ รียบทบั กนั ทลี ะแผน่ ๆซอ้ นทบั กนั ไป

โดยใชม้ ือเปิ ดแผน่ ทองคาเปลวเบา ๆ แลว้ ปิ ดทบั ลงไปทชี ้ินงาน อยา่ งใจเยน็ ๆ

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บุญทรง สาขาวชิ าหตั ถศิลป์ (2554) ๔๘

14. ปิ ดแผน่ ทองคาเปลว ซอ้ นทบั กนั ไปทีละ
แผน่ ใหท้ ว่ั พ้นื ผวิ ช้ินงานท้งั ดา้ นหนา้ และ
ดา้ นหลงั ระวงั อยา่ ใหเ้ กิดช่องวา่ งของแผน่
ทองคาเปลว ใหเ้ ห็นเน้ือสีแฟลกซ์ (Flex)

ถ้าเกิดรอยช่องว่างเห็ นเน้ื อสีแฟลกซ์
(Flex) กใ็ หป้ ิ ดแผน่ ทองคาเปลวทบั ลงไปตรงจุด
น้ั น เป็ น ก า ร ปิ ด ช่ อ ง ว่ า งน้ั น ด้ ว ย แ ผ่ น
ทองคาเปลวท้งั แผ่น รักษาระยะของรอยต่อ
แผ่นทองคาเปลว ใหซ้ อ้ นทบั กนั เป็ นระยะเท่า ๆ
กนั ( การปิ ดทองคาเปลว ในคร้งั น้ีจะตอ้ งใช้
กระบะ หรือกล่องกระดาษ ไวส้ าหรบั รองรบั ผง
หรือฝ่ ุนทองคาเปลวท่ีจะเกิดในข้นั ตอนการปิ ด
ทอง )

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บญุ ทรง สาขาวชิ าหตั ถศิลป์ (2554) ๔๙

15.เมื่ อปิ ดแผ่น ท องคาเปลวได้ท่ัวท้ัง
ช้ินงานแล้ว ทาการตรวจสอบว่ามีช่องว่างให้
เห็นเน้ือสีแฟลกซ์ (Flex) หรือไม่ ถา้ มีก็ให้ทา
ก ารปิ ด แผ่น ท อ งเป ล วทับ ล งไป ให้แผ่น

ทองคาเปลวปิ ดคุมช้ินงานใหท้ วั่ ท้งั ชิ้นงาน

16. ใชน้ ้ิวมือ กรวจ หรือกดแผน่ ทองคาเปลวให้ตดิ ลงบนผวิ ช้ินงานดินเผา ในส่วนมีเป็ นพ้ืนเรียบ
ในส่วนที่สามารถ กรวจหรือกดได้ ( ในการกรวจหรือกดแผน่ ทองคาเปลวน้ีจะตอ้ งมีความชานาญ )
กรวจหรือกดแผน่ ทองคาเปลว ตอ้ งทาอยา่ งเบา ๆ ใหแ้ ผน่ ทองคาเปลวติดแน่นลงบนเน้ือสีแฟลกซ์
(Flex) ที่ยงั มียางของสีแฟลกซ์ (Flex) อยู่

ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บญุ ทรง สาขาวชิ าหตั ถศิลป์ (2554) ๕๐

17.ใช้พู่กันขนอ่อน ๆ นามาทาการกระทุง้
แผ่นทองคาเปลว ให้แผ่นทองคาเปลวติดลงไป
ในร่องหรือลวดลายตา่ ง ๆ

(พู่ กั น ที่ น า ม าท าก า ร ก ร ะ ทุ้ งแ ผ่ น
ทองคาเปลวน้ีจะตอ้ งเป็ นพู่กันหรือแปรงขน
อ่อน ๆ จะไม่ทาใหแ้ ผน่ ทองคาเปลวซ้าได)้

18. ใชน้ ้ิวมือ กรวจ หรือกดแผน่ ทองคาเปลว
ใหต้ ิดลงบนผวิ ชิ้นงานดินเผา ในส่วนมีเป็นพ้ืน
เรียบ ในส่วนที่สามารถ กรวจหรือกดได้ ( ใน
การกรวจหรือกดแผ่นทองคาเปลวน้ีจะต้องมี
ความชานาญ ) กรวจหรือกดแผน่ ทองคาเปลว
ตอ้ งทาอยา่ งเบา ๆ ให้แผ่นทองคาเปลวติดแน่น
ลงบนเน้ือสีแฟลกซ์ (Flex) ทียงั มียางของสี
แฟลกซ์ (Flex) อยู่

19. กรวจหรือกดแผ่นทองคาเปลว ตอ้ งทาอยา่ ง
เบา ๆ ให้แผ่นทองคาเปลวติดแน่นลงบนเน้ือสี
แฟลกซ์ (Flex) ทียงั มียางของสีแฟลกซ์ (Flex)
อยู่

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บญุ ทรง สาขาวิชาหตั ถศิลป์ (2554) ๕๑

2 0 . ก า ร ก ร ว จ ห รื อ ก า ร ก ร ะ ทุ้ ง แ ผ่ น
ทองคาเปลว จะตอ้ งมีแผ่นทองคาเปลวหรือผง
ฝ่นุ ทองตดิ ทนี่ ้ิวมือ หรือปลายพกู่ นั ทุกคร้ัง

ถา้ ไม่มีผงฝ่ ุนทอง จะทาให้เกิดรอยด้าง
ของการปิ ดทองเกิดข้ึนไดจ้ ะเห็นเน้ือสีแฟลกซ์
(Flex) ได้

ต ร ว จ ส อ บ ชิ้ น ง า น ว่ า ท า ก า ร ปิ ด
ทองคาเปลวทง่ั ช้ินงานทุกจดุ ครบหรือไม่ อยา่ ให้
มีรอยดา้ งของการปิ ดทองเกิดข้นึ ได้

21. เมื่อทาการกระทุง้ แผ่นทองคาเปลว จะ
เกิดผงฝ่ ุนทองคาเปลวข้ึนสามารถนาผงฝ่ ุน
ทองคาเปลวกลบั มาใช้ในการกระทุง้ ลงในร่อง
ลวดลายต่าง ๆ ได้ หรือสามารถเปิ ดแผ่น
ทองคาเปลวใหม่มาใชใ้ นการกระทงุ้ ได้

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บญุ ทรง สาขาวชิ าหตั ถศิลป์ (2554) ๕๒

30. ผลงานทีทาการปิ ดทองคาเปลว 100% เสร็จเรียบรอ้ ย

ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุรัฐ บุญทรง สาขาวิชาหตั ถศิลป์ (2554) ๕๓


Click to View FlipBook Version