2
คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มบริหารวชิ าการ
วสิ ยั ทศั น์โรงเรยี น
วิสยั ทศั น์ (VISION)
โรงเรยี นธัญบุรเี ปน็ องคก์ รแห่งการเรยี นรู้ มีความกา้ วหน้าทางวชิ าการ ส่มู าตรฐานสากล สร้างคนดมี ี
คณุ ธรรม น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
พันธกจิ (MISSION) :
1. จัดการศึกษาท่หี ลากหลายสง่ เสรมิ และพฒั นาผู้เรยี นให้มีศกั ยภาพเป็นพลโลก
World Citizen) จัดระบบสนับสนุนจดั การเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล
2. มุง่ พัฒนาผเู้ รียนเป็นคนดีมีคณุ ธรรมอยูร่ ว่ มกบั ผอู้ ืน่ ในสงั คมหลากหลายวฒั นธรรม มโี อกาสไดร้ บั การศึกษา
ท่มี คี ณุ ภาพตามความสามารถ
3. มุง่ พัฒนาผเู้ รยี นและบคุ ลากรทางการศึกษา โดยนอ้ มนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนิน
ชีวติ
4. ยกระดบั มาตรฐานวิชาชีพครู บุคลากรทางการศกึ ษา ให้เปน็ ผ้มู คี วามสามารถและ ทักษะที่เหมาะสมกับ
การพฒั นาการเรยี นรู้ของผเู้ รียน
คตพิ จน์ วริ ิเยน ทุกฺขมจฺ เจติ คนล่วงทุกข์ไดด้ ว้ ยความเพยี ร
ปรชั ญา เรยี นดี ประพฤติดี มีวินยั จิตใจสะอาด มารยาทงาม
พระพทุ ธรปู ประจำโรงเรียน พระศรธี ัญญะรัตนมหามนุ ี
ดอกไม้ประจำโรงเรยี น ดอกบัวหลวง
ต้นไม้ประจำโรงเรียน ต้นสัตตบรรณ
สปี ระจำโรงเรียน ขาว – แดง
ตราประจำโรงเรยี น
3
สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนธัญบุรี (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ ให้ผู้เรยี นเกิดสมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดงั นี้
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอด
ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะ
เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปญั หาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การ
เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มี
ประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ีตอ่ ตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ อย่างสร้างสรรค์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
เกย่ี วกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คณุ ธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พันธ์และการเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรมู้ าใช้ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจ
ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่เกิดข้นึ ต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดล้อม
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้าง
เสริมความสัมพันธอ์ นั ดรี ะหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตวั ให้ทนั กับ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อ
ตนเองและผ้อู นื่
๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ
แก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม
คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นธัญบรุ ี (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖5) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
ข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นให้มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอยูร่ ว่ มกบั ผู้อนื่ ใน
สงั คมได้อย่างมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซ่ือสัตย์สุจรติ
๓. มีวินยั
๔. ใฝเ่ รยี นรู้
๕. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
๗. รักความเปน็ ไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ
4
ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.
๑. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
๒. ซื่อสัตย์ เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณ์ในสิ่งทดี่ ีงามเพื่อส่วนรวม
๓. กตัญญตู อ่ พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ครบู าอาจารย์
๔. ใฝห่ าความรู้ หมัน่ ศกึ ษาเล่าเรยี นทัง้ ทางตรง และทางอ้อม
๕. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
๖. มีศีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวังดตี ่อผอู้ ืน่ เผ่ือแผ่และแบ่งปนั
๗. เข้าใจเรียนรกู้ ารเปน็ ประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ท่ีถูกต้อง
๘. มีระเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรู้จักการเคารพผใู้ หญ่
๙. มสี ตริ ้ตู วั รคู้ ดิ ร้ทู ำ รูป้ ฏิบตั ติ ามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว
๑๐. รู้จกั ดำรงตนอยู่โดยใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดำรสั ของพระบาท สมเดจ็ พระ
เจา้ อยูห่ วั รจู้ ักอดออมไว้ใช้เมือ่ ยามจำเปน็ มีไว้พอกินพอใช้ ถา้ เหลอื ก็แจกจ่ายจำหนา่ ย และพร้อมที่จะขยายกิจการ
เมือ่ มีความพร้อม เม่ือมีภมู คิ มุ้ กันท่ดี ี
๑๑. มคี วามเขม้ แข็งท้ังร่างกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพต้ ่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรอื กิเลสมคี วามละอายเกรงกลัวต่อ
บาปตามหลกั ของศาสนา
๑๒. คำนึงถงึ ผลประโยชนข์ องส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
5
โครงสร้างกลุม่ บริหารวชิ าการ
ผู้อำนวยการโรงเรียน
รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวชิ าการ
หัวหน้างานจดั การเรยี นการสอน หัวหน้างานหลกั สตู รและพฒั นาวิชาการ
นายสนั ติ จ่นั ผ่อง นางสาวชวาลัย เกดิ โพธพ์ิ ว่ ง
- งานวางแผนงานดา้ นวชิ าการ (ครสู นั ติ)
- งานพัฒนาหลกั สูตรของสถานศึกษา (ครสู ขุ มุ าภรณ์)
- งานพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ (ครูชวาลยั )
- งานจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา (ครสู นั ต)ิ
- งานนิเทศการศกึ ษา (ครูชวาลยั )
- งานวดั ผล ประเมนิ ผลและเทยี บโอนผลการเรยี น (ครูนลินี)
- งานพฒั นาและส่งเสริมให้มแี หลง่ เรยี นรู้ (ครวู ชั ราภรณ)์
- งานคัดเลอื กหนังสือ แบบเรียนเพอ่ื ใชใ้ นสถานศกึ ษา (ครูชวาลัย)
- งานพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา (ครนู ุชนาถ)
- งานวิจยั และพฒั นาคุณภาพการศึกษาในสถานศกึ ษา (ครลู กั ษกิ า)
- งานพฒั นาและใช้สือ่ เทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา (ครอู นรุ กั ษ์)
- งานสง่ เสริมความเขม้ แข็งทางวิชาการแกช่ ุมชน และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
(ครภู นทั ชา)
- งานจัดทำระเบยี บและแนโควรปงฏสิบรัต้าิเงกก่ยี ลว่มุ กบบั รงหิานารววชิ ชิากาากราร(ครจู ฑุ ามาศ)
- งานตามนโยบายและจดุ เน้น (ครสู นั ติ)
6
ผู้อำนวยการโรงเรยี น
รองผูอ้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวิชาการ
หัวหน้างานจดั การเรียนการสอน หัวหนา้ งานหลักสตู รและพัฒนาวิชาการ
นายสนั ติ จน่ั ผอ่ ง นางสาวชวาลัย เกิดโพธ์ิพว่ ง
- งานวางแผนงานดา้ นวชิ าการ (ครูสันติ) - งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา (ครสู ขุ ุมาภรณ์)
- งานจดั การเรยี นการสอน (ครสู ันต)ิ - งานพัฒนากระบวนการเรียนรู้ (ครชู วาลยั )
ห้องเรียนท่วั ไป (หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ)
ห้องเรียนโครงการพเิ ศษ (ครูนปภชั ) - งานวจิ ยั และพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา (ครลู ักษิกา)
การศกึ ษาพิเศษ (ครูจุฑารัตน์) - งานพฒั นาและส่งเสรมิ ให้มแี หล่งเรียนรู้
- งานวดั ผลประเมินผลและเทียบโอนผลการเรยี น (ครู (ครวู ชั ราภรณ)์
นลิน)ี หอ้ งสมุด (ครูวชั ราภรณ์)
หอ้ งปฏิบตั กิ าร/ห้องเรยี นคุณภาพ (ครูจุไรภรณ์)
- งานพัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในและ
มาตรฐานการศกึ ษา (ครนู ุชนาถ) - งานนเิ ทศการศึกษา (ครูชวาลัย)
- งานคดั เลือกหนงั สือ แบบเรียน (ครูชวาลัย)
- บงราหิ นาส่งรเวสิชริมาคกวาารมเขม้ แข็งทางวิชาการแก่ชุมชน - งานพฒั นาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา
และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น (ครภู นัทชา) (ครูอนุรักษ์)
งานจัดทำระเบยี บและแนวปฏบิ ัติเกยี่ วกบั งาน
- งานตามนโยบายและจุดเนน้ วชิ าการ (ครจู ุฑามาศ)
โรงเรียนมาตรฐานสากล (ครูสนั ติ) งานสารบรรณ (ครจู ุฑามาศ)
โรงเรียนพฤกษศาสตร์ (ครสู ขุ สวัสด)์ิ งานสำนักงานวิชาการ (ครูจุฑามาศ)
สถานศกึ ษาพอเพียง (ครสู ุพรรณี) สารสนเทศ (ครอู นนั ต์)
ศนู ย์ภาษาไทย สพม.4 (ครูวิชญ)์
ศูนย์ AFS ปทมุ ธานี (ครูปิยาภรณ)์
การรบั นกั เรยี น (ครูอนุรักษ)์
การศกึ ษานอกระบบ (ครูนาที)
7
การบรหิ ารวิชาการ
แนวคดิ หลกั ในการบริหารวิชาการ
การบรหิ ารงานวิชาการเป็นภารกิจทสี่ ำคญั ของการบรหิ ารโรงเรียนตามทพ่ี ระราชบญั ญตั ิ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ้ ขเพมิ่ เติม(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2545 ถือเปน็ งานทีม่ คี วามสำคัญทสี่ ดุ เปน็
หัวใจของการจดั การศกึ ษา ซึ่งท้งั ผู้บรหิ าร โรงเรยี น คณะครู และผู้มีสว่ นเกยี่ วขอ้ งทุกฝ่าย ต้องมีความรคู้ วามเขา้ ใจ
ให้ความสำคญั และ มีส่วนร่วมในการวางแผน กำหนดแนวทางปฏิบตั ิการประเมนิ ผล และการปรับปรุงแก้ไขอยา่ ง
เป็น ระบบและต่อเน่อื ง มุ่งให้กระจายอำนาจในการบรหิ ารจดั การไปให้สถานศึกษาให้มากทีส่ ุด ด้วยเจตนารมณ์ท่ี
จะใหส้ ถานศึกษาดำเนินการได้โดยอสิ ระ คล่องตัว รวดเรว็ สอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียน โรงเรยี น
ชมุ ชน ท้องถนิ่ และการมีส่วนร่วมจากผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ทกุ ฝา่ ย ซงึ่ จะเป็นปจั จยั สำคัญทำให้สถานศึกษามีความ
เข้มแข็งในการบรหิ ารและจัดการ สามารถพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรยี นรู้ตลอดจนการวัดผล ประเมนิ ผล
รวมท้ังปัจจัยเก้ือหนนุ การพัฒนาคุณภาพนักเรยี น โรงเรยี น ชมุ ชน ท้องถ่ิน ได้อยา่ งมคี ุณภาพและมีประสิทธิภาพ
วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้บริหารงานด้านวิชาการได้โดยอิสระ คล่องตัว รวดเร็ว และ สอดคล้องกับความต้องการของ
นักเรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิน่
2. เพื่อให้การบริหาร และ การจัดการศึกษาของโรงเรียนได้มาตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคล้องกับระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพื่อพัฒนาตนเอง และ จากการประเมิน
หน่วยงานภายนอก
3. เพื่อให้โรงเรยี นพัฒนาหลักสูตร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปัจจัยหนุนการเรียนรู้ทีส่ นองต่อความ
ต้องการของผูเ้ รยี น ชุมชน และ ท้องถ่นิ โดยยดึ ผู้เรียนเป็นสำคญั ไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ และ ประสิทธิภาพ
4. เพอื่ ใหโ้ รงเรียนได้ประสานความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และ ของบุคคล
ครอบครวั องคก์ ร หนว่ ยงาน และ สถาบนั อืน่ ๆอย่างกวา้ งขวาง
ขอบข่ายและภารกจิ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
1. การพฒั นาหรือการดำเนนิ การเกย่ี วกบั การให้ความเหน็ การพัฒนาสาระหลกั สูตรท้องถิน่
บทบาทและหน้าที่
1. วเิ คราะหก์ รอบสาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ ที่สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาจดั ทำไว้
2. วเิ คราะหห์ ลักสตู รสถานศกึ ษาเพื่อกำหนดจุดเนน้ หรอื ประเดน็ ท่ีสถานศกึ ษาให้
ความสำคญั
3. ศกึ ษา และวิเคราะหข์ ้อมลู สารสนเทศของสถานศึกษา และชมุ ชนเพอื่ นำมาเปน็ ขอ้ มูล
จดั ทำสาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ินของสถานศกึ ษาให้สมบรู ณย์ งิ่ ขึน้
4. จัดทำสาระการเรยี นรทู้ ้องถิน่ ของสถานศึกษา เพ่อื นำไปจัดทำรายวิชาพ้ืนฐานหรอื
รายวิชาเพ่มิ เตมิ จดั ทำคำอธบิ ายรายวิชา หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ เพ่อื จดั ประสบการณ์
และจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้แกผ่ ู้เรยี น ประเมินผล และปรบั ปรงุ
5. ผ้บู รหิ ารศึกษาอนมุ ตั ิ
8
2. การวางแผนงานด้านวิชาการ
บทบาทและหนา้ ที่
1. วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมขอ้ มูลและกำกับดแู ล นิเทศและตดิ ตามเกยี่ วกับงานวิชาการ
ไดแ้ ก่ การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ การวดั ผล ประเมินผล และ การ
เทยี บโอนผลการเรยี น การประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา การพฒั นาและใช้ สื่อ และ
เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา การพัฒนาและสง่ เสริมใหม้ แี หล่งเรียนรู้การวจิ ัยเพ่อื พฒั นา คุณภาพการศึกษา
และส่งเสริมชมุ ชนใหม้ ีความเขม้ แข็งทางวิชาการ
2. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาอนุมตั ิโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
3. การจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. จัดทำแผนการเรยี นรทู้ ุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
2. จัดการเรยี นการสอนทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ุกช่วงชัน้ ตามแนวปฏบิ ัตกิ ารเรยี นรโู้ ดยเน้นผเู้ รียนเปน็
สำคัญ พฒั นาคุณธรรมนำความร้ตู ามหลกั การปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
3. ใช้ส่อื การเรียนการสอน และแหลง่ การเรียนรู้
4. จัดกจิ กรรมพัฒนาห้องสมดุ ห้องปฏิบตั ิการต่างๆ ให้เอื้อต่อการเรียนรู้
5. สง่ เสรมิ การวิจัย และพฒั นาการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้
6. สง่ เสรมิ การพัฒนาความเป็นเลศิ ของนักเรียน และชว่ ยเหลือนักเรยี นพกิ าร ด้อยโอกาสและ
มคี วามสามารถพิเศษ
4. การพฒั นาหลักสตู รของสถานศึกษา
บทบาทและหนา้ ที่
1. จดั ทำหลักสูตรเป็นของตนเองโดยจดั ใหม้ ีการวจิ ัย และพัฒนาหลักสตู ร ใหท้ ันกับการเปล่ียนแปลง
ทางดา้ นเศรษฐกิจและสงั คม จัดทำหลักสตู รทีม่ ุ่งเน้นพัฒนานกั เรียนใหเ้ ป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สตปิ ญั ญา มีความรู้และคุณธรรม สามารถอยรู่ ่วมกับผอู้ น่ื ได้อย่างมีความสุข จัดให้มวี ิชาต่างๆ ครบถว้ นตาม
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาพน้ื ฐานของกระทรวงศึกษาธิการ
2. เพม่ิ เตมิ เนือ้ หาสาระของรายวิชาไดแ้ ก่ การศกึ ษาดา้ นศาสนา ดนตรี นาฏศลิ ป์ กีฬา การศกึ ษาท่ีสง่ เสริม
ความเปน็ เลิศ ผบู้ กพร่อง
3. เพ่ิมเตมิ เนื้อหาสาระของรายวชิ าท่สี อดคลอ้ งสภาพปัญหาความตอ้ งการของผู้เรยี น ผปู้ กครอง ชมุ ชน
สังคม และอาเซยี น
5. การพัฒนากระบวนการเรยี นรู้
บทบาทและหน้าที่
1. จดั เน้ือหาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจ และความถนัดของผ้เู รียนโดย
คำนงึ ถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
2. ฝกึ ทักษะ กระบวนการคิด การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพื่อปอ้ งกนั และแก้ไข
ปญั หา
3. จดั กจิ กรรมใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้จากประสบการณจ์ รงิ ฝกึ การปฏิบัตใิ ห้ทำได้ คิดเป็น ทำเปน็ รกั การอ่าน
และเกดิ การใฝร่ อู้ ย่างต่อเนอ่ื ง
9
4. จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรูด้ ้านตา่ งๆ อย่างได้สัดสว่ นสมดุลกนั รวมทงั้ ปลกู ฝงั
คุณธรรม คา่ นิยมที่ดีงามและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ไว้ในทกุ กลมุ่ สาระ/วิชา
5. สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ผ้สู อนสามารถจดั บรรยากาศสภาพแวดล้อม สอ่ื การเรยี น และอำนวยความสะดวก
เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรู้ และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใชก้ ารวจิ ัยเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการเรียนรู้ ทัง้ น้ี
ผ้สู อนและผเู้ รยี นรูอ้ าจเรียนรู้ไปพรอ้ มกันจากสอ่ื การเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทตา่ ง ๆ
6. จัดการเรยี นรูใ้ หเ้ กิดขึน้ ได้ทุกเวลา ทกุ สถานท่ี มกี ารประสานความร่วมมือ กับบิดามารดาและบุคคลใน
ชมุ ชนทุกฝา่ ย เพื่อร่วมกนั พัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
7. ศกึ ษาคน้ ควา้ พฒั นารปู แบบหรอื การออกแบบกระบวนการเรยี นรทู้ ่ี
6. การวัดผล ประเมนิ ผล และดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี น
บทบาทและหนา้ ที่
1. กำหนดระเบียบการวัด และประเมนิ ผลของสถานศกึ ษาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาโดยให้
สอดคลอ้ ง กับนโยบายระดบั ประเทศ
2. จดั ทำเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บการวดั และประเมนิ ผลของสถานศกึ ษา
3. วดั ผล ประเมินผล เทยี บโอนประสบการณ์ ผลการเรียนและอนุมตั ิผลการเรียน
4. จัดให้มกี ารประเมนิ ผลการเรียนทุกชว่ งช้ัน และจดั ให้มีการซอ่ มเสรมิ กรณีที่มีผู้เรียน ไมผ่ ่าน
เกณฑ์การประเมนิ
5. ใหม้ กี ารพฒั นาเครอ่ื งมือในการวดั และประเมินผล
6. จัดระบบสารสนเทศด้านการวัดผลประเมนิ ผล และการเทยี บโอนผลการเรียนเพื่อใชใ้ นการอ้างองิ
ตรวจสอบ และใช้ประโยชน์ในการพฒั นาการเรียนการสอน
7. ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั ิผลการประเมินการเรยี นดา้ นต่างๆ รายปี รายภาคและตัดสินผลการเรียนผา่ น
ระดับชั้นและจบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
8. การเทียบโอนผลการเรยี นเป็นอำนาจของสถานศกึ ษา ท่ีจะแต่งต้งั คณะกรรมการดำเนินการ
เพ่อื กำหนดหลกั เกณฑว์ ธิ ีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทยี บระดบั การศกึ ษาท้งั ในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั
คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร และวิชาการ พร้อมท้ังให้ผ้บู ริหาร
สถานศกึ ษาอนุมตั ิการเทียบโอน
7. การวจิ ัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ที่
1. กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้ การวิจยั เป็นส่วนหนง่ึ ของกระบวนการเรียนรู้และกระบวนการ
ทำงานของนักเรียน ครู และผเู้ กี่ยวขอ้ งกบั การศึกษา
2. พัฒนาครู และนักเรียนใหม้ ีความรู้เกี่ยวกับการปฏริ ูปการเรยี นรู้ โดยใชก้ ระบวนการวิจยั เป็นสำคญั ในการ
เรียนรู้ท่ีซบั ซอ้ นขึน้ ทำให้ผู้เรียนได้ฝึกการคดิ การจดั การ การหาเหตุผลในการตอบปญั หา
3. พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาด้วยกระบวนการวจิ ยั
4. รวบรวม และเผยแพรผ่ ลการวิจยั เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา รวมทั้งสนบั สนนุ ให้ครนู ำ
ผลการวิจยั มาใช้เพ่อื พัฒนาการเรียนรแู้ ละพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
10
8. การพฒั นาและส่งเสรมิ ใหม้ ีแหล่งเรียนรู้
บทบาทและหนา้ ที่
1. จัดให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา ให้พอเพยี งเพ่ือ
สนับสนนุ การแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองกับการจดั กระบวนการเรียนรู้
2. จดั ระบบแหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรยี นให้เอ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้ของผเู้ รียน เชน่
พัฒนาหอ้ งสมุดให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ มมุ หนงั สือในห้องเรียน หอ้ งดนตรี หอ้ งคอมพิวเตอร์ ห้องพยาบาล หอ้ ง
ศูนย์วชิ าการ สวนสุขภาพ สวนหนงั สือ เป็นต้น
3. จัดระบบข้อมูลแหล่งการเรยี นร้ใู นทอ้ งถ่นิ ใหเ้ อื้อต่อการจดั การเรียนรู้ ของผู้เรียน ของ
สถานศึกษาของตนเอง
4. ส่งเสรมิ ให้ครแู ละผเู้ รยี นได้ใช้แหลง่ เรียนรู้ ท้ังในและนอกสถานศึกษา เพื่อพฒั นาการ
เรียนรู้ และ นิเทศ กำกับติดตาม ประเมนิ และปรบั ปรุงอย่างต่อเน่ือง
5. สง่ เสริมใหค้ รู และผูเ้ รยี นใชแ้ หล่งเรียนรทู้ ั้งภายในและภายนอก
9. การนิเทศการศึกษา
บทบาทและหน้าท่ี
1. สรา้ งความตระหนักใหแ้ กค่ รู และผเู้ กย่ี วข้องใหเ้ ข้าใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเป็น
กระบวนการทำงานร่วมกนั ท่ีใช้เหตผุ ลการนเิ ทศ เปน็ การพัฒนาปรับปรงุ วิธกี ารทำงานของแต่ละบุคคล ให้มคี ุณภาพ
การนเิ ทศเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหาร เพ่ือให้ทุกคนเกิดความเชอื่ ม่นั วา่ ไดป้ ฏิบัตถิ กู ต้อง ก้าวหนา้ และเกิด
ประโยชน์สูงสุดตอ่ ผเู้ รยี น และตัวครเู อง
2. จัดการนเิ ทศภายในสถานศึกษาให้มีคุณภาพทวั่ ถงึ และต่อเนื่องเป็นระบบและ
กระบวนการ
3. จดั ระบบนเิ ทศภายในสถานศึกษาให้เชื่อมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขต
พน้ื ทกี่ ารศกึ ษา
10. การแนะแนว
บทบาทและหน้าที่
1. กำหนดนโยบายการจัดการศึกษา ท่มี ีการแนะแนวเปน็ องคป์ ระกอบสำคัญ โดยให้ทุก
คนในสถานศึกษาตระหนักถึงการมีสว่ นรว่ มในกระบวนการแนะแนว และการดูแลชว่ ยเหลือ
2. จดั ระบบงานและโครงสร้างองคก์ รแนะแนว และดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นของสถานศกึ ษาให้
ชดั เจน
3. สร้างความตระหนักใหค้ รูทุกคนเห็นคุณคา่ ของการแนะแนว และดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
4. สง่ เสรมิ และพฒั นาใหค้ รูได้รับความร้เู พิม่ เตมิ เร่อื งจติ วิทยาและการแนะแนวและดูแล
ชว่ ยเหลอื นกั เรียน เพือ่ ใหส้ ามารถบูรณาการในการจัดการเรียนรแู้ ละเช่ือมโยงสู่การดำรงชวี ติ ประจำวัน
5. คัดเลอื กบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถและบุคลกิ ภาพที่เหมาะสม ทำหน้าทค่ี รูแนะ
แนว ครูท่ปี รึกษา ครปู ระจำชัน้ และคณะอนุกรรมการแนะแนว
6. ดแู ล กำกบั นิเทศ ติดตามและสนับสนนุ การดำเนินงานแนะแนว และดูแลช่วยเหลอื
นักเรียนอยา่ งเป็นระบบ
7. ส่งเสรมิ ความรว่ มมอื และความเข้าใจอนั ดีระหว่างครู ผ้ปู กครอง และชมุ ชน
11
8. ประสานงานด้านการแนะแนวระหว่างสถานศึกษา องคก์ ร ภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสนสถาน
ชมุ ชนในลกั ษณะเครือขา่ ยการแนะแนว
9. เช่อื มโยงระบบแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น
11. การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศกึ ษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
2. จดั ทำแผนสถานศกึ ษาท่ีมุ่งเนน้ คณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ์/แผนยทุ ธศาสตร)์
3. จดั ทำระบบบริหารและสารสนเทศ
4. ดำเนินการตามแผนพฒั นาสถานศกึ ษาในการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมสถานศึกษาต้อง
สร้างระบบ การทำงานท่ีเขม้ แข็งเนน้ การมสี ่วนรว่ ม และวงจรการพัฒนาคณุ ภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle)
หรอื ท่ีร้จู กั กันวา่ วงจร PDCA
5. ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยการดำเนนิ การอยา่ งจริงจังต่อเนื่องด้วยการ
สนับสนนุ ให้ครู ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วม
6. ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาตามมาตรฐานท่กี ำหนด เพื่อรองรบั การ
ประเมนิ คุณภาพภายนอก
7. จดั ทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี (SAR) และสรุปรายงานประจำปี โดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานเสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กัด และเผยแพรต่ ่อสาธารณชน
12. การสง่ เสรมิ ชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวชิ าการ
บทบาทและหน้าท่ี
1. จดั กระบวนการเรียนรรู้ ่วมกบั บคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่
เอกชน องค์กรวชิ าชีพ สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อื่น
2. สง่ เสริมความเข้มแขง็ ของชมุ ชน โดยการจัดกระบวนการเรยี นรภู้ ายในชมุ ชน
3. ส่งเสริมให้ชุมชนมีการจัดการศกึ ษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสารและ
เลือกสรรภมู ิปญั ญา วทิ ยาการตา่ งๆ
4. พฒั นาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปญั หา และความตอ้ งการรวมทัง้ หาวิธีการสนบั สนนุ
ให้มกี ารแลกเปลีย่ นประสบการณร์ ะหว่างชมุ ชน
13. การประสานความร่วมมือในการพฒั นาวชิ าการกับสถานศึกษา และองค์กรอืน่
บทบาทและหน้าที่
1. ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวทิ ยากรภายนอกและภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น เพอ่ื
เสริมสร้าง พฒั นาการของนักเรยี นทุกด้าน รวมท้งั สบื สานจารีตประเพณศี ลิ ปวัฒนธรรมท้องถ่ิน
2. เสรมิ สรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหว่างสถานศึกษากบั ชมุ ชน ตลอดจนประสานงานกับองคก์ รท้ัง
ภาครัฐ และเอกชน เพ่ือให้สถานศึกษาเปน็ แหล่งวิทยาการของชมุ ชน เพ่ือใหส้ ถานศึกษาเป็นแหล่ง
วทิ ยาการของชมุ ชน และมีสว่ นในการพฒั นาชุมชนและท้องถน่ิ
3. ใหบ้ ริการด้านวิชาการท่สี ามารถเชอ่ื มโยงหรือแลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสารกับแหล่งวิชาการ
ในทีอ่ ่นื ๆ
4. จดั กจิ กรรมรว่ มกับชุมชนเพื่อส่งเสรมิ วัฒนธรรมการสร้างความสมั พนั ธอ์ ันดีกบั ศิษยเ์ ก่า
12
การประชมุ ผูป้ กครองนักเรยี น การปฏบิ ตั ิงานรว่ มกับชุมชน การร่วมกจิ กรรมกบั สถาบันการศึกษาอืน่ เปน็ ต้น
14. การส่งเสรมิ และสนับสนนุ งานวชิ าการแก่บคุ คล ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงาน สถานประกอบการ และ
สถาบันอืน่ ที่จัดการศึกษา
บทบาทและหนา้ ที่
1. ประชาสมั พนั ธ์สร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรชุมชน องค์กร
ปกครอง ส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบัน สังคม
อนื่ ในเรอื่ งเก่ยี วกบั สิทธใิ นการจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานการศึกษา
2. จัดใหม้ ีการสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ การเพมิ่ ความพร้อมให้กบั บุคคล ครอบครัว
ชุมชน องคก์ รชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการและสถาบันสงั คมอืน่ ที่รว่ มจดั การศกึ ษา
3. ร่วมกบั บคุ คล ครอบครัว ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน เอกชน
องค์กร เอกชนองค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สังคมอื่นที่ร่วมจัดการศึกษา และใช้
ทรพั ยากรร่วมกันให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด
4. ส่งเสริมสนบั สนนุ ให้มกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรรู้ ะหวา่ งสถานศึกษากับบุคคล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอื่น
5. สง่ เสริมสนบั สนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบัน
ศาสนาสถานประกอบการและสถาบันสงั คมอนื่ ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือทางด้านวิชาการตามความ เหมาะสมและจำเป็น
6. สง่ เสรมิ และพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ ทงั้ ดา้ นคุณภาพและปรมิ าณ เพอื่ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต
อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ
15. การจดั ทำระเบียบและแนวปฏิบัตเิ กีย่ วกับงานด้านวิชาการของสถานศกึ ษา
บทบาทและหน้าท่ี
1. ศึกษาและวเิ คราะหร์ ะเบยี บ และแนวปฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั งานด้านวิชาการของสถานศึกษา
เพอ่ื ให้ ผู้ท่ี เกยี่ วขอ้ งรบั รู้ และถือปฏิบตั ิเป็นแนวเดียวกัน
2. จดั ระเบยี บ และแนวปฏบิ ัติเก่ียวกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศึกษา เพื่อให้ผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ ง
รับรู้ และถอื ปฏิบตั เิ ปน็ แนวเดียวกนั
3. ตรวจสอบร่างระเบยี บและแนวปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับงานดา้ นวชิ าการของสถานศึกษา และแก้ไข
ปรับปรุง
4. นำระเบียบและแนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั งานด้านวชิ าการของสถานศกึ ษาไปสกู่ ารปฏิบัติ
5. ตรวจสอบ และประเมินผล การใช้ระเบียบและแนวปฏิบัตเิ ก่ยี วกับงานดา้ นวิชาการของ
สถานศึกษาและนำไปแกไ้ ขปรบั ปรงุ ใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป
16. การคดั เลือกหนงั สือ แบบเรยี นเพ่ือใช้ในสถานศึกษา
บทบาทและหนา้ ท่ี
1. ศกึ ษา วเิ คราะห์ คัดเลือกหนงั สอื เรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ต่างๆ ทม่ี ีคณุ ภาพสอดคล้อง
กบั หลกั สูตรสถานศึกษา เพื่อเปน็ หนงั สอื แบบเรียนใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน
2. จดั ทำหนังสอื เรยี น หนังสือเสรมิ ประสบการณ์ หนงั สอื อา่ นประกอบ แบบฝึกหัด ใบ
งาน ใบความรู้ เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอน
13
3. ตรวจพิจารณาคุณภาพ หนงั สือเรยี นเรยี น หนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ หนงั สืออา่ น
ประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบความรู้ เพ่ือใช้ประกอบการเรยี นการสอน
17. การพฒั นา และใชส้ อื่ เทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา
บทบาทและหน้าที่
1. จัดใหม้ กี ารรว่ มกันกำหนดนโยบาย วางแผนในเรือ่ งการจดั หาและพัฒนาส่ือการเรียนรู้
และ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
2. พัฒนาบคุ ลากรใสถานศึกษาในเร่ืองเกยี่ วกับการพัฒนาสอ่ื การเรยี นรู้ และเทคโนโลยเี พื่อ
การศกึ ษา พร้อมทง้ั ใหม้ ีการจัดตง้ั เครือข่ายทางวชิ าการ ชมรมวิชาการเพ่ือเปน็ แหล่งการเรยี นรู้3. 3. พัฒนาและใช้
ส่อื และเทคโนโลยีทางการศกึ ษา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาสอื่ และเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ให้ข้อเท็จจริงเพือ่ สร้างองค์
ความรใู้ หม่ๆเกดิ ข้นึ โดยเฉพาะหาแหลง่ ส่อื ทเี่ สริมการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาให้มปี ระสทิ ธภิ าพ
3. พฒั นาหอ้ งสมุดของสถานศึกษา ใหเ้ ป็นแหล่งการเรยี นรู้ของสถานศกึ ษา และชมุ ชน
4. นิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของบุคลากรในการจัดหา ผลติ ใช้และพฒั นาสื่อ และ
เทคโนโลยที างการศึกษา
14
ดา้ นบรหิ ารวิชาการ
ขอบข่ายงานบริหารวิชาการ มดี งั นี้
1. การพัฒนาหรือการดำเนินงานเกย่ี วกบั การให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลกั สตู รท้องถิน่
หน้าทรี่ บั ผิดชอบปฏิบัติงานดังนี้
1) วเิ คราะหก์ รอบสาระการเรยี นรูท้ ้องถนิ่ ท่สี ำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาจดั ทำไว้
2) วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาเพื่อกำหนดจุดเน้นหรือประเด็นที่สถานศึกษาหรือกลุ่มเครือข่าย
สถานศกึ ษาให้ความสำคัญ
3) ศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลสารสนเทศของสถานศกึ ษาและชมุ ชนเพื่อนำมาเป็นข้อมูลจัดทำสาระ
การเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่ ของสถานศึกษาให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้
4) จัดทำสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของสถานศึกษาเพื่อนำไปจัดทำรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชา
เพิ่มเติมจัดทำคำอธิบายรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อจัดประสบการณ์และกิจกรรมการเรยี น
การสอนให้แกผ่ ูเ้ รยี นประเมนิ ผลและปรับปรงุ
5) ผบู้ ริหารสถานศึกษาอนุมตั ิ
2. การวางแผนงานดา้ นวิชาการ หน้าทีร่ ับผิดชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้
1) วางแผนงานด้านวิชาการโดยการรวบรวมข้อมูลและกำกับ ดูแล นิเทศและติดตามเกี่ยวกับงาน
วิชาการ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การวัดผล ประเมินผล และการเทียบ
โอนผลการเรียนการประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาและใชส้ อ่ื และเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา
การพฒั นาและส่งเสริมให้มแี หลง่ เรียนรู้การวิจัยเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศึกษาและการส่งเสริมชมุ ชนให้มีความเข้มแข็ง
ทางวิชาการ
2) ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนมุ ัติโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้
พน้ื ฐาน
3. การจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา หน้าท่ีรบั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี
1) จดั ทำแผนการเรียนรทู้ กุ กลุ่มสาระการเรียนรโู้ ดยความรว่ มมอื ของเครือขา่ ย
สถานศกึ ษา
2) จัดการเรยี นการสอนทุกกลุม่ สาระการเรียนร้ทู ุกช่วงชั้น ตามแนวปฏริ ูปการเรยี นรโู้ ดยเนน้ ผูเ้ รียน
เป็นสำคัญ บูรณาการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนพัฒนาคุณธรรมนำความรู้
ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3) ใช้สื่อการเรยี นการสอนและแหล่งการเรยี นรู้
4) จดั กิจกรรมพฒั นาหอ้ งสมดุ ห้องปฏิบตั ิการตา่ งๆ ใหเ้ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้
5) สง่ เสรมิ การวิจัยและพฒั นาการเรียนการสอนทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้
6) ส่งเสริมการพัฒนาความเป็นเลิศของนักเรียนและช่วยเหลือนักเรียนพิการด้อยโอกาสและมี
ความสามารถพเิ ศษ
15
4. การพัฒนาหลกั สตู รของสถานศึกษา หนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั งิ านดังนี้
1 จัดทำหลักสตู รสถานศกึ ษาเปน็ ของตนเอง
1.1 จัดให้มีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรขึ้นใช้เองให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
เศรษฐกิจและสงั คมและเป็นตน้ แบบใหก้ บั โรงเรยี นอื่น
1.2 จัดทำหลักสูตรที่มุ่งเน้นพัฒนานักเรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สตปิ ญั ญา มีความรแู้ ละคณุ ธรรม สามารถอยู่รว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมีความสุข
1.3 จัดให้มีวิชาต่างๆ ครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ
1.4 เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาให้สูงและลึกซึ้งมากขึ้นสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
ได้แก่ การศึกษาด้านศาสนา ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา อาชีวศึกษา การศึกษาที่ส่งเสริมความเป็นเลิศ ผู้บกพร่อง พิการ
และการศกึ ษาทางเลือก
1.5 เพิ่มเติมเนื้อหาสาระของรายวิชาที่สอดคล้องสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน
ผปู้ กครอง ชุมชน สังคม และโลก
2) สถานศึกษาสามารถจัดทำหลกั สูตรการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การสอนและอื่นๆให้เหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายพิเศษ โดยความร่วมมือของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและเครือข่าย
สถานศึกษา
3) คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานให้ความเห็นชอบหลกั สูตรสถานศกึ ษา
4) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลและปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา และรายงานผลให้สำนักงานเขต
พ้ืนที่การศึกษารับทราบ
5. การพฒั นากระบวนการเรยี นรู้
หน้าท่ีรบั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดังนี้
1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึง
ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล
2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพ่ือ
ป้องกนั และแก้ไขปัญหา
3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รัก
การอ่านและเกดิ การใฝร่ อู้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง
4) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกันรวมท้ัง
ปลูกฝงั คุณธรรม คา่ นยิ มทดี่ งี านและคณุ ลกั ษณะอนั พึ่งประสงคไ์ วใ้ นทกุ วิชา
5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอำนวยความ
สะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
ทัง้ นี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรยี นรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรยี นการสอน และแหลง่ วทิ ยาการประเภทตา่ งๆ
6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่มีการประสานความร่วมมือ กับบิดามารดาและ
บุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพอ่ื รว่ มกนั พฒั นาผู้เรยี นตามศักยภาพ
16
6. การวดั ผล ประเมนิ ผลและดำเนนิ การเทียบโอนผลการเรียน หนา้ ท่รี บั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้
1) กำหนดระเบียบการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยสอดคล้อง
กับนโยบายระดบั ประเทศ
2) จัดทำเอกสารหลกั ฐานการศึกษาให้เป็นไปตามระเบยี บการวัดและประเมนิ ผลของสถานศึกษา
3) วดั ผล ประเมินผล เทียบโอนประสบการณผ์ ลการเรยี นและอนุมัติผลการเรยี น
4) จดั ให้มกี ารประเมินผลการเรียนทุกชว่ งชนั้ และจดั ให้มกี ารซ่อมเสริมกรณที ี่มีผ้เู รยี นไม่ผ่านเกณฑ์
การประเมนิ
5) จัดให้มกี ารพัฒนาเครือ่ งมือในการวดั และประเมินผล
6) จัดระบบสารสนเทศด้านการวดั ผลประเมินผลและการเทยี บโอนผลการเรียนเพอื่ ใช้ในการอ้างอิง
ตรวจสอบและใช้ประโยชน์ในการพฒั นาการเรยี นการสอน
7) ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติผลการประเมินการเรยี นด้านต่างๆ รายปี/รายภาคและตัดสินผลการ
เรยี นการผ่านช่วงชน้ั และจบการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
8) การเทียบโอนผลการเรียนเป็นอำนาจของสถานศึกษาที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการเพอื่
กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ ได้แก่ คณะกรรมการเทียบระดับการศึกษา ทั้งในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย
คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน และเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพร้อมทั้งให้ผู้บริ หาร
สถานศกึ ษาอนมุ ัติการเทยี บโอน
7. การวิจัยเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในสถานศกึ ษา
หนา้ ที่รับผดิ ชอบปฏิบัติงานดังนี้
1) กำหนดนโยบายและแนวทางการใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำงานของนักเรียน
ครู และผ้เู กีย่ วข้องกบั การศกึ ษา
2) พัฒนาครูและนักเรียนให้มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัยเป็น
สำคัญในการเรยี นรู้ทซ่ี บั ซอ้ นขนึ้ ทำใหผ้ เู้ รยี นไดฝ้ ึกการคิด การจัดการ การหาเหตุผล ในการตอบปญั หา การผสมผสาน
ความรูแ้ บบสหวิทยาการและการเรยี นรใู้ นปัญหาทต่ี นสนใจ
3) พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการวิจยั
4) รวบรวม และเผยแพร่ผลการวิจัยเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมทั้งสนับสนุน
ใหค้ รูนำผลการวิจยั มาใช้ เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
8. การพฒั นาและสง่ เสรมิ ให้มีแหลง่ เรยี นรู้
หนา้ ทรี่ ับผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั น้ี
1) จัดให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลายทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้พอเพียงเพื่อ
สนับสนุนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองกบั การจัดกระบวนการเรยี นรู้
2) จัดระบบแหล่งการเรียนรู้ภายในโรงเรียนให้เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น พัฒนา
ห้องสมุดหมวดวิชา ห้องสมุดเคลื่อนที่ มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องพิพิธภัณฑ์ ห้องมัลติมีเดีย ห้องคอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ต ศูนย์วิชาการ ศูนย์วิทยบริการ Resource Center สวนสุขภาพ สวนวรรณคดี สวนหนังสือ สวนธรรมะ
เปน็ ตน้
3) จัดระบบขอ้ มลู แหลง่ การเรยี นรูใ้ นท้องถ่ินให้เอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้ของผู้เรียนของสถานศึกษา
ของตนเอง เช่น จัดเส้นทาง/แผนที่ และระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดสถาบันการศึกษา
พพิ ิธภณั ฑ์ พิพธิ ภณั ฑ์วิทยาศาสตร์ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ฯลฯ
17
4) ส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนได้ใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และ
นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม ประเมิน และปรับปรุงอย่างตอ่ เนือ่ ง
9. การนเิ ทศการศกึ ษา
หน้าทีร่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี
1) สร้างความตระหนักให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้องให้เข้าใจกระบวนการนิเทศภายในว่าเป็น
กระบวนการทำงานร่วมกันที่ใช้เหตุผลการนิเทศเป็นการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทำงานของแต่ละบุคคลให้มีคุณภาพ
การนิเทศเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร เพื่อให้ทุกคนเกิดความเชื่อมั่นว่า ได้ปฏิบัติถูกต้อง ก้าวหน้า และเกิด
ประโยชนส์ งู สุดต่อผ้เู รยี นและตัวครูเอง
2) จัดการนิเทศภายในสถานศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพทัว่ ถึงและต่อเนือ่ งเปน็ ระบบและกระบวนการ
3) จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาให้เชื่อมโยงกับระบบนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา
10. การแนะแนวการศึกษา
มีหนา้ ท่รี ับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดังน้ี
1) กำหนดนโยบายการจัดการศึกษาที่มีการแนะแนวเป็นองค์ประกอบสำคัญ โดยให้ทุกคนใน
สถานศกึ ษาตระหนกั ถงึ การมีส่วนร่วมในกระบวนการแนะแนวและการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน
2) จัดระบบงานและโครงสร้างองคก์ รแนะนำและดูแลช่วยเหลือนกั เรียน
3 สรา้ งความตระหนักให้ครูทกุ คนเหน็ คณุ คา่ ของการแนะแนวและดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน
4) ส่งเสริมและพัฒนาให้ครูได้รับความรู้เพิ่มเติมในเรื่องจิตวิทยาและการแนะแนวและดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนเพือ่ ให้สามารถ บรู ณาการ ในการจัดการเรยี นรแู้ ละเชือ่ มโยง สูก่ ารดำรงชีวิตประจำวนั
5) คดั เลอื กบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพที่เหมาะสม ทำหนา้ ที่ครูแนะแนวครูที่
ปรึกษา ครูประจำช้นั และคณะอนกุ รรมการแนะแนว
6) ดูแล กำกับ นิเทศ ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานแนะแนวและดูแลช่วยเหลือนักเรียน
อยา่ งเปน็ ระบบ
7) ส่งเสรมิ ความร่วมมอื และความเขา้ ใจอันดรี ะหว่างครู ผปู้ กครองและชุมชน
8) ประสานงานด้านการแนะแนว ระหว่างสถานศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชน บ้าน ศาสน -
สถาน ชุมชน ในลักษณะเครอื ข่ายการแนะแนว
9) เช่ือมโยงระบบแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน
11. การพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษา
มหี น้าท่รี ับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานดังนี้
1) กำหนดมาตรฐานการศึกษาเพิ่มเติมของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ
มาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาและความต้องการของชมุ ชน
2) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ โดยจัดโครงสร้างการบริหารที่เอื้อต่อการพัฒนางานและการ
สร้างระบบประกันคุณภาพภายในจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ข้อมูล มีความสมบูรณ์เรียกใช้ง่าย สะดวก
รวดเรว็ ปรับปรงุ ให้เป็นปจั จุบันอยเู่ สมอ
3) จัดทำแผนสถานศกึ ษาท่มี ุ่งเนน้ คณุ ภาพการศึกษา (แผนกลยทุ ธ/์ แผนยุทธศาสตร์)
18
4) ดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดำเนินโครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาต้องสร้าง
ระบบการทำงานที่เข้มแข็งเนน้ การมีส่วนร่วม และวงจรการพฒั นาคุณภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle) หรือที่รู้จัก
กันวา่ วงจร PDCA
5) ตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยดำเนินการอย่างจริงจังต่อเน่ืองด้วยการสนับสนุน
ใหค้ รู ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีสว่ นรว่ ม
6) ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนดเพื่อรองรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก
7) จัดทำรายงานคุณภาพการศึกษาประจำปี (SAR) และสรุปรายงานประจำปี โดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานเสนอต่อหน่วยงานต้นสงั กดั และเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน
12. การส่งเสรมิ ชมุ ชนให้มีความเขม้ แข็งทางวิชาการ
มีหน้าท่รี บั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดังนี้
1) จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชพี สถาบัน ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั อ่นื
2) ส่งเสริมความเข้มแขง็ ของชุมชนโดยการจัดกระบวนการเรยี นร้ภู ายในชุมชน
3) สง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชนมกี ารจัดการศกึ ษาอบรมมีการแสวงหาความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสารและรู้จักเลือกสรร
ภมู ปิ ัญญาและวิทยาการตา่ งๆ
4) พัฒนาชุมชนใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความต้องการรวมท้ังหาวิธีการสนับสนุนใหม้ ีการ
แลกเปลยี่ นประสบการณร์ ะหวา่ งชมุ ชน
13. การประสานความรว่ มมอื ในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศกึ ษาและองคก์ รอ่นื
มีหนา้ ท่รี ับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี
1) ระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเสริมสร้าง
พฒั นาการของนักเรยี นทกุ ด้านรวมทงั้ สืบสานจารตี ประเพณศี ิลปวฒั นธรรมของท้องถิน่
2) เสรมิ สร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสถานศกึ ษากับชมุ ชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กรทง้ั ภาครัฐ
และเอกชน เพอื่ ใหส้ ถานศึกษาเปน็ แหล่งวทิ ยาการของชุมชนและมีส่วนในการพฒั นาชมุ ชนและท้องถน่ิ
3) ให้บริการด้านวิชาการที่สามารถเชื่อมโยงหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกับแหล่งวิชาการ
ในทอี่ ่ืนๆ
4) จดั กจิ กรรมร่วมชุมชน เพ่อื ส่งเสรมิ วฒั นธรรมการสรา้ งความสมั พันธ์อันดีกบั ศิษย์เก่าการประชุม
ผู้ปกครองนักเรยี น การปฏิบตั งิ านร่วมกบั ชุมชน การรว่ มกิจกรรมกับสถานบนั การศึกษาอ่นื เปน็ ตน้
14. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และ
สถาบันอ่นื ทจ่ี ดั การศกึ ษา
มหี นา้ ที่รับผดิ ชอบปฏิบตั งิ านดังนี้
1) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่ิน เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบนั สังคมอ่นื ในเรื่องเก่ียวกับ
สทิ ธใิ นการจดั การศึกษาข้ันพื้นฐาน
19
2) จัดให้มีการสร้างความรู้ความเข้าใจ การเพิ่มความพร้อมให้กับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร
ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นที่
ร่วมจดั การศึกษา
3) ร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กร-
เอกชน องค์วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นร่วมกันจัดการศึกษาและใช้ทรัพยากร
ร่วมกนั ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ แก่ผูเ้ รียน
4) ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับบุคคล ครอบครัว
ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร-วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการณ์ และสถาบันสังคมอื่น
5) ส่งเสริมสนับสนนุ ให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน
องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการณ์ และสถาบันสังคมอื่น ได้รับความช่วยเหลือ
ทางดา้ นวชิ าการตามความเหมาะสมและจำเปน็
6) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ทั้งด้านคุณภาพและปริมาณเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมี
ประสิทธิภาพ
15. การจดั ทำระเบยี บและแนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั งานดา้ นวิชาการของสถานศกึ ษา
มหี น้าท่ีรับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดงั น้ี
1) ศกึ ษาและวิเคาระห์ระเบียบและแนวปฏิบัติเกยี่ วกับงานดา้ นวิชาการของสถานศึกษา เพ่ือให้ผู้ท่ี
เกีย่ วขอ้ งทุกรายรับรูแ้ ละถือปฏิบตั ิเป็นแนวเดยี วกัน
2) จัดทำร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเกีย่ วกับงานด้านวชิ าการของสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ทุกฝา่ ยรบั ร้แู ละถอื ปฏบิ ตั เิ ปน็ แนวเดียวกนั
3) ตรวจสอบร่างระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษาและแก้ไข
ปรบั ปรุง
4) นำระเบียบและแนวปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับงานดา้ นวิชาการของสถานศึกษาไปสู่การปฏิบตั ิ
5) ตรวจสอบและประเมินผลการใช้ระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของ
สถานศกึ ษาและนำไปแกไ้ ขปรบั ปรงุ ให้เหมาะสมต่อไป
16. การคดั เลอื กหนังสือ แบบเรยี นเพ่อื ใชใ้ นสถานศกึ ษา มีหนา้ ที่รบั ผิดชอบปฏิบตั ิงานดงั นี้
1) ศึกษา วิเคาระห์ คัดเลือกหนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีคุณภาพสอดคล้องกลับ
หลักสูตรสถานศกึ ษาเพื่อเป็นหนังสอื แบบเรยี นเพอ่ื ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน
2) จดั ทำหนังสอื เรยี น หนงั สือเสริมประสบการณ์ หนงั สืออ่านประกอบ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบ
ความรเู้ พอื่ ใช้ประกอบการเรียนการสอน
3) ตรวจพจิ ารณาคุณภาพหนงั สือเรียน หนังสอื เสรมิ ประสบการณ์ หนังสอื อ่านประกอบ แบบฝกึ หดั
ใบงาน ใบความรเู้ พ่อื ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน
17. การพัฒนาและใชส้ ื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มีหน้าทีร่ ับผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังน้ี
1) จัดให้มีการร่วมกันกำหนดนโยบาย วางแผนในเรื่องการจัดหาและพัฒนาสื่อการเรียนรู้
และเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาของสถานศกึ ษา
20
2) พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยี เพื่อ
การศึกษา พร้อมทง้ั ใหม้ กี ารจดั ตง้ั เครอื ข่ายทางวิชาการ ชมรมวชิ าการเพอื่ เป็นแหล่งเรยี นรูข้ องสถานศกึ ษา
3) พัฒนาและใช้สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาโดยมุ่งเน้นการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการ
ศึกษาที่ให้ข้อเท็จจริงเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเกิดขึ้น โดยเฉพาะหาแหล่งสื่อที่เสริมการจัดการศึกษา ของ
สถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธิภาพ
4) พฒั นาห้องสมุดของสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นแหลง่ การเรยี นรู้ของสถานศึกษาและชมุ ชน
5) นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของบุคลากรในการจดั หา ผลติ ใชแ้ ละพัฒนาส่ือและ
เทคโนโลยีทางการศกึ ษา
18. การรบั นักเรียน
หนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบปฏิบตั ิงานดังนี้
1) ให้สถานศึกษาประสานงานการดำเนินการแบ่งเขตพื้นที่บริการการศึกษาร่วมกัน และเสนอ
ข้อตกลงให้เขตพื้นทีก่ ารศึกษาเหน็ ชอบ
2) กำหนดแผนการรับนักเรียนของสถานศกึ ษา โดยประสานงานกับเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา
3) ดำเนินการรับนักเรียนตามท่ีแผนกำหนด
4) ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ในการติดตามช่วยเหลอื นักเรียนท่ีมีปัญหาในการ
เข้าเรียน
5) ประเมินผลและรายงานผลรบั เดก็ เข้าเรียนใหเ้ ขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาทราบ
21
แนวปฏิบัติกลุ่มงานวัดและประเมนิ ผลกลุ่มบริหารงวชิ าการ
การปฏิบัตกิ ารติดตามนกั เรยี นขาดเรียน / ขาดเรยี นนาน
ถา้ นกั เรยี นขาดเรยี นนานตดิ ตอ่ กนั ให้ถือปฏิบัติดังน้ี
๑. การตดิ ตามนกั เรียนทขี่ าดเรียน / ขาดเรยี นนานตดิ ต่อกันเปน็ หน้าที่โดยตรงของครูที่ปรึกษา
๒. ถ้านักเรียนขาดเรยี นตดิ ต่อกัน ๓ วนั ทำการ โดยไม่ทราบสาเหตใุ หค้ รูทป่ี รึกษาดำเนนิ การติดตามโดย
สอบถามจากนักเรยี นใกล้ชิด ครู – อาจารยห์ รือผู้ปกครองแล้วแต่กรณี แลว้ แจง้ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล
ทราบ เพื่อดำเนนิ การตามระเบยี บต่อไป
๓. ครทู ป่ี รึกษาประสานงานกับครแู นะแนว หรือผทู้ ีเ่ กยี่ วข้องนกั เรียน แล้วดำเนนิ การติดตามนักเรียน เชน่
ไปพบผูป้ กครองและนกั เรียนทบ่ี ้าน หรอื ตดิ ต่อผา่ นทางโทรศพั ทห์ รือชอ่ งทางการส่ือสารออนไลน์ตา่ ง ๆ
ทนั ทีที่นักเรียนขาดเรยี นติดต่อกัน ๓ วนั ทำการ
๔. ในกรณที ี่ครูท่ปี รึกษาไปพบผ้ปู กครองหรือนักเรียนและได้สอบถามสาเหตแุ ละพจิ ารณาหาทางแกไ้ ข หาก
ไม่สามารถแกไ้ ขได้ ให้ปฏิบตั ดิ งั น้ี
- หากเปน็ นกั เรียนทีก่ ำลงั เรยี นอยใู่ นชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น ต้องชี้แจงใหน้ กั เรยี นและผู้ปกครอง
รับทราบถึงระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการส่งเด็กเข้าเรียนในสถานศึกษาภาคบังคับ พร้อม
กับรายงานการดำเนนิ งานให้ฝา่ ยบรหิ ารรับทราบเพ่ือจะไดด้ ำเนินการตามระเบยี บตอ่ ไป
- หากเป็นนกั เรียนท่ีกำลงั เรียนอยู่ในช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ให้ผปู้ กครองมาลาออกให้ถูกต้อง
๕. ในกรณีที่ครทู ป่ี รึกษา / หวั หน้าระดับไปตดิ ตามนกั เรียนท่ีบ้านแลว้ ไม่พบทัง้ ผปู้ กครองและนักเรียน ให้กลุ่ม
บริหารงานบคุ คลและงานทะเบียนวดั ผลร่วมกนั ดำเนินงาน ดงั นี้
๕.๑ กรณนี ักเรยี นระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนต้น ใหด้ ำเนินการดังน้ี
๕.๑.๑ กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคลแจ้งข้อมูลท่ีกลุ่มบริหารวชิ าการ งานทะเบยี นวัดผล
๕.๑.๒ งานทะเบยี นวัดผลแจง้ เจา้ หน้าทส่ี ารบรรณโรงเรยี นออกหนังสือถึงผ้ปู กครองนกั เรียน
ถ้ายงั ไม่ได้ตอบรับใหแ้ จ้งเจ้าหน้าท่ีสารบรรณโรงเรียนทำหนงั สือแจ้งผู้นำชุมชน
หรอื องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น และรายงานให้สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา
กรงุ เทพมหานคร เขต ๒ ทราบ
๕.๒ กรณนี ักเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ให้ดำเนินการดงั น้ี
๕.๒.๑ กลุม่ บรหิ ารงานบคุ คลแจ้งข้อมลู ท่ีกลุ่มบริหารวิชาการ งานทะเบยี นวัดผล
๕.๒.๒ งานทะเบียนวัดผลแจง้ เจ้าหนา้ ทส่ี ารบรรณโรงเรยี นออกหนงั สือถึงผู้ปกครองนักเรยี น
ถ้ายงั ไม่ได้ตอบรับใหแ้ จ้งเจ้าหนา้ ท่ีสารบรรณโรงเรยี นออกหนงั สือแจ้งผูป้ กครอง
อกี เป็นคร้งั ท่ี ๒ หากยังไมไ่ ดร้ บั คำตอบการตดิ ต่อครั้งที่ ๒ ภายใน ๑๐ วัน ให้ขอหลกั ฐาน
สง่ หนังสอื ตดิ ตามจากเจ้าหนา้ ทีส่ ารบรรณโรงเรียนไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน
๕.๒.๓ นายทะเบียนขออนุมัติผู้อำนวยการสถานศกึ ษาจดั ทำบัญชีแขวนลอยและจำหน่ายชื่อ
ออกจากทะเบยี นนักเรียนเพราะเหตุขาดเรียนนาน แล้วแจ้งให้ครผู ู้สอน และผ้เู กี่ยวข้อง
รบั ทราบ
๕.๒.๔ งานทะเบียนวดั ผลแจ้งเจ้าหนา้ ท่สี ารบรรณโรงเรียนทำหนงั สอื แจ้งผูป้ กครองนักเรียนทราบวา่
โรงเรยี นได้จำหน่ายนกั เรยี นออกแล้ว
๖. แนวทางการปฏบิ ัตเิ ร่ืองการขาดเรยี นและขาดเรียนนานของนักเรียน มีดังนี้
๖.๑ ครทู ่ปี รึกษา / ครปู ระจำวชิ าสำรวจการมาเรียนของนักเรียนทีต่ นรับผดิ ชอบทุกวันและทุกชัว่ โมงที่
สอน
22
๖.๒ เมือ่ พบว่ามีนกั เรียนขาดเรียนบ่อยและขาดเรียนติดต่อกันเปน็ เวลาหลายวันต้องปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
๖.๒.๑ ถ้าเปน็ ครปู ระจำวชิ าท่ีสอนใหร้ ายงานนักเรียนท่ขี าดเรยี นนานและขาดเรยี นบอ่ ยๆให้ครูท่ี
ปรึกษารบั ทราบ และครูท่ีปรกึ ษาต้องติดตามนกั เรยี นท่ขี าดเรียนตามแนวปฏบิ ตั ขิ อ้ ๒-๕
แลว้ แตก่ รณี
๖.๒.๒ ถา้ ครทู ป่ี รึกษาสำรวจแล้วพบว่านักเรียนในทปี่ รกึ ษาขาดเรียนบ่อยและขาดเรียนตดิ ต่อกนั
เปน็ เวลานานให้ปฏิบตั ิตามแนวข้อ ๒-๕
แนวปฏบิ ตั ใิ นการแก้ “๐”
การแก้ “๐” มีแนวปฏบิ ตั ดิ ังน้ี
๑. ใหน้ ักเรียนแก้ตัวได้ไม่เกิน ๒ ครงั้ โดยนกั เรียนต้องย่ืนคำร้องขอสอบแก้ตวั ท่ีกลมุ่ บริหารวชิ าการงานทะเบยี น
วดั ผลกอ่ น
๒. การดำเนินการสอบแก้ตวั เป็นหนา้ ท่โี ดยตรงของครูประจำวชิ า เมื่อมนี กั เรยี นตดิ “๐” ในรายวิชาท่ีรับผิดชอบ ตอ้ ง
ดำเนินการแก้ “๐” ให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนถดั ไป ถา้ ไม่สามารถดำเนนิ การใหแ้ ลว้ เสรจ็ ตาม กำหนด ให้
รายงานกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ งานทะเบยี นวัดผลรับทราบ ถ้าไม่ดำเนินการใดๆ ถอื ว่าบกพร่องต่อหนา้ ที่ราชการ
๓. ครูประจำวชิ าต้องจัดสอนซอ่ มเสรมิ ใหน้ กั เรยี นก่อนสอบแก้ตวั ทกุ ครง้ั
๔. ชว่ งเวลาของการสอบแก้ตวั ใหเ้ ป็นไปตามกำหนดปฏทิ ินปฏิบัตงิ านกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
๕. ถา้ นกั เรียนไม่มาสอบแกต้ ัว ตามระยะเวลาที่กำหนดถือวา่ ได้ผลการเรียน “๐” ตามเดิม และมีสทิ ธิการ
สอบแกต้ ัวได้ ๒ คร้ัง ถ้านักเรยี นสอบแก้ตวั คร้ังที่ ๒ และยงั ไมผ่ า่ นให้ปฏบิ ตั ิตามแนวปฏิบัตกิ ารเรยี นซ้ำ
๖. ครูทป่ี รกึ ษาเปน็ ผ้มู หี น้าที่ติดตามผลการเรยี นของนักเรียนทอี่ ยู่ในความรับผดิ ชอบทุกรายวชิ า
พร้อมทั้งกวดขันใหน้ ักเรียนมาดำเนินการแก้ “๐” ตามกำหนดเวลา
๗. การใหน้ กั เรียนสอบแก้ตวั ครูประจำวชิ าควรดำเนนิ การดงั น้ี
๗.๑ ตรวจสอบดวู า่ นกั เรยี นตดิ “๐” เนอื่ งจากไมผ่ า่ นตัวชี้วัด / ผลการเรยี นรู้ใด
๗.๒ ดำเนินการสอนซ่อมเสรมิ ในตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ทนี่ กั เรยี นสอบไม่ผา่ น
๗.๓ การดำเนนิ การสอบแก้ตัว คำว่า “สอบแก้ตวั ” ไมไ่ ด้หมายความวา่ จะต้องทดสอบดว้ ยข้อสอบที่
เปน็ ข้อเขยี นเท่าน้ัน นักเรยี นจะสอบแก้ตวั อย่างไรน้ันต้องดวู ่าในจดุ ประสงค์นั้นนักเรียนไมผ่ า่ นตรง
สว่ นใด เช่น ในสว่ น K, P, A ก็ให้ซอ่ มตรงคะแนนในสว่ นน้นั
๘. ขั้นตอนและแนวปฏิบตั ิในการแก้ “๐” ของนกั เรียน
๘.๑ กลุ่มบริหารวชิ าการ งานทะเบยี นวดั ผล สำรวจนักเรยี นท่มี ผี ลการเรียน “๐” และกำหนดวนั เวลา สอบ
แกต้ ัวตามปฏิทนิ การปฏบิ ตั ิงานของกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
๘.๒ แจ้งใหน้ ักเรียนท่มี ีผลการเรยี น “๐” ไดร้ ับทราบ
๘.๓ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ งานทะเบยี นวัดผล แจง้ ครูทป่ี รึกษารับทราบเพื่อช่วยดูแลและตดิ ตามนกั เรยี นมา
ดำเนินการแก้ “๐”
๘.๔ นักเรยี นท่ตี ิด “๐” มาย่นื คำร้องขอแก้ “๐” ทก่ี ลุม่ บริหารวิชาการ งานทะเบยี นวัดผล และกลมุ่ บรหิ าร
วิชาการ งานทะเบยี นวัดผลแจ้งใหค้ รปู ระจำวชิ าทราบพร้อมกับใบคำร้องขอสอบแกต้ วั ของนักเรยี น
๘.๕ ครูประจำวิชาดำเนนิ การสอนซ่อมเสริมและใหน้ กั เรียนสอบแก้ตัว
๘.๖ ครูประจำวชิ านำผลการสอบแก้ตัวของนักเรียนมารายงานให้กลุ่มบริหารวิชาการ งานทะเบียนวดั ผล
รบั ทราบ
๘.๗ กลุ่มบริหารวิชาการ งานทะเบยี นวดั ผลแจ้งผลการสอบแก้ตัวให้นกั เรยี นและครทู ี่ปรกึ ษารบั ทราบ
๘.๘ งานทะเบยี นวดั ผลบนั ทึกผลการเรยี นในระบบ
23
๙. ระดับผลการเรยี นหลังจากนกั เรยี นทำการสอบแกต้ ัวแล้วอยูท่ ี่ “๐” หรอื “๑” เท่าน้ัน ระดับผลการเรยี น
หลงั สอบแก้ตวั ถ้านกั เรียนยังได้ “๐” อยู่นักเรียนผู้นั้นเรียนซำ้ ใหมห่ มดท้ังรายวชิ า
แนวปฏบิ ตั ิในการแก้ “ร”
การแก้ “ร” แนวปฏบิ ตั ิดังนี้
๑. การดำเนนิ การแก้ “ร” เป็นหน้าทโี่ ดยตรงของครูประจำวชิ า เมอื่ มีนกั เรยี นติด “ร” ในรายวชิ าที่รบั ผิดชอบ
ต้องดำเนินการแก้ “ร” และให้รายงานกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ งานทะเบยี นวัดผลรบั ทราบ ถา้ ไม่ดำเนินการใดๆ ถือ
ว่าบกพร่องตอ่ หน้าท่ีราชการ
๒. ครปู ระจำวชิ าดำเนินการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุ ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนนิ การแก้ “ร” กรณีทีส่ ง่ งานไมค่ รบแต่มผี ลการ
ประเมนิ ระหว่างภาคและปลายภาค ให้ครปู ระจำวชิ านำข้อมลู ทีม่ ีอยู่ตดั สินผลการเรยี น ยกเว้นมีเหตุสุดวิสยั ให้
อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาทีจ่ ะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอกี ไมเ่ กิน ๑ ภาคเรยี นสำหรบั ภาคเรยี นท่ี ๑
สำหรบั ภาคเรยี นท่ี ๒ ตอ้ งดำเนินการให้เสรจ็ สิ้นภายในปกี ารศกึ ษาน้นั เมือ่ พ้นกำหนดน้ีแล้วให้เรียนซ้ำทั้ง
รายวิชาหรือเปล่ียนรายวิชาใหม่ ในกรณที ่ีเปน็ รายวชิ าเพิม่ เตมิ หากผลการเรียนเป็น “๐” ให้ดำเนินการแก้ไข
ตามหลกั เกณฑ์
๓. การแกไ้ ขผลการเรียน “ร” แยกออกเป็น ๒ กรณีคือ
๓.๑ ได้ระดบั ผลการเรยี น “๐ - ๔” ในกรณที ่ีเนื่องมาจากเหตุสดุ วสิ ยั เช่น เจ็บปว่ ย หรือเกดิ อบุ ตั ิเหตไุ ม่
สามารถมาเข้าสอบได้
๓.๒ ได้ระดบั ผลการเรียน “๐ - ๑” ในกรณที ีส่ ถานศึกษาไดพ้ ิจารณาแล้วเห็นว่าไม่ใชเ่ หตุสุดวสิ ัย เชน่
มเี จตนาหลบการสอบเพื่อหวงั ผลบางอย่าง หรอื ไมส่ นใจทำงานท่ีได้รบั มอบหมายใหท้ ำเป็นต้น
๔. ข้นั ตอนและแนวปฏิบัตใิ นการแก้ “ร” ของนกั เรยี น
๔.๑ กลุ่มบริหารวิชาการ งานทะเบยี นวัดผลสำรวจนักเรยี นท่ีมีผลการเรียน “ร “ และแจง้ ใหน้ ักเรยี นทราบ
๔.๒ กลุ่มบริหารวชิ าการ งานทะเบยี นวดั ผลแจง้ ครูท่ปี รึกษารบั ทราบเพื่อช่วยดแู ลและตดิ ตามนักเรยี นมา
ดำเนินการแก้ “ร”
๔.๓ นกั เรียนท่ตี ดิ “ร” มายน่ื คำร้องขอแก้ “ร” ที่กลุ่มบริหารวิชาการ งานทะเบียนวดั ผลและกล่มุ บริหาร
วิชาการ งานทะเบยี นวัดผลแจ้งใหค้ รปู ระจำวชิ ารบั ทราบ
๔.๔ ครูประจำวิชาดำเนินการแก้ “ร” ใหก้ ับนักเรียน
๔.๕ ครปู ระจำวิชานำผลการแก้ “ร” ของนกั เรียนมารายงานให้ฝา่ ยกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ งานทะเบยี นวัดผล
รับทราบ
๔.๖ กลมุ่ บรหิ ารวิชาการ งานทะเบียนวัดผลแจง้ ผลการแก้ “ร” ใหน้ ักเรยี นรับทราบ
๔.๗ งานทะเบยี นวดั ผลบันทึกผลการเรียนในระบบ
คำช้แี จงข้ันตอนการแก้ “ร”
๑. นกั เรียนบนั ทกึ คำร้องขอแก้ “ร” ในรายการต่าง ๆ ทุกรายการดว้ ยตัวบรรจง อ่านงา่ ย และครบถว้ น
๒. แบบคำรอ้ งนำไปย่ืนตอ่ กลุ่มบริหารวชิ าการ งานทะเบยี นวัดผลเพื่อเสนอให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษาพจิ ารณาอนมุ ัติ
เม่อื ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติแล้วให้นกั เรยี นนำใบคำร้องย่นื ให้ครปู ระจำวิชา เพ่ือนดั หมายมาแก้ “ร”
๓. ครปู ระจำวชิ ารบั คำร้องแล้ว นัดหมายการแก้ “ร” ใหน้ ักเรยี น
๔. การแก้ ร ถา้ ได้ “ร” เพราะเหตสุ ดุ วสิ ยั ให้ได้ระดบั ผลการเรียน ๐ ถึง ๔ ถ้าไมใ่ ช่เหตสุ ุดวสิ ัย ให้ไดร้ ะดับผลการเรียน
ไม่เกนิ ๑
๕. เม่อื แก้ “ร” และใหร้ ะดับผลการเรียนแลว้ ให้กรอกลงในใบคำรอ้ งส่งงานทะเบียนวดั ผลตามเวลาที่กำหนด
24
๖. ถา้ แก้ “ร” แล้วยังได้ ๐ นักเรยี นมสี ทิ ธ์ิยื่นคำร้องขอสอบแกต้ วั ได้อีก ๒ ครั้ง
เหตุสุดวิสัย หมายถงึ เหตกุ ารณ์ใดๆ ที่เกดิ ขนึ้ โดยฉบั พลัน โดยไมม่ บี ุคคลใดคาดหมาย หรอื คาดคิดว่าจะ
เกิดขึ้น และไม่อาจป้องกนั หรือหลีกเลี่ยงให้พ้นไปได้แม้วา่ ตนเองจะระมัดระวงั แล้วกต็ าม เปน็ เหตสุ ดุ วสิ ยั ที่เกดิ ขึ้นกับ
ตวั นักเรียนเอง ได้แก่ ความเจ็บปว่ ย การประสบอุบตั ิเหตุที่ตอ้ งเข้ารบั การรกั ษา เอกสารประกอบการย่ืนคำรอ้ งขอ
เล่ือนสอบ คือ ใบรับรองแพทย์ในวนั ท่ขี าดสอบเทา่ น้นั
ไมใ่ ช่เหตุสุดวสิ ัย เช่น มเี จตนาหลบเล่ยี งการสอบเพอ่ื หวังผลบางอยา่ ง หรือ ไมส่ นใจทำงานทีไ่ ด้รบั
มอบหมายใหท้ ำ เปน็ ตน้
แนวปฏบิ ัติในการแก้ “มส”
ในการแก้ “มส.” มีแนวปฏบิ ตั ดิ งั ตอ่ ไปนี้
- ครปู ระจำวชิ าได้พิจารณาสาเหตุท่ีนักเรยี นได้ผลการเรยี น “มส.” ซ่งึ มีอยู่ ๒ กรณีคือ
นักเรยี นมเี วลาเรียนไม่ถึง ๖๐ %
นกั เรยี นมเี วลาเรยี นไม่ถึง ๘๐ % แตไ่ มน่ ้อยกว่า ๖๐ %
* ในกรณีทน่ี กั เรียนมเี วลาเรียนไม่ถงึ ๖๐% ไมม่ ีสทิ ธยิ ่นื คำรอ้ งขอมสี ทิ ธสิ อบต้องเรียนซ้ำใหม่หมดท้ังรายวชิ า
* ในกรณีท่นี กั เรยี นมเี วลาไม่ถึง ๘๐ % แต่ไมน่ ้อยกว่า ๖๐ % ให้ปฏิบัตดิ งั น้ี
๑. ให้นกั เรียนย่ืนคำร้องขอแกผ้ ลการเรียน “มส.” กับครูประจำวชิ า ผา่ นกล่มุ บริหารวชิ าการ งานทะเบียนวดั ผล
เพ่อื เสนอให้ผู้บริหารสถานศึกษาพจิ ารณาอนุมัติ เมื่อผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาอนุมตั ิแลว้ ใหน้ ักเรียนนำใบคำร้องยืน่
ใหค้ รปู ระจำวชิ า เพื่อนัดหมายมาแก้ “มส”
๒. ครปู ระจำวิชาต้องจัดใหน้ ักเรียนเรียนเพม่ิ เติมเพอื่ ให้เวลาเรียนครบตามที่กำหนดในรายวชิ านนั้ ๆ โดยอาจใช้
ชว่ั โมงว่าง/วนั หยุด
๓. เมือ่ นกั เรียนมาดำเนนิ การแก้ “มส” ตามข้อ ๒ แลว้ จะไดร้ ับอนุญาตให้วดั สอบผลปลายภาคเปน็ กรณีพเิ ศษ
สามารถประเมนิ ผลการเรยี นเป็น “๑ – ๔”
๔. ถ้านักเรยี นไมม่ าดำเนนิ การแก้ “มส.” ใหเ้ สร็จตามระยะเวลาทก่ี ำหนดใหน้ กั เรยี นผนู้ น้ั ตอ้ งเรยี นซำ้ รายวชิ า ให้
ได้ระดับผลการเรยี นไม่เกิน “๑” การแก้ “มส” กรณีนใ้ี ห้กระทำให้เสร็จสน้ิ ภายในปีการศกึ ษานนั้
๕. ถา้ มีเหตสุ ดุ วสิ ยั ไมส่ ามรถมาแก้ “มส.” ได้ ให้อยใู่ นดุลพนิ ิจของสถานศกึ ษาที่จะขยายเวลาการแก้
“มส.” ออกไปอีกไมเ่ กนิ ๑ ภาคเรียน สามารถแก้ผลการเรียนเป็น “๑ – ๔” เพือ่ พ้นกำหนดนีแ้ ล้วให้นกั เรียนผู้น้ัน
เรียนซ้ำรายวิชาหรือเปลี่ยนรายวิชาใหม่ไดใ้ นกรณที เ่ี ปน็ รายวิชาเพมิ่ เตมิ
ขน้ั ตอนและแนวปฏบิ ตั ิในการแก้ “มส.” ของนักเรยี น
๑. ครูประจำวิชาแจ้งผล “มส” ของนักเรียนท่ีกลุ่มบรหิ ารวิชาการ
๒. กล่มุ บริหารวิชาการ งานทะเบียนวดั ผลแจง้ นกั เรยี นที่มผี ลการเรยี น “มส” รบั ทราบ
กลุม่ บริหารวิชาการแจ้งครูทปี่ รกึ ษารบั ทราบเพื่อชว่ ยดูแลและตดิ ตามนกั เรยี นมาดำเนนิ การแก้ “มส”
นกั เรียนทีต่ ดิ “มส” นำผู้ปกครองมายน่ื คำร้องขอแก้ “มส” ทีก่ ลุ่มบริหารวชิ าการ งานทะเบยี นวัดผล และแจ้งให้
ครูประจำวชิ ารับทราบ เพื่อดำเนินการแก้ “มส” ของนักเรียนตามแนวปฏิบัตกิ ารแก้ “มส” ของนักเรยี นครู
ประจำวิชานำผลการแก้ “มส” ของนักเรยี นมารายงานให้กลุ่มบรหิ ารวิชาการรับทราบฝ่ายวิชาการแจ้งผลการแก้
“มส” ให้นักเรียนและครูที่ปรึกษารบั ทราบ
25
แนวปฎิบตั ิการเรยี นซ้ำ
ในการจัดให้นักเรยี น “ เรียนซำ้ ” มแี นวปฏบิ ตั ดิ งั นี้
๑. ให้ครปู ระจำวชิ าเดิมในรายวิชานั้นเป็นผรู้ ับผิดชอบสอนเสรมิ
๒. การดำเนินการ “เรยี นซ้ำ” เป็นหนา้ ท่โี ดยตรงของครปู ระจำวชิ า เมือ่ มนี ักเรียน “เรียนซำ้ ” ในรายวชิ าที่
รบั ผดิ ชอบต้องดำเนินการ “เรียนซ้ำ” ให้เสรจ็ สิน้ ภายในภาคเรียนถัดไป ถ้าไมส่ ามรถดำเนนิ การให้แล้ว
เสรจ็ ตามกำหนดใหร้ ายงานกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ งานทะเบยี นวัดผลรับทราบ ถา้ ไม่ดำเนนิ การใดๆ ถือว่าบกพร่อง
ต่อหนา้ ที่ราชการ
๓. ครปู ระจำวชิ าและนกั เรียนกำหนดจัดตารางเรียนรว่ มกันใหจ้ ำนวนช่ัวโมงครบตามระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
และครบตามหนว่ ยการเรียนของรายวชิ านั้นๆ สำหรับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
๔. นักเรยี นต้องเรยี นใหค้ รบช่ัวโมง และครูประจำวิชาอาจมอบหมายงานให้ในชั่วโมงทกี่ ำหนด จะสอน หรือ
มอบหมายงานให้ทำจะมากหรือน้อยต้องพจิ ารณาตามความสามารถของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล
๕. สำหรับชว่ งเวลาทจ่ี ดั ให้ “เรยี นซ้ำ” อาจทำได้ดังนี้
๕.๑ ช่วั โมง
๕.๒ ใช้เวลาหลังเลกิ เรยี น
๕.๓ วันหยดุ ราชการ
๕.๔ สอนเป็นครง้ั คราวแล้วมอบหมายงานใหท้ ำ
๖. การประเมนิ ผลการเรียนให้ดำเนนิ การตามระเบียบการประเมนิ ผลทกุ ประการ
๗. ครปู ระจำวชิ าส่งผลการ “เรียนซำ้ ” ใหง้ านทะเบยี นวัดผล
๘. กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ งานทะเบยี นวดั ผลแจ้งผลการแก้ “เรียนซ้ำ” ให้นกั เรยี นรบั ทราบ
๙. งานทะเบียนวดั ผลบนั ทึกผลการเรียนในระบบ
ข้นั ตอนและแนวปฏิบัตใิ นการ “เรยี นซำ้ ” ของนักเรยี น
๑. กลุ่มบรหิ ารวิชาการ งานทะเบียนวัดผลสำรวจและแจ้งนักเรียนท่ีต้อง “เรยี นซ้ำ” รับทราบ
กลมุ่ บริหารวิชาการแจง้ ครูที่ปรึกษารบั ทราบเพ่ือชว่ ยดแู ลและติดตามนักเรยี นมาดำเนนิ การ “เรยี นซำ้ ”
๑. นักเรียน “เรยี นซ้ำ” มาย่นื คำรอ้ ง “เรียนซ้ำ” ที่กล่มุ บริหารวชิ าการ งานทะเบียนวัดผล
๒. กลุ่มบริหารวิชาการ งานทะเบยี นวัดผลแจ้งให้ครปู ระจำวชิ ารบั ทราบ เพ่ือดำเนินการ “เรียนซำ้ ” ของนกั เรียน
ตามแนวปฏบิ ัติ ข้อ ๓-๗
๓. ครปู ระจำวชิ านำผลการประเมนิ การ “เรียนซ้ำ” ของนักเรียนรายงานให้กลมุ่ บริหารวิชาการ งานทะเบยี น
วัดผลรับทราบ
๔. กลุ่มบริหารวชิ าการ งานทะเบยี นวัดผลแจ้งผลการ “เรียนซ้ำ” ใหน้ กั เรียนและครูท่ปี รกึ ษารบั ทราบ
26
การ “เรยี นซำ้ ช้ัน” ของนกั เรียน
ผเู้ รยี นท่ไี ม่ผา่ นรายวชิ าจำนวนมากและมแี นวโนม้ ว่าจะเปน็ ปญั หาตอ่ การเรยี นในระดบั ชนั้ ทสี่ ูงขน้ึ
สถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการพิจารณาใหเ้ รยี นซำ้ ช้ันได้ ท้งั น้ี ให้คำนึงถึงวุฒภิ าวะและความรู้
ความสามารถของผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
การเรียนซ้ำชัน้ มี ๒ ลกั ษณะ คือ
1.ผู้เรยี นมรี ะดบั ผลการเรียนเฉลย่ี ในปกี ารศึกษาน้ันต่ำกวา่ ๑.๐๐ และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรยี นใน
ระดบั ชน้ั ท่สี ูงขน้ึ
2.ผูเ้ รยี นมผี ลการเรียน ๐, ร, มส. เกินครงึ่ หน่ึงของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรยี นในปกี ารศกึ ษาน้ัน
ท้ังน้ี หากเกิดลกั ษณะใดลักษณะหน่ึง หรือทง้ั ๒ ลักษณะ ใหส้ ถานศึกษาแตง่ ตั้งคณะกรรมการพิจารณา หาก
เหน็ วา่ ไมม่ ีเหตผุ ลอนั สมควรก็ใหซ้ ้ำชัน้ โดยยกเลกิ ผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียนใหมแ่ ทน หากพิจารณา
แล้วไมต่ ้องเรยี นช้ำชนั้ ให้อยู่ในดลุ ยพินิจของสถานศึกษาในการแก้ไข
27
ระเบยี บโรงเรียนธัญบรุ ีวา่ ด้วยการปฏบิ ตั ขิ องผเู้ ขา้ สอบ
พ.ศ. ๒๕๖๕
-----------------------------------------
เพ่อื ใหก้ ารดำเนินการสอบทุกประเภทของโรงเรียนธัญบุรีเปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย ถกู ต้องจึงเห็นสมควรนำ
ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าด้วยการปฏบิ ตั ิของผ้เู ข้าสอบ ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ลงวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๘
และฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๕ (แกไ้ ขเพิม่ เตมิ ฉบบั ท่ี ๒) ลงวันท่ี ๒๒ มถิ ุนายน ๒๕๕๕ ตามที่กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดก้ ำหนด
ใหส้ ถานศึกษาตอ้ งปฏิบตั ิมาปรบั ใช้ โรงเรยี นธญั บุรีจงึ ได้กำหนดระเบียบโรงเรียนธญั บุรีว่าดว้ ยการปฏบิ ตั ขิ องผู้เขา้ สอบ
โดยมรี ายละเอียดดงั นี้
ข้อ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา่ “ระเบยี บโรงเรียนธญั บุรวี ่าดว้ ยการปฏบิ ัติของผเู้ ข้าสอบ พ.ศ. ๒๕๖๕”
ขอ้ ๒ ระเบียบนใ้ี หใ้ ชบ้ ังคับตง้ั แตว่ ันถัดจากวันประกาศเปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ระเบยี บน้ีให้ใช้บังคบั แก่ผ้เู ขา้ สอบสำหรบั การสอบทุกประเภทของโรงเรยี นธญั บรุ ี
ข้อ ๔ ผ้เู ขา้ สอบ ต้องปฏบิ ัติดงั ตอ่ ไปนี้
๔.๑ การแต่งกาย ต้องแต่งเครื่องแบบนักเรียน และตัดผมให้ถูกต้องตามกฎระเบียบของโรงเรียน
มิฉะนั้นโรงเรียนจะไม่อนุญาตให้นักเรียนทำการสอบ และให้ถือว่านักเรียนขาดสอบ โดยจะไม่มีการดำเนินการ หรือ
อนุญาตใหน้ กั เรียนสอบในภายหลังทง้ั สน้ิ
๔.๒ ผู้เขา้ สอบจะต้องถือเป็นหน้าท่ีทจี่ ะต้องตรวจสอบให้ทราบว่าสอบวนั ใด สถานที่สอบอยู่ ณ ท่ีใด
ห้องใด พร้อมทั้งนำบัตรประจำตัวนักเรียนให้กรรมการคุมสอบตรวจ (กรณีนักเรียนไม่มีบัตรประจำตัวนักเรียน ให้ครูท่ี
ปรกึ ษาเป็นผู้รับรองแลว้ ใหป้ ระธานกองกลาง/รองประธานกองกลางพจิ ารณาอนญุ าต)
๔.๓ ไปถึงสถานทส่ี อบกอ่ นเวลาเร่มิ สอบตามสมควร ผ้ใู ดไปไม่ทนั เวลาลงมือสอบวิชาใด ไม่มีสทิ ธิเข้า
สอบวิชาน้นั ยกเวน้ วชิ าแรกในตอนเช้าของแตล่ ะวนั ผู้ใดเข้าหอ้ งสอบหลังจากเวลาลงมอื สอบแลว้ ๑๕ นาที จะไม่ได้
รับอนุญาตให้สอบวิชานั้น เว้นแต่มีเหตุความจำเป็นให้อยู่ในดุลพินิจของประธานดำเนินการสอบหรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมายพิจารณาอนุญาต ผู้ไม่มีสทิ ธิเขา้ สอบ หรือผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าสอบกรณีดังกล่าวให้เป็นผู้ขาดสอบ ซ่ึง
จะไม่มกี ารจดั สอบให้ในภายหลัง
กรณนี ักเรยี นขาดสอบเฉพาะในการสอบกลางภาคเรียน หรือปลายภาคเรยี น ทโี่ รงเรยี นไดก้ ำหนดให้
มีการสอบ หากเป็นการขาดสอบเพราะเหตุจำเป็นหรือเหตุสุดวิสัย ให้ดำเนินการเขียนคำร้องขอเลื่อนสอบที่งาน
ทะเบยี นวัดผล เพื่อเสนอผู้บริหารสถานศึกษาพจิ ารณาเปน็ กรณีไป และตอ้ งดำเนินการสอบให้เสรจ็ สิ้นตามระยะเวลา
ที่สถานศึกษากำหนด กรณีเหตุสุดวิสัย หมายถึง เหตุการณ์ใดๆ ที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน โดยไม่มีบุคคลใดคาดหมาย
หรือ คาดคิดว่าจะเกิดขึ้น และไม่อาจป้องกันหรือหลีกเลี่ยงให้พ้นไปได้แม้ว่าตนเองจะระมัดระวังแล้วก็ตาม เป็นเหตุ
สุดวิสัยที่เกิดขึ้นกับตัวนักเรียนเอง ได้แก่ ความเจ็บป่วย การประสบอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการรักษา เอกสาร
ประกอบการยื่นคำร้องขอเลื่อนสอบ คือ ใบรับรองแพทย์ในวันที่ขาดสอบเท่านั้น กรณีที่ขาดสอบเนื่องจากไปร่วม
กิจกรรม หรือประกวด หรือแข่งขันใด ๆ ต้องได้รับการอนุญาตที่จะไม่เข้าสอบตามที่กำหนด จากผู้บริหาร
28
สถานศึกษาก่อนที่จะมีการสอบ และต้องดำเนินการแจ้งเพื่อขอทำการสอบภายหลังทันทีหลังกลับจากการร่วม
กจิ กรรม มฉิ ะน้นั โรงเรยี นจะไมด่ ำเนินการจดั สอบให้และถือเปน็ ผ้ขู าดสอบ
๔.๔ ไม่เขา้ ห้องสอบกอ่ นไดร้ ับอนุญาต
๔.๕ ไม่นำเอกสาร เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ นาฬิการะบบดิจิตอล นาฬิกาสมาร์ทวอทช์ หรือเครื่อง
ส่อื สารใดๆ เขา้ ไปในหอ้ งสอบ
๔.๖ น่งั ตามที่ ท่คี รคู ุมสอบกำหนดให้ จะเปล่ียนท่ีนง่ั ก่อนได้รบั อนุญาตไม่ได้
๔.๗ ปฏบิ ัติตามระเบยี บเก่ยี วกับการสอบและคำสัง่ ของผูก้ ำกบั การสอบโดยไม่ทจุ ริตในการสอบ
๔.๘ มิให้ผ้เู ข้าสอบคนอื่นคดั ลอกคำตอบของตน รวมทงั้ ไมพ่ ูดกับผู้ใดในเวลาสอบเม่ือมีข้อสงสัยหรือ
มเี หตุความจำเปน็ ใหแ้ จ้งต่อผู้กำกับการสอบ
๔.๙ ประพฤตติ นเปน็ สภุ าพชน
๔.๑๐ ต้องนั่งอยใู่ นหอ้ งสอบจนหมดเวลาทำข้อสอบ
๔.๑๑ ไม่นำกระดาษสำหรับเขียนคำตอบที่ผู้กำกับการสอบแจกให้ออกไปจากห้องสอบโดยเด็ดขาด
รวมถึงข้อสอบ ยกเว้นแต่จะไดร้ บั อนญุ าตจากโรงเรียนให้นำข้อสอบออกจากห้องสอบได้
๔.๑๒ ไม่ทำเสียงดัง หรือกระทำการใดๆ อนั เปน็ การรบกวนการสอบของผู้เขา้ สอบอ่ืนๆ
ข้อ ๕ ผู้เข้าสอบผู้ใดกระทำการฝ่าฝืนระเบียบข้อ ๔ หรือพยายามกระทำการทุจริตในการสอบวิชาใด ให้ผู้
กำกับการสอบว่ากล่าวตักเตือน หากยังฝ่าฝืนไม่ปฏิบัตติ ามที่ไดต้ ักเตือนให้รายงานกับประธานกองกลางหรือผู้ทีไ่ ด้รับ
มอบหมายใหด้ ูแลกำกับ หรอื ควบคุมการสอบหรอื ประธานการสอบของโรงเรียนทราบและเชิญตัวใหอ้ อกจากห้องสอบ
ถ้าการกระทำดังกล่าวในวรรคแรกหากเข้าลักษณะร้ายแรง เมื่อได้สอบสวนแล้วประธานกรรมการหรือผู้มี
อำนาจหนา้ ท่ใี นการจดั การสอบมอี ำนาจสัง่ ไม่ให้ผนู้ ั้นเขา้ สอบวชิ านนั้ หรือส่ังใหย้ ตุ ิการสอบ หรอื ส่งั ไม่ตรวจคำตอบของ
วิชานน้ั ของผู้นน้ั โดยถอื วา่ สอบไมผ่ ่านเฉพาะวชิ าน้นั โดยใหไ้ ดค้ ะแนนเปน็ “0” ในการสอบวิชานั้นก็ได้
ข้อ ๖ ผเู้ ขา้ สอบผู้ใดกระทำการทจุ ริตในการสอบวิชาใด เม่ือไดส้ อบสวนแล้วประธานกรรมการหรือผู้มีอำนาจ
หน้าที่ในการจัดการสอบ สั่งไม่ตรวจคำตอบและถือว่าผู้นั้นสอบไม่ผ่านโดยให้ได้คะแนนเป็น 0 ในการสอบวิชานั้นใน
การสอบคราวนนั้
ข้อ ๗ ในกรณีทุจริตในการสอบด้วยวิธีคัดลอกคำตอบระหว่างผู้เข้าสอบด้วยกันให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้เข้า
สอบน้ันได้สมคบกันกระทำการทจุ ริต
ข้อ ๘ หากนักเรียนโรงเรียนธัญบุรีกระทำผิดตามข้อ ๔,๕,๖ และ ๗ นักเรียนต้องได้รับโทษตามระเบียบว่า
ด้วยการลงโทษนกั เรยี น ตามควรแก่กรณแี หง่ ความผดิ นน้ั ๆ
ประกาศ ณ วนั ท่ี ...... กมุ ภาพนั ธ์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕
(นางชฎาพร เธียรศิรพิ ิพฒั น์)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นธัญบุรี